1 / 128

พ.ร.บ. ข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. 2540

พ.ร.บ. ข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. 2540. โดย : นายเยี่ยมศักดิ์ คุ้มอินทร์. 09/23/98. สำนักงานคณะกรรมการข้อมูลข่าวสารของราชการ. MENU. STOP. ขอบเขตคำบรรยาย. 1. หลักการ & เจตนารมณ์. โครงสร้างกฎหมาย นิยาม และประเภทข้อมูล. 2. สิทธิ & หน้าที่. 4. 3. ความรับผิด ของเจ้าหน้าที่.

armand
Télécharger la présentation

พ.ร.บ. ข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. 2540

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. พ.ร.บ. ข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ.2540 โดย :นายเยี่ยมศักดิ์ คุ้มอินทร์ 09/23/98 สำนักงานคณะกรรมการข้อมูลข่าวสารของราชการ MENU STOP

  2. ขอบเขตคำบรรยาย 1 หลักการ&เจตนารมณ์ โครงสร้างกฎหมายนิยาม และประเภทข้อมูล 2 สิทธิ&หน้าที่ 4 3 ความรับผิดของเจ้าหน้าที่ ประโยชน์ และผลกระทบ 5 ข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคล ข้อมูลข่าวสารของราชการ สิทธิของประชาชน หน้าที่ของหน่วยงาน STOP E

  3. สาระสำคัญของกฎหมาย

  4. 1. กฎหมายที่เกี่ยวข้อง รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ร.บ.จัดตั้งศาลปกครองฯ พ.ศ.2542 พ.ร.บ.วิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ.2539 พ.ร.บ.ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่พ.ศ.2539 MENU STOP

  5. “สิทธิได้รู้” ตามรัฐธรรมนูญ ม.56 สิทธิรับรู้ข้อมูลข่าวสารสาธารณะ ม.57 สิทธิได้รับข้อมูล และคำชี้แจงจากหน่วยงานของรัฐ ม.58สิทธิมีส่วนร่วมในกระบวนการพิจารณาที่มี ผลกระทบต่อสิทธิและเสรีภาพของตน ม.60 มีสิทธิฟ้องหน่วยงาน ให้รับผิดกรณีกระทำ หรือละเว้นการกระทำของเจ้าหน้าที่

  6. รธน. แห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2550 ม. 56บัญญัติว่า “บุคคลย่อมมีสิทธิได้รับทราบข้อมูลหรือข่าวสารสาธารณะในครอบครองของหน่วยราชการ หน่วยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ หรือราชการส่วนท้องถิ่นเว้นแต่การเปิดเผยข้อมูลนั้นจะกระทบต่อความมั่นคงของรัฐ ความปลอดภัยของประชาชนหรือส่วนได้เสียอันพึงได้รับความคุ้มครองของบุคคลอื่น ทั้งนี้ตามที่กฎหมายบัญญัติ” MENU STOP

  7. รธน. แห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2550 ม. 35 บัญญัติว่า “สิทธิของบุคคลในครอบครัว เกียรติยศ ชื่อเสียง หรือความเป็นอยู่ส่วนตัว ย่อมได้รับความคุ้มครอง การกล่าวหรือไขข่าวแพร่หลาย ซึ่งข้อความหรือภาพไม่ว่าด้วยวิธีใด ไปยังสาธารณชน อันเป็นการละเมิดหรือกระทบถึงสิทธิของบุคคลในครอบครัว เกียรติยศ ชื่อเสียง หรือความเป็นอยู่ส่วนตัว ตลอดจนการเปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคลโดยไม่ได้รับอนุญาตจากผู้เป็นเจ้าของข้อมูลนั้นจะกระทำมิได้ เว้นแต่โดยอาศัยบทบัญญัติแห่งกฎหมาย (เพื่อมั่นคง ความสงบ ศีลธรรม)” MENU STOP

  8. 3. เจตนารมณ์แห่ง พ.ร.บ.ข้อมูลข่าวสารฯ กำหนดสิทธิได้รู้ของประชาชนให้แจ้งชัด ระบบราชการ โปร่งใส ตรวจสอบได้ ป้องกันการทุจริต ให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการปกครองสามารถคุ้มครองตนเอง &ใช้สิทธิทางเมืองได้ถูกต้อง MENU STOP

  9. 4. หลักการของกฎหมาย . การเปิดเผยเป็นหลักปกปิดเป็นข้อยกเว้น +ให้ความคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล / “สิทธิรับรู้”ไม่ต้องมีส่วนได้เสีย MENU STOP

  10. 5. บทบัญญัติของกฎหมาย - หลักทั่วไป - หมวด 1 : ข้อมูลข่าวสารทั่วไป & การเปิดเผย - หมวด 2 : ข้อมูลข่าวสารที่ไม่ต้องเปิดเผย - หมวด 3 : ข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคล - หมวด 4 : เอกสารประวัติศาสตร์ - หมวด 5 : คณะกรรมการข้อมูลข่าวสารของราชการ - หมวด 6 : คณะกรรมการวินิจฉัยการเปิดเผยข้อมูลข่าวสาร - หมวด 7 : บทกำหนดโทษ - บทเฉพาะกาล MENU STOP

  11. สขร. XXXXXXX XXXXX XXXXXXX XXXXX XXXXXXX XXXXX กลุ่มวิชาการ. กลุ่มนโยบายฯ กลุ่ม ปชส. XXXXXXX XXXXX XXXXXXX XXXXX XXXXXXX XXXXX XXXXXXX XXXXX XXXXXXX XXXXX XXXXXXX XXXXX XXXXXXX XXXXX XXXXXXX XXXXX XXXXXXX XXXXX พ.ร.บ. ข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. 2540 เอกสารประวัติศาสตร์ มาตรา 7 (ลงพิมพ์ราชกิจจาฯ) มาตรา 9 (ตรวจดูได้เอง) มาตรา 26 ราชกิจจาฯ มาตรา 11 (ยื่นคำขอเฉพาะราย) มาตรา 15 ลับ มาตรา 24 ข้อมูลส่วนบุคคล MENU STOP

  12. 6. นิยามความหมาย ข้อมูลข่าวสาร ข้อมูลข่าวสารของราชการ ข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคล หน่วยงานของรัฐ คณะกรรมการ MENU STOP

  13. ความหมายของ “ข้อมูลข่าวสาร”ข้อมูล: ข้อเท็จจริง หรือสิ่งที่ถือหรือ ยอมรับว่าเป็นข้อเท็จจริงข่าวสาร: ข้อความที่ส่งมา เพื่อสื่อสารให้รู้เรื่องกัน

  14. นิยาม “ข้อมูลข่าวสาร” ตามกฎหมาย สิ่งที่สื่อความหมายให้รู้เรื่องราว ข้อเท็จจริง ข้อมูล หรือสิ่งใด ๆ การสื่อความหมายทำได้โดยสภาพของสิ่งนั้นเอง หรือโดยผ่านวิธีการใดๆ จัดทำไว้ในรูปของเอกสาร แฟ้ม รายงาน หนังสือ แผนผัง แผนที่ ภาพวาด ภาพถ่าย ฟิล์ม การบันทึกภาพหรือเสียง การบันทึกโดยคอมพิวเตอร์หรือวิธีที่ทำให้สิ่งที่บันทึกไว้ ปรากฏได้

  15. “ข้อมูลข่าวสารของราชการ”“ข้อมูลข่าวสารของราชการ” ข้อมูลข่าวสารที่อยู่ในความครอบครอง หรือควบคุมดูแลของหน่วยงานของรัฐ ไม่ว่าจะเป็นข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับการดำเนินงานของรัฐหรือข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับเอกชน

  16. “หน่วยงานของรัฐ” ราชการส่วนกลาง ราชการส่วนภูมิภาค ราชการส่วนท้องถิ่น รัฐวิสาหกิจ ส่วนราชการสังกัดรัฐสภา ศาล เฉพาะในส่วนที่ไม่เกี่ยวกับการพิจารณาพิพากษาคดี องค์กรควบคุมการประกอบวิชาชีพ หน่วยงานอิสระของรัฐ และหน่วยงานอื่นตามที่กำหนดในกฎกระทรวง “เจ้าหน้าที่” ผู้ซึ่งปฏิบัติงานให้แก่หน่วยงานของรัฐ

  17. 6. การเปิดเผยข้อมูลข่าวสาร ของราชการ

  18. การเปิดเผยข้อมูลข่าวสารการเปิดเผยข้อมูลข่าวสาร &การลงพิมพ์ในราชกิจจานุเบกษา (ต้องรู้) การจัดไว้ให้ประชาชนได้ตรวจดู (ควรรู้) -การจัดหาให้ตามคำขอเฉพาะราย (อยากรู้) การเปิดเผยตามกฎหมายกำหนดไว้เฉพาะ (ม.10) หมายเหตุ : หากมีส่วนที่ต้องห้ามมิให้เปิดเผย ให้ลบ / ตัดทอนข้อความส่วนนั้น MENU END

  19. 6.1 การพิมพ์ในราชกิจจานุเบกษา(มาตรา 7) (1) โครงสร้างและการจัดองค์กร (2) อำนาจหน้าที่และวิธีดำเนินงาน (3) สถานที่ติดต่อขอรับข้อมูลข่าวสาร (4) กฎ มติ ค.ร.ม. ข้อบังคับ คำสั่งฯ (5) ข้อมูลข่าวสารอื่น

  20. 6.2 การจัดไว้ให้ประชาชนตรวจดู (มาตรา 9)(1) ผลการพิจารณาที่มีผลต่อเอกชนโดยตรง(2) นโยบายและการตีความ(3) แผนงาน โครงการและงบประมาณ(4) คู่มือหรือ คำสั่งเกี่ยวกับวิธีปฏิบัติงาน(5) สิ่งพิมพ์ที่มีการอ้างอิงถึงในราชกิจจานุเบกษา

  21. (6) สัญญาสำคัญของรัฐ สัญญาสัมปทาน สัญญาผูกขาดตัดตอน สัญญาร่วมทุนกับเอกชน ในการจัดทำบริการสาธารณะ (7) มติ ค.ร.ม. มติคณะกรรมการ ที่แต่งตั้งโดยกฎหมาย และคณะกรรมการที่แต่งตั้งโดย มติ ค.ร.ม. (8) ข้อมูลข่าวสารอื่น

  22. วิธีการจัดให้ตรวจดูประกาศคณะกรรมการฯ 24 ก.พ.41(1) จัดให้มีสถานที่(2) จัดทำดรรชนี(3) ประชาชนสามารถค้นหาได้เอง(4) คำนึงถึงความสะดวก(5) อาจเป็นห้องสมุดหรือ ห้องในหน่วยงานอื่น

  23. 6.3 การจัดหาให้เอกชนเป็นการเฉพาะราย(มาตรา 11)(1) มีการยื่นคำขอระบุข้อมูล ข่าวสารที่ต้องการในลักษณะที่อาจ เข้าใจได้ตามควร (2) ต้องไม่ขอจำนวนมาก หรือ บ่อยครั้งโดยไม่มีเหตุผลอันสมควร

  24. ลักษณะข้อมูลที่จัดให้(1) ข้อมูลข่าวสารที่มีอยู่แล้ว(2) ไม่ต้องจัดทำขึ้นใหม่เว้นแต่การแปรสภาพเป็น เอกสาร แต่หากเห็นว่ามิใช่เป็นการแสวงหา ประโยชน์ทางการค้า และเพื่อปกป้องสิทธิเสรีภาพ หรือเพื่อประโยชน์แก่สาธารณะอาจจัดหาให้ก็ได้

  25. 7. ข้อมูลข่าวสารที่ไม่ต้องเปิดเผย 7.1 ข้อมูลข่าวสารที่อาจก่อให้เกิดความเสียหายต่อสถาบันพระมหากษัตริย์ (มาตรา 14)

  26. 7.2 ข้อมูลข่าวสารที่อาจไม่ต้องเปิดเผยต้องเข้าข้อยกเว้นต่อไปนี้ (มาตรา 15 )(1) ความมั่นคงของประเทศ(2) การบังคับใช้กฎหมาย(3) ความเห็นภายใน(4) ความปลอดภัยของบุคคล(5) ข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคล(6) กฎหมายหรือบุคคลเจ้าของข้อมูลกำหนดมิให้เปิดเผย

  27. การใช้ดุลยพินิจก่อนมีคำสั่งไม่เปิดเผยต้องคำนึงถึงเรื่องต่อไปนี้ ประกอบกัน1) การปฏิบัติหน้าที่ของหน่วยงานของรัฐ2) ประโยชน์สาธารณะ3) ประโยชน์ของเอกชนที่เกี่ยวข้อง

  28. 1) วิธีการเปิด - เปิดอย่างไร (ให้เข้าตรวจดู-ให้สำเนา -รับรองสำเนา)2) เนื้อหาที่เปิด - เปิดแค่ไหน (เปิดทั้งหมด - ปิดบางส่วน)3) เวลาที่เปิด - เปิดเมื่อใด (กรณีความสำคัญของข้อมูลขึ้นกับเงื่อนเวลา) ประเด็นประกอบพิจารณา

  29. หลักเกณฑ์การใช้ดุลพินิจหลักเกณฑ์การใช้ดุลพินิจ 1. กระบวนการก่อนออกคำสั่ง 2. หลักเกณฑ์การใช้ดุลพินิจ 3. การออกคำสั่ง และการคุ้มครอง เจ้าหน้าที่ของรัฐ

  30. กระบวนการก่อนออกคำสั่งกระบวนการก่อนออกคำสั่ง คำสั่งทางปกครอง ต้องให้คู่กรณีได้ทราบข้อเท็จจริง อย่างเพียงพอ มีโอกาสโต้แย้ง (วิปกครอง ม. 30) กระทบถึงประโยชน์ได้เสียของผู้ใด ต้องให้โอกาส คัดค้าน (ม. 17) กรณีข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคล ต้องได้รับความยินยอม (ม. 24)

  31. หลักเกณฑ์ในการใช้ดุลพินิจหลักเกณฑ์ในการใช้ดุลพินิจ - อำนาจในการใช้ดุลพินิจ ไม่ใช่สิทธิเสรีภาพที่เจ้าหน้าที่จะตัดสินใจว่า จะใช้ดุลพินิจหรือไม่ แต่อำนาจดุลพินิจเป็นหน้าที่ ที่เจ้าหน้าที่ของรัฐต้องตัดสินใจอย่างอิสระ - ต้องใช้ดุลพินิจอย่างเสมอภาค - การใช้ดุลพินิจไม่ใช่เป็นเรื่องใช้อำนาจตามอำเภอใจ แต่ต้องใช้อย่างมีเหตุผล

  32. แนวทางในการควบคุมการใช้ดุลพินิจแนวทางในการควบคุมการใช้ดุลพินิจ 1. หลักแห่งความเหมาะสม 2. หลักแห่งความจำเป็น 3. หลักแห่งความได้สัดส่วน

  33. ขั้นตอนการใช้ดุลพินิจขั้นตอนการใช้ดุลพินิจ 1. พิจารณาถึงผลดี ผลเสีย ผลกระทบ 2. ชั่งน้ำหนักผลดีกับผลเสีย ผลกระทบ 3. ตัดสินใจเปิดเผยหรือไม่เปิดเผย

  34. 8. ข้อมูลไม่อยู่ในความครอบครองข้อมูลข่าวสารไม่อยู่ในครอบครองของหน่วยงานและเห็นว่าเป็นของหน่วยงานของรัฐแห่งอื่นให้แนะนำไปยื่นคำขอที่หน่วยงานของรัฐที่ครอบครองข้อมูลนั้นๆ (มาตรา 12)

  35. ข้อมูลของหน่วยงานอื่น ที่มีชั้นความลับ หากข้อมูลมีการกำหนดชั้นความลับได้ ให้ส่งคำขอนั้น ให้หน่วยงานผู้จัดทำข้อมูล นั้น… (มาตรา 12) STOP MENU Sub Menu

  36. 9 ข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคล

  37. ความหมาย “ข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคล”(ม. 4 วรรคที่ห้า) ข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับ __________ ของบุคคล เช่นการศึกษา ฐานะการเงิน ประวัติสุขภาพ ประวัติอาชญากรรม หรือประวัติการทำงาน บรรดาที่มีชื่อของผู้นั้น หรือมีเลขหมาย รหัส หรือ ______________ที่ทำให้รู้ตัวผู้นั้นได้ เช่น ลายพิมพ์นิ้วมือ แผ่นบันทึกลักษณะเสียงของคน หรือรูปถ่าย และให้หมายความรวมถึงข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับสิ่งเฉพาะตัวของผู้ที่ถึงแก่กรรมแล้วด้วย สิ่งเฉพาะตัว สิ่งบอกลักษณะอื่น

  38. ข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคล:องค์ประกอบข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคล:องค์ประกอบ ข้อมูลเกี่ยวกับสิ่ง เฉพาะตัวของบุคคล ข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคล มีสิ่งบอกลักษณะ ที่ทำให้รู้ตัวผู้นั้นได้ STOP MENU Sub Menu

  39. ข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคล ข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคล สิ่งเฉพาะตัวบุคคล สิ่งที่ทำให้รู้ตัวผู้นั้น เช่น เช่น ฐานะการเงิน ชื่อ-นามสกุล การศึกษา ลายพิมพ์นิ้วมือ ประวัติสุขภาพ แผ่นบันทึกลักษณะเสียง ประวัติอาชญากรรม รูปภาพ ประวัติการทำงาน ฯลฯ STOP MENU Sub Menu

  40. หน้าที่ของหน่วยงานของรัฐ ต่อ ข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคล • เก็บข้อมูลเท่าที่จำเป็น ยกเลิกเมื่อหมดความจำเป็น • ตรวจ แก้ไขข้อมูลให้ถูกต้องเสมอ และ จัดระบบ รปภ. มิให้นำไปใช้โดยไม่เหมาะสม ( ม. 23) • เก็บข้อมูลโดยตรงจากเจ้าของข้อมูล (ม. 23) • การเปิดเผยต้องได้รับความยินยอมจากเจ้าของข้อมูล (ม.24) • ให้เจ้าของข้อมูลตรวจดูข้อมูลเกี่ยวกับตนได้ (ม. 25) • แก้ไขข้อมูลให้ตรงความจริงตามที่เจ้าของร้องขอ (ม. 25) • จัดให้พิมพ์ในราชกิจจานุเบกษา ใน 6 ประเด็น (ม. 23)

  41. ข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคลที่ต้องพิมพ์ในราชกิจจาฯ (ม. 23)(1) ประเภทของบุคคลที่มีการเก็บข้อมูลไว้ (2) ประเภทของระบบข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคล(3) ลักษณะการใช้ข้อมูลตามปกติ(4) วิธีการขอตรวจดูข้อมูลของเจ้าของข้อมูล(5) วิธีการขอให้แก้ไขเปลี่ยนแปลงข้อมูล(6) แหล่งที่มาของข้อมูล

  42. ข้อยกเว้น ให้เปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคล (มาตรา 24) ต่อ จนท.ในหน่วยงานนำไปใช้ตามอำนาจหน้าที่ การใช้ข้อมูลตามปกติ ต่อ หน่วยงานที่ทำงานด้านแผน/การสถิติ  การใช้เพื่อประโยชน์ในการศึกษาวิจัย ต่อ หอจดหมายเหตุฯ เพื่อการตรวจดูคุณค่า ม. 26 วรรคหนึ่ง ต่อ จนท. เพื่อป้องกันการฝ่าฝืนไม่ปฏิบัติตาม กม. กรณีจำเป็นเพื่อป้องกัน/ระงับอันตรายต่อชีวิต/สุขภาพ ต่อ ศาล และ จนท. หน่วยงาน /บุคคลที่มีอำนาจตาม กม. กรณีอื่นตามที่กำหนดไว้ในพระราชกฤษฎีกา

  43. 10. เอกสารประวัติศาสตร์

  44. เอกสารที่ต้องส่งให้หอจดหมายเหตุแห่งชาติเอกสารที่ต้องส่งให้หอจดหมายเหตุแห่งชาติ (1) หน่วยงานของรัฐไม่ประสงค์ จะเก็บรักษา(2) มีอายุครบกำหนด ปกปิดตาม ม. 14 ได้ 75 ปี ปกปิดตาม ม. 15 ได้ 20 ปี

  45. กรณีขอขยายเวลา(1) หน่วยงานขอเก็บรักษาไว้เอง เพื่อใช้สอย ต้องจัดให้ประชาชน ศึกษาได้(2) ยังไม่ควรเปิด ต้องขอขยาย เวลาเก็บได้คราวละ ไม่เกิน 5 ปี

  46. 11. ข้อมูลที่มีผลกระทบต่อผู้อื่น หากเปิดเผยข้อมูลที่อาจกระทบถึงประโยชน์ได้เสียของผู้ใดให้แจ้งผู้นั้นคัดค้านการเปิดเผยภายในกำหนด การไม่รับฟังคำคัดค้าน ทำให้มีสิทธิอุทธรณ์ได้ (มาตรา 17) STOP MENU Sub Menu

  47. 12. สิทธิของประชาชนตามกฎหมาย สิทธิ “ได้รู้” ม. 7, 9, 11, 25 และ 26 สิทธิ “ได้รับคำแนะนำที่ถูกต้อง” ม. 12 สิทธิ “คัดค้านการเปิดเผย” ม. 17 สิทธิ “ร้องเรียน” ม. 13 สิทธิ “อุทธรณ์คำสั่งไม่เปิดเผย” ม. 18 MENU STOP

  48. สิทธิได้รู้: จำแนกได้ ดังนี้ สิทธิรับรู้ข้อมูลข่าวสารตาม ม. 7 สิทธิเข้าตรวจดูข้อมูลข่าวสารตาม ม.9 สิทธิขอดูข้อมูลข่าวสารตาม ม.11 สิทธิได้รู้ข้อมูลส่วนบุคคลของตน ม. 25 สิทธิในการศึกษา ค้นคว้า ข้อมูลประวัติศาสตร์ม. 26 Sub Menu MENU STOP

  49. สิทธิคัดค้านการเปิดเผยสิทธิคัดค้านการเปิดเผย มาตรา 17 ในกรณีที่เจ้าหน้าที่ของรัฐเห็นว่า การเปิดเผยข้อมูลข่าวสาร อาจกระทบถึงประโยชน์ได้เสียของผู้ใด ให้เจ้าหน้าที่ของรัฐแจ้งให้ผู้นั้น เสนอคำคัดค้านภายในเวลาที่กำหนดซึ่งต้องไม่น้อยกว่า 15 วัน หรือผู้ที่ทราบว่าการเปิดเผยข้อมูลข่าวสารของราชการใดอาจกระทบถึง ประโยชน์ได้เสียของตน มีสิทธิคัดค้านการเปิดเผยข้อมูลข่าวสารนั้นได้ โดยทำเป็นหนังสือถึงเจ้าหน้าที่ของรัฐผู้รับผิดชอบ Sub Menu MENU STOP

  50. สิทธิคัดค้านการเปิดเผย (ต่อ) ในกรณีที่มีการคัดค้าน เจ้าหน้าที่ของรัฐผู้รับผิดชอบต้องพิจารณา คำคัดค้านและแจ้งผลการพิจารณาให้ผู้คัดค้านทราบโดยไม่ชักช้า ในกรณีที่คำสั่งไม่รับฟ้งคำคัดค้าน เจ้าหน้าที่ของรัฐจะเปิดเผยข้อมูล ข่าวสารนั้นมิได้จนกว่าจะล่วงพ้นกำหนดเวลาอุทธรณ์ตามมาตรา 18 หรือจนกว่าคณะกรรมการวินิจฉัยการเปิดเผยข้อมูลข่าวสารได้มีคำวินิจฉัย ให้เปิดเผยข้อมูลข่าวสารนั้นได้ แล้วแต่กรณี Sub Menu MENU END

More Related