1 / 29

กองสุขาภิบาลชุมชน และประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ

กองสุขาภิบาลชุมชน และประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ. ประเด็นยุทธศาสตร์ การประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ ผลการดำเนินงาน ปี 2551 แผนการดำเนินงาน ปี 2552. วันที่ 16 กันยายน 2551 ณ โรงแรมโลตัส ปางสวนแก้ว จ.เชียงใหม่. ผลการดำเนินงาน ปี 2551.

bernadette
Télécharger la présentation

กองสุขาภิบาลชุมชน และประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. กองสุขาภิบาลชุมชน และประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ • ประเด็นยุทธศาสตร์การประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ • ผลการดำเนินงาน ปี 2551 • แผนการดำเนินงาน ปี 2552 วันที่ 16 กันยายน 2551 ณ โรงแรมโลตัส ปางสวนแก้ว จ.เชียงใหม่

  2. ผลการดำเนินงาน ปี 2551

  3. กรมอนามัยเป็นเจ้าภาพจัดการประชุมปรึกษาหารือกับภาคีที่เกี่ยวข้องเพื่อกำหนดกรอบการดำเนินงานด้านการประเมินผลกระทบต่อสุขภาพกรมอนามัยเป็นเจ้าภาพจัดการประชุมปรึกษาหารือกับภาคีที่เกี่ยวข้องเพื่อกำหนดกรอบการดำเนินงานด้านการประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ • วัตถุประสงค์ • ร่วมกันพิจารณาแนวทางการดำเนินงาน HIA ตามอำนาจหน้าที่ของหน่วยงานและกฎหมายที่เกี่ยวข้อง • เป็นเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้และติดตามความเคลื่อนไหวด้าน HIA • หาข้อสรุปในด้านบทบาทของกรมอนามัย • ภาคี • สำนักงานนโยบายและแผนสวล. • สำนักงานสุขภาพแห่งชาติ • กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น • กรม คร. • ผู้แทนภาคประชาสังคม • มูลนิธิสุขภาวะ • ผู้เชี่ยวชาญจากม.มหิดล • ผู้แทนกรม สบส. 28 เม.ย. แนวทางการดำเนินงาน HIA 15 พ.ค. การพิจารณาขอบเขตงานตาม รธน. 6-7 มิ.ย. สัมมนาผู้เกี่ยวข้อง ในประเด็นต่างๆ กลางมิ.ย. การดำเนินงาน HIA นอก EIA ปลาย มิ.ย. การดำเนินงาน HIA กับชุมชน/ท้องถิ่น กิจกรรม

  4. ผลผลิตจากการประชุมปรึกษาหารือหน่วยงานที่เกี่ยวข้องผลผลิตจากการประชุมปรึกษาหารือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 1. แนวทางการดำเนินงาน HIA ตามกฎหมายที่เกี่ยวข้อง 1.1 รธน. (ร่างกฎหมายจัดตั้งองค์การอิสระด้านสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ) - ความหมายของคำว่า “ผลกระทบต่อชุมชนอย่างรุนแรงด้านสุขภาพ” - รายชื่อกิจการประเภทที่มีผลกระทบต่อชุมชนอย่างรุนแรงด้านสุขภาพ 1.2. พรบ.สวล. - แนวทางการประเมินผลกระทบด้านสุขภาพในรายงาน EIA - รายชื่อผู้แทน กสธ.ใน คชก. - แกนหลักในการประสานเรื่อง EIA 1.3. พรบ.สุขภาพ (อยู่ระหว่างการพิจารณา) 1.4. พรบ. สธ. (พัฒนาต้นแบบการใช้ HIA ตามพรบ.สธ.) 2. แนวทางการดำเนินงาน HIA - การส่งเสริมการใช้ HIA ในระดับชุมชนและท้องถิ่น

  5. สรุปภารกิจ HIAด้านกฎหมาย 1.1 นโยบายสาธารณะ • กำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการติดตามและประเมินผลกระทบด้านสุขภาพที่เกิดจากนโยบายสาธารณะ คสช. คกก.ศึกษาแนวทางตามม.10,11,25(5) 1.2PolicyPlan Program 1. ระดับนโยบาย SEA สผ./อกก. ผู้แทนกรมอ. 2. ระดับโครงการ/กิจกรรม/กิจการ 2.1 โครงการ/กิจกรรมที่มีผลกระทบต่อชุมชนอย่างรุนแรง (คุณภาพสิ่งแวดล้อม ทรัพยากรธรรมชาติ สุขภาพ) คกก.ศึกษาและยกร่างกม.จัดตั้งองค์การอิสระด้านสิ่งแวดล้อม (สส.) - อนุฯ 1 ร่างกม.องค์การอิสระฯ - อนุฯ 2 การมีส่วนร่วมของปชช. 2.2 โครงการทำEIA - พัฒนาแนวทางการประเมินผลกระทบด้านสุขภาพในรายงาน EIA - เป็นฝ่ายเลขาฯ ของกสธ. ผู้แทนกสธ. - นิยามองค์การเอกชนด้านสุขภาพ คกก.กำหนดประเภทโครงการหรือกิจกรรมที่อาจก่อให้เกิดผลกระทบต่อชุมชนอย่างรุนแรง ด้านคุณภาพสิ่งแวดล้อม ทรัพยากรธรรมชาติและสุขภาพ (สผ.) -18ประเภทโครงการ ผู้แทนกรมอ. กรมอ.เจ้าภาพ 2.3 กิจการ/กิจกรรมในพรบสธ. - ความหมายของคำว่า “ผลกระทบต่อชุมชนอย่างรุนแรงด้านสุขภาพ” - กำหนดกิจการอื่น กรมอ.เจ้าภาพ - หลักเกณฑ์การพิจารณากิจการตามกฎหมาย - การออกข้อบัญญัคิท้องถิ่น - การปรับปรุงแก้ไข กม./การกำหนดเรื่องHIA ในกม.

  6. HIA in EIA คณะกรรมการผู้ชำนาญการพิจารณารายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม ผู้ทรงคุณวุฒิ ผู้แทนกระทรวงสาธารณสุข โครงการพัฒนาแหล่งน้ำ (นายปิยะรัตน์ บุตราภรณ์) กรมควบคุมโรค กรมอนามัย โครงการที่พักอาศัย อาคาร อาคารชุด(นายสุคนธ์ เจียสกุล + สว. + สช. ) โครงการอุตสาหกรรม (นพ.กำจัด รามกุล) โครงการสำรวจและ/หรือผลิตปิโตรเลียม (ดร.ทวีสุข พันธุ์เพ็ง) โครงการรัฐ+เอกชนด้านคมนาคม (นพ.พนม พันธ์ศิริ-วัฒนานุกุล) โครงการบริการชุมชน (นายสุคนธ์ เจียสกุล+ศกม+ สว) โครงการเหมืองแร่ (น.ส.ธีชัชบุญญะการกุล) โครงการโครงสร้างพื้นฐาน (ดร.ทวีสุข พันธุ์เพ็ง + สช. ) โครงการพลังงาน (ดร.นพ.สมเกียรติ ศิริรัตนพฤกษ์) โครงการอุตสาหกรรมปิโตรเลียม ปิโตรเคมีและเคมี ศ.ดร.นพ.พรชัย สิทธิศรันย์กุล) โครงการของส่วนราชการร่วมกับเอกชน (น.ส.ธีชัช บุญญะการกุล + สช. ) เลขานุการ -กองสุขาภิบาลชุมชนฯ ทำหน้าที่ 1. ประสาน และติดตามการดำเนินงานของคชก. แต่ละคณะ 2.ร่วมจัดทำแนวทางการประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ 3.จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างคชก.แต่ละคณะ

  7. การพัฒนากระบวน HIA นำไปสู่นโยบายสาธารณะโดยผ่านกระบวนการสมัชชาสุขภาพ...(กสช.) การพัฒนารูปแบบ HIA ของการจัดการขยะมูลฝอยในจังหวัดภูเก็ต โดยชุมชนมีส่วนร่วม เพื่อจัดทำข้อเสนอแนะ... (กสช.) การศึกษาผลกระทบจากกิจการฟาร์มกล้วยไม้จ.ราชบุรี..(ศอ. 4) การศึกษาผลกระทบจากการโครงการพัฒนาแหล่งน้ำมันประดู่เฒ่าตอนใต้ บางระกำ จ.พิษณุโลก.....(ศอ. 9) งานพัฒนาองค์ความรู้ด้าน การประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ

  8. การพัฒนาเครื่องมือ เอกสาร สื่อความรู้เผยแพร่

  9. การพัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศการพัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศ • เป็นศูนย์ความรู้ด้าน HIA • ฐานข้อมูล HIA ประเด็น • ต่างๆ ทั้งใน/ต่างประเทศ • ภาคีเครือข่าย/ • ผู้เชี่ยวชาญ/Best practice • ข่าวสารผลกระทบต่อ • สุขภาพ

  10. ตัวชี้วัดประเด็นยุทธศาสตร์ HIA ด้านการเรียนรู้ 12 พื้นที่ : ชุมชน/ภาคีเครือข่ายผ่านการอบรม ประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ HIA ด้านกระบวนการ 4 พื้นที่ : การมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่าย/มีข้อมูลเชิงประจักษ์ ด้านผลสำเร็จ 2 พื้นที่ : เกิดข้อเสนอแนะ/นโยบายสาธารณะ มาตรการ เชิงประเด็น และพื้นที่/เกิด Best Practice

  11. ผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัดประเด็นยุทธศาสตร์ HIA ร้อยละ (4 แห่ง) (12 แห่ง) (8 แห่ง)

  12. ผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัด HIA ของศูนย์อนามัยที่ 1-12 ศอ.10 ศอ.9 ศอ.6 ศอ.8 ศอ.7 ศอ. 2 ศอ.5 ศอ.4 ศอ.3 ศอ. 1 ศอ.11 ศอ.12

  13. ด้านกระบวนการเป้าหมาย 4 พื้นที่ผลงาน 8 พื้นที่- ศอ. 6,7,8,10,12 - ศอ. 1,2,8,9 ศอ. 6 • แหล่งท่องเที่ยวอุทยานประวัติศาสตร์ภูพระบาท อ.บ้านผือ จ.อุดรธานี • การจัดการขยะมูลฝอย เทศบาลตำบลโพนพิสัย จ.หนองคาย • การจัดการสิ่งปฏิกูล อบต.บ้านค้อ อ.เมือง จ.ขอนแก่น • การจัดการน้ำเพื่อการอุปโภคบริโภคอบต.โนนทัน อ.เมือง จ.ขอนแก่น • โรงสีข้าวขนาดใหญ่ อ.เมือง จ.ขอนแก่น • การปลูกยางพารา จ.เลย • การเลี้ยงปลาในกระชังในแม่น้ำชี อบต.เกิ้ง อ.เมือง จ.มหาสารคาม • ศอ 7การทำนาเกลือ จ.สกลนคร • ศอ 8การใช้สารเคมีในการเกษตร เทศบาลตำบลบางปะมุงนครสวรรค์และ การใช้สารเคมีในการเกษตร อบต.หาดทะนง จ.อุทัยธานี • ศอ 10งานวิจัยกรณีศึกษา Long Term Care ในผู้สูงอายุ วัดห้วยเกี๋ยง อ.สันทราย เชียงใหม่ • ศอ 12 การสร้างบ้านนกนางแอ่น จ.ปัตตานี และการจัดการมูลฝอย ในเขตเทศบาล อ.ปะเหลียน จ.ตรัง

  14. ด้านผลสำเร็จเป้าหมาย 2 พื้นที่ผลงาน 4 พื้นที่- ศอ. 1,2,8,9 • ศอ 1 ประเด็นสารเคมีการเกษตร อบต.บ่อเงิน อ.ลาดหลุมแก้ว จ.ปทุมธานี • ศอ 2 ฝุ่นโรงงานโม่หินหน้าพระลาน เทศบาลตำบลหน้าพระลาน อ.พระพุทธบาท จ.สระบุรี • ศอ 8 การจัดหาพื้นที่กำจัดขยะในชุมชน อบต.ทะนง จ.พิจิตร • ศอ 9 พัฒนาแนวทางการดำเนินงาน HIA ท้องถิ่นของประชาชนริมแม่น้ำวังทอง ต.วังนกแอ่น อ.วังทอง จ.พิษณุโลก

  15. ปัจจัยที่นำไปสู่ความสำเร็จปัจจัยที่นำไปสู่ความสำเร็จ • กฎหมายกำหนด (รธน./พรบ.สวล./พรบ.สุขภาพ) • นโยบายผู้บริหาร • การพัฒนาศักยภาพบุคลากรและภาคีเครือข่าย • การมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายจากทุกภาคส่วน ทั้งในและต่างประเทศ • การพัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศ และWebsite HIA • การเรียนรู้โดยการปฎิบัติจริงในพื้นที่

  16. แนวทางการดำเนินงาน ปีงบประมาณ 2552 16

  17. วิสัยทัศน์ เป็นองค์กรหลักในการพัฒนาการประเมินผลกระทบต่อสุขภาพและเฝ้าระวังสุขภาพด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม 17

  18. เป้าประสงค์ 1.ประชาชนได้รับการคุ้มครองสุขภาพ 2. ภาคีเครือข่ายนำ HIA ไปใช้ใน กระบวนการตัดสินใจ ระดับชุมชน/ท้องถิ่น ระดับโครงการและนโยบาย

  19. วิสัยทัศน์ : เป็นองค์กรหลักในการพัฒนาการประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ เป้าประสงค์ 1. ประชาชนได้รับการคุ้มครองสุขภาพ 2.ภาคีเครือข่ายนำ HIA ไปใช้ในกระบวนการตัดสินใจ ระดับชุมชน/ท้องถิ่น ระดับโครงการและนโยบาย หน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการอนุญาต/อนุมัติ มีความรู้และเข้าใจเรื่อง HIA อปท.นำ HIA ไปใช้เพื่อการคุ้มครองประชาชน เจ้าหน้าที่ สสจ.และ รพ. มีความรู้และทักษะ สามารถให้คำปรึกษาแนะนำเรื่อง HIA ได้ ประสานและสร้างสัมพันธ์กับภาคีเครือข่าย สนับสนุนการใช้เครื่องมือ HIA ตามกฎหมาย การพัฒนาองค์ความรู้ พัฒนาระบบการสื่อสารสาธารณะ การจัดทำแผนแบบมีส่วนร่วมและการถ่ายทอดแผนสู่บุคคล การพัฒนาศักยภาพบุคลากร การจัดการข้อมูลและสารสนเทศ การสร้างบรรยากาศในการทำงาน

  20. กลยุทธ์ในการดำเนินงานกลยุทธ์ในการดำเนินงาน 1.Build Capacity : การพัฒนาสมรรถนะบุคลากร 2.Advocacy : การสร้างความตระหนัก 3. Partnership : การพัฒนาความเข้มแข็งและสร้างการมีส่วนร่วม 4.Regulation: ดำเนินการตามบทบัญญัติของกฎหมาย 5.Investment: พัฒนาระบบงานให้ได้มาตรฐาน 20

  21. มาตรการแนวทางการดำเนินงาน ปี 2552 และตัวชี้วัด ตัวชี้วัด • เทศบาลมีศักยภาพในการนำ HIAไปใช้เพื่อการดำเนินงานในพื้นที่ ทั้งนี้ตามอำนาจหน้าที่ของหน่วยงาน • ร้อยละ 50 ของเทศบาล (600 คน) ได้รับการพัฒนาศักยภาพ • ประชุม/อบรมเพื่อพัฒนาศักยภาพ เรื่องกระบวนการ HIA/บทบาทหน้าที่ตามกฎหมายกำหนด/สิทธิปชช./การประยุกต์ใช้ HIA ในกรณีต่างๆ /การตัดสินใจเชิงนโยบาย/การอนุมัติ/อนุญาต • จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ • ประสานความร่วมมือกับกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น (ทำหลักสูตรรูปแบบการพัฒนาศักยภาพ อปท กำหนดเป้าหมายร่วมกัน) 21

  22. มาตรการ แนวทางการดำเนินงาน ปี 2552 และตัวชี้วัด ตัวชี้วัด • ประชุม/อบรม เรื่องกระบวนการ HIA/บทบาทหน้าที่ตามกฎหมายกำหนด/สิทธิประชาชน/การประยุกต์ใช้ HIA ในกรณีต่างๆ /การทำ HIA ใน EIA • สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด • สสจ. 75 แห่ง มีศักยภาพในการนำ HIA ไปใช้เพื่อการดำเนินงานในพื้นที่ ทั้งนี้ตามอำนาจหน้าที่ของหน่วยงาน • สร้างความเข้าใจในแนวทางการดำเนินงาน HIA และสร้างกระบวนการเรียนรู้ร่วมกัน (โดยส่วนกลาง/ศอ) • พัฒนารูปแบบการพัฒนาศักยภาพ สสจ 22

  23. มาตรการ แนวทางการดำเนินงาน ปี 2552 และตัวชี้วัด ตัวชี้วัด • ประชุมชี้แจง/ชี้แนะ/ให้คำปรึกษา/แนะนำเรื่องการประเมินผลกระทบต่อสุขภาพใน EIA หน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการอนุญาต/อนุมัติมีความรู้และเข้าใจเรื่อง HIA • พัฒนาแนวทางการประเมินผลกระทบต่อสุขภาพใน EIA บริษัทที่ปรึกษามีความรู้และเข้าใจในการประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ • ประสาน สผ. ในการชี้แจงบริษัทที่ปรึกษา 23

  24. มาตรการ แนวทางการดำเนินงาน ปี 2552 และตัวชี้วัด ตัวชี้วัด • การให้ความรู้กับประชาชนด้านสิทธิ/ความรู้ • HIAอย่างง่าย • การพัฒนาองค์ความรู้ • รูปแบบการประเมินผลกระทบต่อสุขภาพในพื้นที่เป้าหมาย • (อย่างน้อย ศอ.ละ • 1 รูปแบบ) • การใช้ HIAในการส่งเสริมสุขภาพ • - การพัฒนา รพ.ส่งเสริมฯกับผลกระทบของผู้มีส่วน • ได้ส่วนเสีย (ศอ 6) • การใช้ HIA ในการทำ EIA • (Guideline กลาง เขื่อน เหมือง พลังงาน) • HIA ในการกำหนดนโยบาย/แผนงาน /โครงการ • - การพัฒนาการเกษตรไร่มันสำปะหลัง (ศอ 7) • - มูลฝอยติดเชื้อ (ศอ 8) • - การจัดการน้ำสะอาด (ศอ 12) 24

  25. มาตรการ แนวทางการดำเนินงาน ปี 2552 และตัวชี้วัด ตัวชี้วัด • การใช้ HIAตาม พรบ สธ • การจัดการมูลฝอยตลาดสดน่าซื้อ/ • เทศบาลน่าอยู่ (ศอ 1) • โรงงานผลิตต้นแบบแม่สี/ฝุ่นหน้า • พระลาน/ต่อเนื่อง (ศอ 2) • โรงไฟฟ้า (ศอ 3) • สิ่งปฎิกูล (ศอ 5) • มูลฝอยติดเชื้อ (ศอ 6, 12) • เหมืองเกลือสินเธาว์/สิ่งปฎิกูล (ศอ 7) รูปแบบการประเมินผลกระทบต่อสุขภาพในพื้นที่เป้าหมาย (ต่อ) 25

  26. มาตรการ แนวทางการดำเนินงาน ปี 2552 และตัวชี้วัด ตัวชี้วัด • ศูนย์อนามัย/ส่วนกลาง • บุคลากร(กสช./ศอ.) ไดัรับการพัฒนาศักยภาพด้าน HIA/เฝ้าระวัง • ศอ.มีความรู้และสามารถให้คำแนะนำในการทำ HIAได้ • บุคลากรในหน่วยงานส่วนกลาง(สายว.)ได้รับการพัฒนาศักยภาพ • (อย่างน้อย 3 หลักสูตร*) • การพัฒนาหลักสูตรการฝึกอบรม • การอบรมหลักสูตร • - Pre-training course ในการประชุมHIA 2008 จ.เชียงใหม่ • - EHIA • - Risk Assessment* • - การเฝ้าระวัง* • - ระบาดวิทยาสิ่งแวดล้อม* • การศึกษาดูงาน/ศึกษาต่อ 26

  27. มาตรการ แนวทางการดำเนินงาน ปี 2552 และตัวชี้วัด ตัวชี้วัด พื้นที่นำร่อง • การเฝ้าระวังสุขภาพด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม • ระบบเฝ้าระวังในภาพรวม • ระบบเฝ้าระวังเฉพาะพื้นที่ • ฟลูออไรด์ในน้ำดื่ม • (ศอ 9, ส.อาหาร) • มลพิษอากาศ • (ศอ 2, 4, 10) • มาบตาพุด (ศอ 3) 27

  28. มาตรการ แนวทางการดำเนินงาน ปี 2552 และตัวชี้วัด ตัวชี้วัด ส่วนกลาง • การพัฒนาคลังข้อมูล • คลังข้อมูลส่วนกลาง • คลังข้อมูลระดับ ศอ • พัฒนาข้อมูลด้านองค์ความรู้ HIA กรณีต่างๆ/ผลกระทบต่อสุขภาพที่เชื่อมโยงกับปัญหา สวล/สุขภาพ/สถานการณ์สำคัญของประเทศ/สถานการณ์ในพื้นที่เสี่ยง/การเชื่อมโยงข้อมูลในพื้นที่/หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ศูนย์อนามัย • พัฒนาข้อมูล • สถานการณ์ในพื้นที่/พื้นที่เสี่ยง • ภาคีเครือข่าย 28

  29. มาตรการ แนวทางการดำเนินงาน ปี 2552 และตัวชี้วัด ตัวชี้วัด การพัฒนาศูนย์อนามัยเป็น Exellence Center ด้าน HIA/การเฝ้าระวัง (เป้าหมาย ปี 2554) • ปี 2552 เตรียมการ ในเรื่อง • การพัฒนาบุคลากร • การจัดหาเครื่องมือ วัสดุ • อุปกรณ์ • ศอ.พิจารณาความพร้อมใน • การเป็น Exellence Center • ด้านใด 29

More Related