1 / 18

COE2010-04 : โปรแกรมออกแบบวงจรกรองความถี่ต่ำผ่านโดยใช้ตัวต้านทานและตัวเก็บประจุมาตรฐาน

COE2010-04 : โปรแกรมออกแบบวงจรกรองความถี่ต่ำผ่านโดยใช้ตัวต้านทานและตัวเก็บประจุมาตรฐาน. โดย นายชญาน์ แหวนหล่อ 503040219-3 นาย ธนวัฒน์ วัฒนราช 503040231-3. COE2010-04 : โปรแกรมออกแบบวงจรกรองความถี่ต่ำผ่านโดยใช้ตัวต้านทานและตัวเก็บประจุมาตรฐาน. อาจารย์ที่ปรึกษาโครงการ

aquila
Télécharger la présentation

COE2010-04 : โปรแกรมออกแบบวงจรกรองความถี่ต่ำผ่านโดยใช้ตัวต้านทานและตัวเก็บประจุมาตรฐาน

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. COE2010-04 :โปรแกรมออกแบบวงจรกรองความถี่ต่ำผ่านโดยใช้ตัวต้านทานและตัวเก็บประจุมาตรฐาน โดย นายชญาน์ แหวนหล่อ 503040219-3 นายธนวัฒน์วัฒนราช503040231-3

  2. COE2010-04 :โปรแกรมออกแบบวงจรกรองความถี่ต่ำผ่านโดยใช้ตัวต้านทานและตัวเก็บประจุมาตรฐาน อาจารย์ที่ปรึกษาโครงการ ดร.วรินทร์ สุวรรณวิสูตร อาจารย์ผู้ร่วมประเมินโครงการ ดร. นวภัค เอื้ออนันต์ อ. จิระเดช พลสวัสดิ์

  3. หัวข้อเรื่องที่จะนำเสนอหัวข้อเรื่องที่จะนำเสนอ วัตถุประสงค์ของโครงการ ขอบเขตของโครงการ ความคืบหน้าของโครงการ การออกแบบโปรแกรม การใช้งานโปรแกรม

  4. วัตถุประสงค์ของโครงการวัตถุประสงค์ของโครงการ • พัฒนาเทคนิคการเขียนโปรแกรมเพื่อนำค่าอุปกรณ์มาตรฐาน มาแทนลงในวงจรกรองความถี่ต่ำผ่าน เพื่อคำนวณหาการตอบสนองความถี่หรือค่าสัมประสิทธิ์ของฟังก์ชั่นถ่ายโอนให้ใกล้เคียงกับที่ต้องการ • หาเทคนิคที่จะตัดทิ้งค่าอุปกรณ์บางตัวที่เป็นไปไม่ได้ ไม่ต้องนำมาคำนวณ เพื่อทำให้ได้คำตอบเร็วขึ้น

  5. ขอบเขตของโครงการ วงจรกรองความถี่ต่ำผ่านแบบ Real poles วงจรกรองความถี่ต่ำผ่านแบบ Butterworth วงจรกรองความถี่ต่ำผ่านแบบ Bessel ลำดับของวงจรกรองความถี่ไม่เกิน 6

  6. ความคืบหน้าของโครงการความคืบหน้าของโครงการ

  7. การออกแบบโปรแกรม

  8. การออกแบบโปรแกรม สมการของการประมาณค่า สมการที่ได้จากวงจร ตัวอย่าง สมการที่ได้จากวงจร order 2 สิ่งที่จะทำ คือ จะต้องแทนค่าของ RC ในสัมประสิทธิ์ bkด้วยค่าใด เพื่อให้ได้ค่าของ transfer function ใกล้เคียงกับค่าที่ต้องการจากการประมาณค่ามากที่สุด

  9. การออกแบบโปรแกรม การทำงานของโปรแกรมที่ออกแบบไว้จะประกอบด้วย ส่วนหลักๆที่สำคัญ 4 ส่วนได้แก่ การเตรียมค่าตัวเก็บประจุและตัวต้านทานมาตรฐาน การเตรียมค่าสัมประสิทธิ์ตามทฤษฎี การเตรียมค่าส่วนประกอบต่างๆ ของวงจร การคำนวณหาสัมประสิทธิ์ต่างๆ ของวงจรแล้วนำมาเปรียบเทียบกับสัมประสิทธิ์ตามทฤษฎี

  10. การเตรียมค่าตัวเก็บประจุและตัวต้านทานมาตรฐานการเตรียมค่าตัวเก็บประจุและตัวต้านทานมาตรฐาน การเตรียมค่าตัวเก็บประจุและตัวต้านทานมาตรฐาน เป็นส่วนที่ทำหน้าที่เตรียมเตรียมพื้นที่ในการเก็บค่าตัวต้านทานและตัวเก็บประจุมาตรฐานทั้งหมดที่จะใช้ในการพิจารณา

  11. การเตรียมค่าสัมประสิทธิ์ตามทฤษฎีการเตรียมค่าสัมประสิทธิ์ตามทฤษฎี การประมาณค่าแบบ Real Poles ตารางค่าสัมประสิทธิ์

  12. การเตรียมค่าสัมประสิทธิ์ตามทฤษฎีการเตรียมค่าสัมประสิทธิ์ตามทฤษฎี 2. การประมาณค่าแบบ Butterworth ตารางค่าสัมประสิทธิ์

  13. การเตรียมค่าสัมประสิทธิ์ตามทฤษฎีการเตรียมค่าสัมประสิทธิ์ตามทฤษฎี 3. การประมาณค่าแบบ Bessel ตารางค่าสัมประสิทธิ์

  14. การเตรียมค่าส่วนประกอบต่างๆ ของวงจร • เตรียมค่าที่ใช้ในการคำนวณเกี่ยวกับวงจรกรองความถี่ต่ำซึ่งได้แก่ ค่าแรงดันที่ input, ค่าของกระแสที่ไหลผ่าน R , ค่าของกระแสที่ไหลผ่าน C • จองพื้นที่ที่ใช้เก็บค่าสัมประสิทธิ์ที่เป็นค่าที่ได้จากวงจร • เลือกIndex เพื่อกำหนดขอบเขตในการสืบค้น

  15. การคำนวณเกี่ยวกับวงจรการคำนวณเกี่ยวกับวงจร • คำนวณค่าสัมประสิทธิ์ของแรงดันที่ input ของ RC แต่ละชุด • คำนวณค่าของ error ของสัมประสิทธิ์เปรียบเทียบกับค่าที่เราต้องการ • เก็บค่าของ R C และ สัมประสิทธิ์ของ V ที่ดีที่สุด

  16. ตัวอย่างการหา error ระหว่างสัมประสิทธิ์ (Order2) ส.ป.ส. จากการประมาณค่า ส.ป.ส. จากวงจร 1.หาค่า error ระหว่างสัมประสิทธิ์ที่มีอันดับตรงกันโดนคิดเป็นเปอร์เซ็นต์ของการ error เช่น 2.นำค่า error ที่ได้มาเปรียบเทียบกับ maximum error ซึ่งตอนแรกกำหนดค่าไว้ที่ 0 ถ้าค่า error ระหว่างสัมประสิทธิ์ที่มีค่ามากที่สุด มีค่ามากกว่าจะให้ค่า error ระหว่างสัมประสิทธิ์นั้นเป็นค่า maximum error แทน

  17. ตัวอย่างการหา error ระหว่างสัมประสิทธิ์ (Order2) 3.กำหนดค่า Global error ที่ 100% จากนั้นนำค่า maximum error มาเปรียบเทียบ ถ้า maximum error มีค่าน้อยกว่าให้เก็บค่า maximum error เป็น Global error พร้อมกับเก็บค่าของ R C และ แรงดัน ณ ขณะนั้นไว้ด้วย 4.นำค่า R C ชุดใหม่มาเปรียบเทียบหาค่า error โดยเริ่มจากข้อ 1 วนแบบนี้ไปเรื่อยๆ จนกระทั่งได้ค่า global error ที่น้อยที่สุด

  18. สาธิตการทำงานของโปรแกรมสาธิตการทำงานของโปรแกรม

More Related