1.51k likes | 1.74k Vues
Admissions ปี 2556. เส้นทางสู่มหาวิทยาลัย. Admissions. เส้นทางสู่มหาวิทยาลัย. GPAX 20% , O-NET 30% GAT 10-50% PAT 0-40%. รับตรง. มหาวิทยาลัยจัดสอบเอง (โควตาพื้นที่ , โควตาพิเศษ,โครงการพิเศษ , ดู Portfolio , สอบสัมภาษณ์). องค์ประกอบและค่าน้ำหนักในระบบ Admissions
E N D
เส้นทางสู่มหาวิทยาลัยเส้นทางสู่มหาวิทยาลัย Admissions เส้นทางสู่มหาวิทยาลัย GPAX 20% , O-NET 30% GAT10-50%PAT 0-40% รับตรง มหาวิทยาลัยจัดสอบเอง (โควตาพื้นที่ , โควตาพิเศษ,โครงการพิเศษ , ดู Portfolio, สอบสัมภาษณ์)
องค์ประกอบและค่าน้ำหนักในระบบ Admissions คะแนนเต็ม 30,000 คะแนน GPAX20% PAT 1-7 0-40% เท่ากันทุกคณะ GAT10-50% O-NET30%
6,000 คะแนน องค์ประกอบและค่าน้ำหนักในระบบ Admissions • GPAX >> ผลการเรียนเฉลี่ยสะสมตลอดหลักสูตรมัธยมศึกษาตอนปลาย มีค่าน้ำหนัก 20% • เช่น เกรดเฉลี่ย 6 ภาคเรียนได้ 4.00 จะได้ = 20% • ถ้าเกรดเฉลี่ย 6 ภาคเรียนได้ 3.00 จะได้ = ??? คะแนน GPAX = GPAX x 25 x 3 x % ค่าน้ำหนักที่กำหนด (20%)
2. O-NET >> ผลทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน มีค่าน้ำหนัก 30% สอบทั้งหมด 8 สาระการเรียนรู้ แต่จัดข้อสอบเป็น 6 ชุดวิชา สอบประมาณเดือนกุมภาพันธ์ของทุกปี คะแนน O-NET = คะแนนที่ได้ x 3 x 5 9,000 คะแนน
องค์ประกอบและค่าน้ำหนักในระบบ Admissions 3. GAT >> แบบทดสอบความถนัดทั่วไป มีค่าน้ำหนัก 10-50% ประกอบด้วย ส่วนความคิดวิเคราะห์เชื่อมโยง 50% ส่วนภาษาอังกฤษ 50% 15,000 คะแนน 4. PAT >> แบบทดสอบความถนัดทางวิชาชีพและวิชาการ มีค่าน้ำหนัก 0-40% มีทั้งหมด 7 PAT คะแนน GAT , PAT = คะแนนที่ได้ x ค่าน้ำหนักที่คณะกำหนด
ต้องรู้การใช้สัญลักษณ์แต่ละแบบก่อน!!!ต้องรู้การใช้สัญลักษณ์แต่ละแบบก่อน!!! A D F 99H
รูปแบบข้อสอบ GAT วิเคราะห์ฯ วาดตามการอ่านวิเคราะห์มา
แปลงกลับมาเป็นรหัสเพื่อนำไประบายในกระดาษคำตอบแปลงกลับมาเป็นรหัสเพื่อนำไประบายในกระดาษคำตอบ
ข้อที่ คำตอบที่ 1ข้อ มีคำตอบไม่เกิน 4 คำตอบ
สรุปการกําหนดองค์ประกอบและน้ำหนักในการคัดเลือกสรุปการกําหนดองค์ประกอบและน้ำหนักในการคัดเลือก ของแต่ละกลุ่มสาขาวิชา เริ่ม พ.ศ. 2556
P1-คณิต P2-วิทย์ P3-วิศวกรรม P4-สถาปัตย์ P7-ต่างประเทศที่2
P1-คณิต P5-ครุศาสตร์/ศึกษาศาสตร์ P6-ศิลปกรรม P7-ต่างประเทศที่2
P1-คณิต P7-ต่างประเทศที่2
สัดส่วนโดยประมาณการรับเข้ามหาวิทยาลัยในแต่ละปีการศึกษาสัดส่วนโดยประมาณการรับเข้ามหาวิทยาลัยในแต่ละปีการศึกษา ข้อมูลจาก www.cuas.or.th
การรับตรง University โควตา สอบตรง โครงการพิเศษ ทุน ฯลฯ
การรับตรงรูปแบบที่ 1 ม.กำหนดคุณสมบัติ คุณสมบัติ 1. คุณสมบัติทางวิชาการ 2. คุณสมบัติเฉพาะเช่น พื้นที่โรงเรียน 3. คุณสมบัติความสามารถพิเศษเฉพาะด้าน 4. คุณสมบัติด้านสุขภาพร่างกาย สอบข้อเขียน สอบสัมภาษณ์ ความถนัดทางการเรียน ความถนัดทางวิชาชีพ University
การรับตรงรูปแบบที่ 2 ม.กำหนดคุณสมบัติ สอบสัมภาษณ์ ดู Portfolio อาจไม่ต้อง สอบข้อเขียน ยื่นแฟ้มสะสมงาน University
การรับตรงรูปแบบที่ 3 ม.กำหนดคุณสมบัติ สอบข้อเขียน ใช้ O-NET , GAT, PAT, หรือ คะแนนสอบวิชาการสทศ.* 7 วิชาสามัญ สอบ ช่วงเดือน ม.ค. ประกาศผลภายในวันที่ ช่วงเดือน ก.พ. สอบสัมภาษณ์ University
เนื้อหาที่จะใช้ในการสอบ 7 วิชาสามัญ
เนื้อหาที่จะใช้ในการสอบ 7 วิชาสามัญ
เนื้อหาที่จะใช้ในการสอบ 7 วิชาสามัญ 10ข้อ 20 คะแนน
เนื้อหาที่จะใช้ในการสอบ 7 วิชาสามัญ 20ข้อ 80 คะแนน
เนื้อหาที่จะใช้ในการสอบ 7 วิชาสามัญ
เนื้อหาที่จะใช้ในการสอบ 7 วิชาสามัญ
สรุปช่วงเวลาการสอบ แบบเน้นๆ… GAT PAT ต.ค. ครั้งที่ 1 สำคัญสุดๆ ความถนัดแพทย์ พ.ย. 7 วิชาสามัญ ม.ค. ONET ก.พ. GAT PAT มี.ค. ครั้งที่ 2
รับตรง สอบตรง สอบชิงทุน โควตา Admissions โครงการพิเศษ 7 วิชาสามัญ ฯลฯ Clearing House มหาวิทยาลัย
ตัวอย่างโครงการ รับตรงที่น่าสนใจ
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
รับตรงแบบปกติ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ใช้ GAT PAT รอบ (ต.ค. เท่านั้น) ใช้ 7 วิชาสามัญ ใช้ GAT PAT (รอบ ต.ค. เท่านั้น) และ ใช้ 7 วิชาสามัญ
รับตรงแบบปกติ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
รับตรงแบบปกติ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พิจารณาคะแนน GPAX (กำหนดคุณสมบัติ) GAT และ PAT (คะแนนสอบเดือนต.ค. 55) คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี GPAX 4 เทอม >= 3.00 บริหารฯ และบัญชีฯ รับสาขาละ 250 คน แบ่งเป็นสายวิทย์ 125 คน ศิลป์-คำนวณ 125 คน
รับตรงแบบปกติ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชีรูปแบบปกติรอบที่ 1 GPAX 4 เทอม >= 3.00 กำหนดการรับสมัคร - รับสมัครระหว่าง 4-13 ก.ค. 2555ที่ www.atc.chula.ac.th - ส่งใบสมัครพร้อมหลักฐานทางไปรษณีย์ ภายใน 4-13 ก.ค. - สอบ GAT, PAT รอบเดือนตุลาคม - ประกาศรายชื่อผู้มีสิทธิ์สัมภาษณ์ (รวมตัวสำรอง) 4 ธ.ค. 2555 - สอบสัมภาษณ์ 12 ธันวาคม 2555 - ประกาศรายชื่อผู้มีสิทธิ์เข้าศึกษา 25 ธ.ค. 2555 - รายงานตัวเข้าศึกษา 28 ธ.ค. 2555 - เรียกผู้สอบได้สำรองรายงานตัว (ถ้ามี) 3 ม.ค. 56
รับตรงแบบปกติ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พิจารณาคะแนน GPAX (กำหนดคุณสมบัติ) GAT และ PAT (เดือนตุลาคม 55) คณะวิทยาศาสตร์ ใช้คะแนน GAT และ CU Science
รับตรงแบบปกติ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย รับตรงแบบปกติ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย รับตรงแบบปกติ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย แบบปกติ พิจารณาคะแนน GPAX (กำหนดคุณสมบัติ) GAT และ PAT (เดือนตุลาคม 54) คณะวิศวกรรมศาสตร์ ใช้คะแนน GAT PAT1 และ PAT3 (20:20:60) คณะครุศาสตร์ ยกเลิกการสอบวิชาความรู้พื้นฐานทางสังคมศาสตร์ และใช้คะแนนสอบวิชาภาษาไทย สังคม ที่สทศ.จัดสอบ (ขององค์กรกลาง) แทน คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ใช้คะแนน GATPAT1 PAT2 และ PAT4 คณะอักษรศาสตร์ ใช้คะแนน PAT7 และใช้คะแนนสอบวิชาภาษาไทย สังคม อังกฤษที่สทศ.จัดสอบ (ขององค์กรกลาง) ติดตามข่าว : http://www.admissions.chula.ac.th
รับตรงแบบปกติ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย รับตรงแบบปกติ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย รับตรงแบบปกติ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย แบบปกติ พิจารณาคะแนน GPAX (กำหนดคุณสมบัติ) GAT และ PAT (เดือนตุลาคม 54) คณะรัฐศาสตร์ ใช้คะแนน GAT PAT1 คณะนิติศาสตร์ ใช้คะแนน GAT PAT1หรือ PAT7 และใช้คะแนนสอบวิชาภาษาไทย สังคม อังกฤษที่สทศ.จัดสอบ (ขององค์กรกลาง) แทน คณะเศรษฐศาสตร์ ใช้คะแนน GATPAT1 และใช้คะแนนสอบวิชาสังคม ที่สทศ.จัดสอบ ติดตามข่าว : http://www.admissions.chula.ac.th
รับตรงแบบปกติ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย รับตรงแบบพิเศษ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย คณะนิเทศศาสตร์ สาขาวิชาวารสารสนเทศ รับ 10 คน มีผลงานหรือรางวัลที่แสดงถึงความสามารถทางวารสารสนเทศ หรือหลักฐานที่แสดงความสนใจ ในการมีส่วนร่วมในกิจกรรมทางด้านวารสารสนเทศอย่างต่อเนื่อง เช่น การมีผลงาน หรือมีส่วนร่วมใน งานด้านข่าวสาร ด้านlสารสนเทศ งานเขียน งานออกแบบเวบไซต์สื่อสิ่งพิมพ์ และงานผลิตสื่ออื่นๆ ความยาวไม่เกิน 2 หน้า A4 ผลงานที่เด่นที่สุดไม่เกิน 5 ผลงาน คิดเป็นคะแนนได้ไม่ต่ำกว่าขั้นต่ำ 60% GPAX (4 เทอม >= 3.25) สอบภาษาไทย 10% สังคม 10% อังกฤษ 10% + ความถนัดทางวารสารสนเทศ 70% (ขั้นต่ำ 60%) วิชาความถนัดทางวารสารสนเทศ เนื้อหาครอบคลุมความรู้ทักษะและความสนใจด้านวารสนเทศ ความสามารถในการคิดวิเคราะห์ ความมีจิตสำนึกสาธารณะ และความสามารถในการใช้ภาษาทางการสื่อสารทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ คะแนนสอบวิชาการ 30% สอบสัมภาษณ์ 40%
รับตรงแบบพิเศษ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มีคุณสมบัติ ประวัติ ผลงานเฉพาะด้าน ตามที่แต่ละโครงการกำหนด คณะวิศวกรรมศาสตร์ เป็นนักเรียนโครงการสอวน. เป็นตัวแทนประเทศไทยไปแข่งขันคณิตศาสตร์วิทยาศาสตร์โอลิมปิกระหว่างประเทศพิจารณาคุณสมบัติ + สอบสัมภาษณ์ คณะวิทยาศาสตร์ โครงการโอลิมปิกวิชาการ เป็นนักเรียนโครงการสอวน. หรือผ่านการคัดเลือกคณิตศาสตร์วิทยาศาสตร์โอลิมปิกวิชาการ , GPAX 4 เทอม ไม่ต่ำกว่า 2.50 พิจารณาคุณสมบัติ + สอบสัมภาษณ์ โครงการพัฒนาอัจฉริยภาพทางวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กและเยาวชน ต้องมีหนังสือรับรองจากสวทช.ว่าเป็นนักเรียนที่ผ่านการคัดเลือก หรือ ผ่านการแข่งขันระดับชาติ พิจารณาคุณสมบัติ + สอบสัมภาษณ์
รับตรงแบบพิเศษ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย คณะวิทยาศาสตร์ โครงการพัฒนาและส่งเสริมผู้มีความสามารถพิเศษทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (พสวท.) เป็นนักเรียนโครงการสอวน. หรือผ่านการคัดเลือกคณิตศาสตร์วิทยาศาสตร์โอลิมปิกวิชาการ , GPAX 4 เทอม ไม่ต่ำกว่า 3.00 GPA ฟิสิกส์ เคมี ชีวะ คณิต 4 เทอม ไม่ต่ำกว่า 3.25 สอบวิชาคณิต ฟิสิกส์ เคมี ชีวะ วิชาละ 25% ขั้นต่ำ 55% + สอบสัมภาษณ์ คณะอักษรศาสตร์ ผู้มีความสามารถพิเศษทางด้านภาษาไทย รับ 15 คน GPAX 4 เทอม ไม่ต่ำกว่า 3.50 มีหลักฐานการได้รับรางวัลด้านภาษาไทยระดับมัธยมศึกษา GPA 4 เทอม ภาษาไทย 4.00 มีหลักฐานว่ามีความสามารถพิเศษหรือความถนัดเป็นพิเศษด้านภาษาไทย จำนวน 1 รางวัล รางวัลต้องระดับมัธยมของเขตการศึกษา จังหวัด หรือ ประเทศเท่านั้น GPA 4 เทอม ภาษาไทย 3.50 มีหลักฐานเหมือน 4.00 แต่ต้องยื่น 2 รางวัล มีคะแนน CU TEP ไม่ต่ำกว่า 400 คะแนน สอบหลักภาษาไทย 35% วรรณคดีไทย 35% และเรียงความ 30% ขั้นต่ำ 60%+ สอบสัมภาษณ์
รับตรงแบบพิเศษ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย คณะอักษรศาสตร์ สาขาวิชาสเปนรับ 10 คน GPAX 4 เทอม ไม่ต่ำกว่า 3.50 สอบภาษาไทย ภาษาอังกฤษ และ วิชาความสามารถทางภาษาสเปน + สอบสัมภาษณ์
รับตรงแบบพิเศษ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย คณะครุศาสตร์ สาขาวิชาศิลปศึกษา รับ 40 คน GPAX (4 เทอม >= 2.00) สอบภาษาไทย ภาษาอังกฤษสังคม (หรือคณิตศาสตร์ ฟิสิกส์ เคมี ชีวะ เลือกสอบ 1 วิชา) + วิชาความถนัดทางครุศาสตร์ + วิชาความถนัดทางศิลปศึกษา