1 / 35

การจัดการความรู้ ( Knowledge Management : KM)

การจัดการความรู้ ( Knowledge Management : KM). ประวัติวิทยากร. ดร.ประมา ศาสตระรุจิ ประวัติการศึกษา : ปริญญาเอก คณะศึกษาศาสตร์ สาขา การศึกษาผู้ใหญ่ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปริญญาโท บริหารธุรกิจ สาขา การจัดการ City University, USA

Télécharger la présentation

การจัดการความรู้ ( Knowledge Management : KM)

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การจัดการความรู้ (Knowledge Management : KM)

  2. ประวัติวิทยากร • ดร.ประมา ศาสตระรุจิ • ประวัติการศึกษา : ปริญญาเอก คณะศึกษาศาสตร์ สาขา การศึกษาผู้ใหญ่ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ • ปริญญาโท บริหารธุรกิจ สาขา การจัดการ City University, USA • ปริญญาตรี บริหารธุรกิจ สาขา การจัดการและการตลาด City University, USA • ตำแหน่งปัจจุบัน • อาจารย์ประจำวิทยาลัยนวัตกรรมสื่อสารสังคม มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ • วิทยากรบรรยายด้านบริหารองค์กร บริหารทรัพยากรบุคคลให้กับหน่วยงานภาครัฐ รัฐวิสาหกิจ และเอกชน ต่าง ๆ • วิทยากรบรรยาย และที่ปรึกษา เรื่อง PMQA ให้กับหน่วยงานภาครัฐ • เบอร์ติดต่อ : 089-111-4082

  3. เมื่อพูดถึงคำว่า “ความรู้” ท่านนึกถึงอะไร?

  4. นิยาม ความรู้ ความรู้ คือ สิ่งที่สั่งสมมาจากการศึกษาเล่าเรียน การค้นคว้า หรือประสบการณ์ รวมทั้งความสามารถเชิงปฏิบัติและทักษะ ความเข้าใจ หรือ สารสนเทศที่ได้รับมาจากประสบการณ์ สิ่งที่ ได้รับมาจากการได้ยิน ได้ฟัง การคิดหรือการปฏิบัติ องค์วิชา ในแต่ละสาขา (พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๔๒)

  5. นิยาม ความรู้ ความรู้คือ สารสนเทศที่ผ่านกระบวนการคิด เปรียบเทียบ เชื่อมโยงกับความรู้อื่น จนเกิดเป็น ความเข้าใจและนำไปใช้ประโยชน์ในการสรุปและ ตัดสินใจในสถานการณ์ต่าง ๆ โดยไม่จำกัดช่วงเวลา (Hideo Yamazaki)

  6. คุณค่าของ “ความรู้ ” ความรู้เป็นสินทรัพย์ ใช้แล้วไม่มีวันหมด ยิ่งใช้ยิ่งเพิ่ม ยิ่งใช้มากเท่าไร ยิ่งมีคุณค่าเพิ่มมากขึ้น

  7. ยุคที่ 1 โดยนักวิชาการ เน้นเหตุผล พิสูจน์ได้ เป็นนักวิทยาศาสตร์ ครอบคลุมเฉพาะสาขา เน้น explicit K ยุคที่ 2 โดยผู้ปฏิบัติ เน้นประสบการณ์ตรง เน้นผลลัพธ์ที่งาน คน บูรณาการ เน้น tacit K ความรู้ 2 ยุค เสริมกัน

  8. ความรู้ มี2ประเภท ความรู้ที่ชัดแจ้ง (Explicit Knowledge) อธิบายได้ แต่ยังไม่ถูกนำไปบันทึก 1 อธิบายได้ แต่ไม่อยากอธิบาย อธิบายไม่ได้ 2 3 ความรู้ที่ฝังอยู่ในคน(Tacit Knowledge) Tomohiro Takanashi 9

  9. ความรู้ มี2ประเภท ความรู้ที่ชัดแจ้ง (Explicit Knowledge– เป็นความรู้ที่เป็นเหตุเป็นผล สามารถรวบรวมและถ่ายทอดออกมาในรูปแบบต่างๆ ได้ เช่น หนังสือ คู่มือ เอกสาร และรายงานต่างๆ ตลอดจนคนสามารถเข้าถึงได้ง่าย) 1 2 3 อธิบายได้ แต่ยังไม่ถูกนำไปบันทึก อธิบายได้ แต่ไม่อยากอธิบาย อธิบายไม่ได้ ความรู้ที่ฝังอยู่ในคน( Tacit Knowledge–เป็นความรู้ที่อยู่ในตัวคนแต่ละคน เกิดจากประสบการณ์ การเรียนรู้ หรือพรสวรรค์ ซึ่งถ่ายทอดออกมาเป็นเอกสาร ลายลักษณ์อักษรได้ยาก สามารถแบ่งปันกันได้ เป็นความรู้ทีทำให้เกิดการได้เปรียบในการแข่งขัน Tomohiro Takanashi

  10. ความรู้ที่ชัดแจ้ง (Explicit Knowledge) ความรู้ที่ฝังอยู่ในคน(Tacit Knowledge) การถ่ายเทความรู้ เอกสาร(Document) – กฎ ระเบียบ(Rule), วิธีปฏิบัติงาน(Practice) ระบบ(System) สื่อต่างๆ – วีซีดี ดีวีดี เทปInternet ทักษะ(Skill) ประสบการณ์(Experience) ความคิด(Mind of individual) พรสวรรค์(Talent)

  11. วงจรความรู้(Knowledge Spiral: SECI Model) ความรู้ที่ฝังอยู่ในคน(Tacit Knowledge) ความรู้ที่ฝังอยู่ในคน(Tacit Knowledge) Socialization Externalization ความรู้ที่ชัดแจ้ง ( Explicit Knowledge ) Combination Internalization ความรู้ที่ชัดแจ้ง (Explicit Knowledge) ( อ้างอิงจาก: Nonaka & Takeuchi )

  12. Socialization การแบ่งปันและสร้างความรู้ จาก Tacit Knowledgeไปสู่ Tacit Knowledge โดยแลกเปลี่ยนประสบการณ์ตรงของผู้ที่สื่อสารระหว่างกัน

  13. Externalization การสร้างและแบ่งปันความรู้จากการแปลง Tacit Knowledge เป็น Explicit Knowledge โดยเผยแพร่ออกมาเป็นลายลักษณ์อักษร

  14. Combination การแบ่งปันและสร้างความรู้ จาก Explicit Knowledge ไปสู่Explicit Knowledge โดยรวบรวมความรู้ประเภท Explicitที่เรียนรู้ มาสร้าง เป็นความรู้ประเภท Explicitใหม่ๆ

  15. Internalization การแบ่งปันและสร้างความรู้ จากExplicit Knowledgeไปสู่Tacit Knowledge โดยมักจะเกิดจาก การนำความรู้ที่เรียนรู้มาไปปฏิบัติจริง

  16. องค์ประกอบสำคัญของวงจรความรู้องค์ประกอบสำคัญของวงจรความรู้ • คนถือว่าเป็นองค์ประกอบที่สำคัญที่สุด • - เป็นแหล่งความรู้ • - เป็นผู้นำความรู้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์ 2. เทคโนโลยีเป็นเครื่องมือเพื่อให้คนสามารถค้นหา จัดเก็บแลกเปลี่ยน นำความรู้ไปใช้ได้อย่างง่ายและรวดเร็วขึ้น 3. กระบวนการความรู้เป็นการบริหารจัดการเพื่อนำความรู้จากแหล่งความรู้ไปให้ผู้ใช้ เพื่อทำให้เกิดการปรับปรุงและนวัตกรรม

  17. แหล่งเก็บความรู้ในองค์กร(คลังความรู้)แหล่งเก็บความรู้ในองค์กร(คลังความรู้) ฐานข้อมูลความรู้(Knowledge Base ,IT) สมองของพนักงาน 12% Electronic 42% 20% 26% เอกสาร (กระดาษ) Source: Survey of 400 Executives by Delphi

  18. ยกระดับคุณภาพและมาตรฐานการให้บริการยกระดับคุณภาพและมาตรฐานการให้บริการ ผลักดันให้เกิดการสร้างนวัตกรรม เพิ่มประสิทธิภาพในการทำงาน ช่วยให้เกิดการเรียนรู้และพัฒนาบุคลากร เรียนรู้เกี่ยวกับความต้องการของผู้ใช้บริการได้ดีขึ้นและเร็วขึ้น จุดประสงค์การทำKM BSI Study: KM in Public Sector

  19. ตัวอย่างเป้าหมายในการจัดการความรู้ตัวอย่างเป้าหมายในการจัดการความรู้ แบ่งปันความรู้ และการปฏิบัติที่เป็นเลิศ ปลูกฝังความรับผิดชอบ ในการแบ่งปันความรู้ ทำให้ความรู้เป็น ทรัพย์สินที่มีความสำคัญ นำประสบการณ์ ในอดีตมาใช้ให้เป็น ประโยชน์ มีความเข้าใจและ วัดคุณค่าของความรู้ จัดทำฐานความรู้ เกี่ยวกับลูกค้า นำความรู้ประยุกต์เข้าไปใน ผลิตภัณฑ์ การบริการ และกระบวนการ Spansion ผลักดันให้มีการสร้าง ความรู้เพื่อนวตกรรม จัดทำเครือข่าย ผู้เชี่ยวชาญ ผลิตความรู้เสมือน เป็นผลิตภัณฑ์ Source: Robert Osterhoff

  20. การจัดการความรู้เป็นทักษะการจัดการความรู้เป็นทักษะ ไม่ใช่ความรู้เชิงทฤษฎี ไม่ทำ ไม่รู้ ฟังการบรรยาย ทำไม่เป็น คนระดับล่างผ่านการฝึก ทำได้ อธิบายไม่ได้

  21. การจัดการความรู้ (Knowledge Management : KM) หมายถึง ความสามารถในการจัดการความรู้ ประกอบด้วย การสร้างความรู้ การประมวล การแลกเปลี่ยนและสนับสนุนกระบวนการเรียนรู้ และการสร้างนวัตกรรมใหม่ให้เกิดขึ้นในหน่วยงาน การจัดการความรู้ หรือ Knowledge Management : KMคือ การรวบรวมความรู้ที่มีอยู่กระจัดกระจายในองค์กร และนำมาจัดระบบ พัฒนาให้มีความทันสมัยอยู่เสมอ รวมถึงจัดช่องทางการเข้าถึงให้สะดวก รวดเร็ว ทั่วถึง เพื่อให้บุคลากรนำความรู้ ไปพัฒนาการปฏิบัติงานให้มีประสิทธิภาพสูงสุด

  22. ประโยชน์ของการจัดการความรู้ การจัดการความรู้ที่ดีจะช่วยให้องค์กร • ปรับปรุงประสิทธิภาพ และเพิ่มผลผลิต ให้กับทุกภาคส่วนขององค์กร • สร้างนวัตกรรมและการเรียนรู้รวมถึงการส่งเสริมให้แสดงความคิดเห็นและแลกเปลี่ยนความรู้ได้อย่างเต็มที่ • เพิ่มคุณภาพและลดรอบเวลาในการให้บริการ • ลดค่าใช้จ่าย โดยกำจัดกระบวนการที่ไม่สร้างคุณค่าให้กับงาน • ให้ความสำคัญกับความรู้ของพนักงานและให้ค่าตอบแทนและรางวัลที่เหมาะสม

  23. Effective Knowledge Management • 80% - Organizational processes and human factors • 20% - Technology PEOPLE ORGANIZATIONAL PROCESSES OVERLAPPING FACTORS TECHNOLOGY

  24. การจัดการความรู้ในองค์กรการจัดการความรู้ในองค์กร 7. การเรียนรู้ (Learning) 1. การบ่งชี้ความรู้ (Knowledge Identification) 6. การแบ่งปันแลกเปลี่ยนความรู้ (Knowledge Sharing) 5. การเข้าถึงความรู้ (Knowledge Access) 4. การประมวลและ กลั่นกรองความรู้ (Knowledge Codification and Refinement) 2. การสร้างและแสวงหาความรู้ (Knowledge Creation and Acquisition) 3. การจัดความรู้ให้เป็นระบบ (Knowledge Organization)

  25. 2. การสร้างและแสวงหาความรู้ (Knowledge Creation and Acquisition) 3. การจัดความรู้ให้เป็นระบบ(Knowledge Organization) 4. การประมวลและกลั่นกรองความรู้ (Knowledge Codification and Refinement) 5. การเข้าถึงความรู้ (Knowledge Access) 6. การแบ่งปันแลกเปลี่ยนความรู้ (Knowledge Sharing) 7. การเรียนรู้ (Learning) กระบวนการจัดการความรู้(Knowledge Management Process) 1. การบ่งชี้ความรู้ (Knowledge Identification) เราต้องมีความรู้เรื่องอะไร เรามีความรู้เรื่องนั้นหรือยัง ความรู้อยู่ที่ใคร อยู่ในรูปแบบอะไร จะเอามาเก็บรวมกันได้อย่างไร จะแบ่งประเภท หัวข้ออย่างไร จะทำให้เข้าใจง่ายและสมบูรณ์อย่างไร เรานำความรู้มาใช้งานได้ง่ายหรือไม่ มีการแบ่งปันความรู้ให้กันหรือไม่ ความรู้นั้นทำให้เกิดประโยชน์กับองค์กรหรือไม่ทำให้องค์กรดีขึ้นหรือไม่

  26. กระบวนการจัดการความรู้(Knowledge Management Process) เราต้องมีความรู้เรื่องอะไร เรามีความรู้เรื่องนั้นหรือยัง 1. การบ่งชี้ความรู้ (Knowledge Identification) - การบ่งชี้ความรู้ที่องค์กรจำเป็นต้องมี - วิเคราะห์รูปแบบและแหล่งความรู้ที่มีอยู่ ความรู้อยู่ที่ใคร อยู่ในรูปแบบอะไร จะเอามาเก็บรวมกันได้อย่างไร 2. การสร้างและแสวงหาความรู้ (Knowledge Creation and Acquisition) - สร้างและแสวงหาความรู้จากแหล่งต่าง ๆ ที่กระจัดกระจายทั้งภายใน/ภายนอก เพื่อจัดทำเนื้อหาให้ตรงกับความต้องการ

  27. กระบวนการจัดการความรู้ (Knowledge Management Process) • 3. การจัดความรู้ให้เป็นระบบ • (Knowledge Organization) • แบ่งชนิดและประเภทของความรู้ เพื่อจัดทำระบบให้ง่ายและสะดวกต่อการค้นหาและใช้งาน จะแบ่งประเภท หัวข้ออย่างไร • 4. การประมวลและกลั่นกรองความรู้ • (Knowledge Codification and Refinement) • จัดทำรูปแบบและ “ภาษา”ให้เป็นมาตรฐานเดียวกันทั่วทั้งองค์กร • เรียบเรียงปรับปรุงเนื้อหาให้ทันสมัยและตรงกับความต้องการ จะทำให้เข้าใจง่ายและสมบูรณ์อย่างไร

  28. กระบวนการจัดการความรู้ (Knowledge Management Process) • 5. การเข้าถึงความรู้ • (Knowledge Access) • ความสามารถในการเข้าถึงความรู้ได้อย่างสะดวก รวดเร็ว ในเวลาที่ต้องการ เรานำความรู้มาใช้งานได้ง่ายหรือไม่

  29. กระบวนการจัดการความรู้(Knowledge Management Process) • 6. การแบ่งปันแลกเปลี่ยนความรู้ • (Knowledge Sharing) • การจัดทำเอกสาร การจัดทำฐานความรู้ ชุมชนนักปฏิบัติ (CoP) • ระบบพี่เลี้ยง (Mentoring System) • การสับเปลี่ยนงาน (Job Rotation) มีการแบ่งปันความรู้ให้กันหรือไม่ ความรู้นั้นทำให้เกิดประโยชน์กับองค์กรหรือไม่ ทำให้องค์กรดีขึ้นหรือไม่ • 7. การเรียนรู้ • (Learning) • นำความรู้ไปใช้ประโยชน์ในการตัดสินใจ • แก้ปัญหาและปรับปรุงองค์กร

  30. ทำอย่างไรให้กระบวนการจัดการความรู้ “มีชีวิต” • รู้ว่าจะทำอะไร • ทำแล้ว ตัวเองได้ประโยชน์อะไร คน ต้อง “อยาก” ทำ คน ต้องมีทรัพยากรที่จำเป็น (เครื่องมือ ฯลฯ) คน ต้องรู้ว่าทำอย่างไร (ฝึกอบรม, เรียนรู้) คน ต้องประเมินได้ว่าทำได้ตามเป้าหมายหรือ ทำแล้วได้ประโยชน์หรือไม่ คน ต้อง “อยาก” ทำ และปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง (มีแรงจูงใจ)

  31. กลุ่มตัวอย่าง : 160 คน สำรวจเมื่อ : กรกฏาคม 2548

  32. ปัจจัยแห่งความสำเร็จ • ผู้บริหาร • บรรยากาศและวัฒนธรรมองค์กร • การสื่อสาร • เทคโนโลยีที่เข้ากับพฤติกรรมและการทำงาน • การให้ความรู้เรื่องการจัดการความรู้และการใช้เทคโนโลยี • แผนงานชัดเจน • การประเมินผลโดยใช้ตัวชี้วัด • การสร้างแรงจูงใจ

  33. พระราชกฤษฎีกาว่าด้วย หลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 “ มาตรา 11 ส่วนราชการมีหน้าที่พัฒนาความรู้ในส่วนราชการ เพื่อให้มีลักษณะเป็น องค์การแห่งการเรียนรู้อย่างสม่ำเสมอ โดยต้องรับรู้ข้อมูลข่าวสารและสามารถ ประมวลผลความรู้ในด้านต่างๆ เพื่อนำมาประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติราชการได้อย่างถูกต้อง รวดเร็ว และเหมาะสมต่อสถานการณ์ รวมทั้งต้องส่งเสริมและพัฒนาความรู้ ความสามารถสร้างวิสัยทัศน์และปรับเปลี่ยนทัศนคติของข้าราชการในสังกัด ให้เป็นบุคลากรที่มีประสิทธิภาพและมีการเรียนรู้ร่วมกัน...”

  34. KM Knowledge Management LO Learning Organization to

  35. Q & A

More Related