1 / 44

ต้นทุนการผลิต ( Cost of Production )

ต้นทุนการผลิต ( Cost of Production ). ต้นทุนชัดแจ้ง (Explicit Cost). ต้นทุนที่เกิดขึ้นจริงและมีการจ่ายจริงทั้งเป็น ตัวเงินหรือสิ่งของ ต้นทุนทางบัญชี (Accounting Cost). ต้นทุนไม่ชัดแจ้ง / ต้นทุนแอบแฝง (Implicit Cost).

Télécharger la présentation

ต้นทุนการผลิต ( Cost of Production )

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ต้นทุนการผลิต (Cost of Production)

  2. ต้นทุนชัดแจ้ง(Explicit Cost) • ต้นทุนที่เกิดขึ้นจริงและมีการจ่ายจริงทั้งเป็นตัวเงินหรือสิ่งของ • ต้นทุนทางบัญชี(Accounting Cost)

  3. ต้นทุนไม่ชัดแจ้ง / ต้นทุนแอบแฝง(Implicit Cost) • ต้นทุนที่ไม่ได้จ่ายออกไปจริงๆแต่ได้ประเมินขึ้นเป็นต้นทุนซึ่งอยู่ในรูปของ“ต้นทุนค่าเสียโอกาส”ของปัจจัยการผลิตที่นำมาผลิตสินค้า

  4. ต้นทุนทางบัญชี = ต้นทุนชัดแจ้ง ต้นทุนทางเศรษฐศาสตร์ = ต้นทุนชัดแจ้ง + ต้นทุนแอบแฝง

  5. ต้นทุนของเอกชนหรือต้นทุนภายในต้นทุนของเอกชนหรือต้นทุนภายใน (Private Cost or Internal Cost) • ต้นทุนทุกชนิดที่ผู้ผลิตใช้จ่ายในการผลิตสินค้าและบริการ ทั้งที่จ่ายจริงและไม่ได้จ่ายจริง • ต้นทุนทางเศรษฐศาสตร์

  6. ต้นทุนของสังคม (Social Cost) • ต้นทุนทุกชนิดที่เกิดจากการผลิตสินค้าและบริการชนิดใดชนิดหนึ่งที่สังคมต้องรับภาระ Social Cost = Private Cost + External Cost ต้นทุนภายนอก(External Cost) • ต้นทุนที่บุคคลอื่นที่ไม่ได้เกี่ยวข้องกับการผลิตสินค้าและบริการนั้นต้องภาระ

  7. โรงงานน้ำตาล ต้นทุนการผลิตน้ำตาลจากอ้อย เครื่องบำบัดน้ำเสีย ไม่มี มี ต้นทุนเอกชน 50 60 ต้นทุนภายนอก 20 - ต้นทุนของสังคม 70 60

  8. ต้นทุนระยะสั้น(Short Run Cost) ต้นทุนคงที่รวม(Total Fixed Cost :TFC) • ต้นทุนที่ไม่เปลี่ยนแปลงตามปริมาณการผลิต ต้นทุนแปรผันรวม(Total Variable Cost :TVC) • ต้นทุนที่เปลี่ยนแปลงตามปริมาณการผลิต ต้นทุนรวม(Total Cost :TC) TC = f ( Q ) TC = TVC + TFC

  9. ต้นทุนรวมเฉลี่ย (Average Total Cost :AC) • ต้นทุนรวมคิดเฉลี่ยต่อผลผลิต 1 หน่วย [ TC = f ( Q ) ] TFC + TVC TC TC = AFC + AVC = AC = AC = Q Q Q TVC TFC + = Q Q = AFC + AVC

  10. ต้นทุนคงที่เฉลี่ย (Average Fixed Cost :AFC) • ต้นทุนคงที่รวมคิดเฉลี่ยต่อผลผลิต 1 หน่วย TFC TVC AFC = AVC = ต้นทุนแปรผันเฉลี่ย(Average Variable Cost :AVC) Q Q • ต้นทุนแปรผันรวมคิดเฉลี่ยต่อผลผลิต 1 หน่วย

  11. ต้นทุนส่วนเพิ่มหรือต้นทุนหน่วยสุดท้ายต้นทุนส่วนเพิ่มหรือต้นทุนหน่วยสุดท้าย (Marginal Cost :MC) • ต้นทุนที่เพิ่มขึ้นจากการผลิตสินค้าเพิ่มขึ้น1หน่วย TC Q MC = TC = f ( Q )

  12.  (TFC + TVC) = Q 0 ; TFC คงที่ TFC + TVC = TC Q Q Q  TVC = MC = Q TC  TVC MC = = Q Q

  13. Q TFC TVC TC MC AFC AVC AC 0 100 0 100 - - - - 1 100 50 150 50 100 50 150 2 100 84 184 34 50 42 92 3 100 108 208 24 33 36 69 4 100 127 227 19 25 32 57 5 100 150 250 23 20 30 50 6 100 180 280 30 17 30 47 7 100 218 318 38 14 31 45 8 100 266 366 48 13 33 46 9 100 325 425 59 11 36 47 10 100 400 500 75 10 40 50

  14. ต้นทุน (บาท) TC TC = TVC + TFC TVC = = 100 TFC ผลผลิต (หน่วย) 0

  15. ต้นทุน (บาท) MC ผลผลิต (หน่วย) 0

  16. ต้นทุน (บาท) TFC AFC = Q AFC ผลผลิต (หน่วย) 0

  17. ต้นทุน (บาท) MC จุดต่ำสุดของ AC AC AFC AVC AFC จุดต่ำสุดของ AVC ผลผลิต (หน่วย) 0

  18. ความสัมพันธ์ระหว่างMCและ AVC(AC) • ถ้าMCอยู่ต่ำกว่าAVC (AC)ค่าAVC(AC)จะลดลงเมื่อปริมาณการผลิตเพิ่มขึ้น • ถ้าMCอยู่เหนือAVC(AC)ค่าAVC(AC)จะเพิ่มขึ้นเมื่อปริมาณการผลิตเพิ่มขึ้น • MC = AVC(AC)เมื่อAVC(AC)มีค่าต่ำสุด บาท MC AC AVC Q

  19. ต้นทุนระยะยาว(Long Run Cost) ต้นทุนรวมในระยะยาว (Long Run Total Cost : LTC) • ต้นทุนทั้งหมดที่เกิดขึ้นจากการผลิตสินค้าซึ่งจะเปลี่ยนแปลงตามปริมาณการผลิต ถ้าไม่ผลิต : ต้นทุนเป็น “ศูนย์”

  20. ต้นทุน (บาท) LTC ผลผลิต (หน่วย) 0

  21. ต้นทุนเฉลี่ยในระยะยาวต้นทุนเฉลี่ยในระยะยาว (Long Run Average Cost :LAC) • ต้นทุนทั้งหมดที่เกิดขึ้นในการผลิตระยะยาวคิดเฉลี่ยต่อหนึ่งหน่วยของผลผลิต LTC LAC = Q

  22. ต้นทุน (บาท) LAC ผลผลิต (หน่วย) 0 SAC1 SAC3 SAC2 X1 X3 X2

  23. ต้นทุนส่วนเพิ่มในระยะยาวต้นทุนส่วนเพิ่มในระยะยาว (Long Run Marginal Cost :LMC) • ต้นทุนที่เพิ่มขึ้นจากการผลิตสินค้าเพิ่มขึ้น1หน่วย LTC LMC = Q

  24. ต้นทุน (บาท) LMC LAC จุดต่ำสุดของ LAC ผลผลิต (หน่วย) 0

  25. รายรับจากการขาย(Revenue)

  26. รายรับจากการขายหรือรายรับจากการผลิตรายรับจากการขายหรือรายรับจากการผลิต • รายได้ที่ผู้ผลิตได้รับจากการขายผลผลิตของตนตามราคาตลาด

  27. รายรับรวม (Total Revenue :TR) • รายรับทั้งหมดที่ผู้ขายได้รับจากการขายสินค้าตามราคาที่กำหนด TR = f (Q) = P x Q เมื่อ P คือ ราคาต่อหน่วย Qคือ ปริมาณขาย

  28. รายรับเฉลี่ย (Average Revenue : AR) • รายรับรวมเฉลี่ยต่อหน่วยสินค้า P x Q = P P = = TR TR Q AR = AR = Q Q

  29. รายรับหน่วยสุดท้ายหรือรายรับส่วนเพิ่มรายรับหน่วยสุดท้ายหรือรายรับส่วนเพิ่ม (Marginal Revenue : MR) • รายรับรวมที่เพิ่มขึ้นจากการขายสินค้าเพิ่มขึ้น1หน่วย MR = TR Q

  30. ราคา(P) ปริมาณ (Q) TR AR MR 10 1 10 10 10 9 2 18 9 8 8 3 24 8 6 7 4 28 7 4 6 5 30 6 2 5 6 30 5 0 4 7 28 4 - 2

  31. รายรับ (บาท) 30 TR 25 20 15 10 AR 5 0 Q (หน่วย) 1 2 4 5 6 7 3 MR - 5 เส้นอุปสงค์ AR = P

  32. ความสัมพันธ์ระหว่างTR, ARและMR • ในช่วงที่MR > 0TRจะมีค่าเพิ่มขึ้นเมื่อปริมาณขายเพิ่มขึ้น • ในช่วงที่MR = 0TRจะมีค่าสูงสุด • MRและARจะมีค่าที่ลดลงเรื่อยๆเมื่อปริมาณขายเพิ่มขึ้นแต่MRจะมีค่าที่น้อยกว่าARเสมอ

  33. ดุลยภาพของผู้ผลิต

  34. เป้าหมายของผู้ผลิต กำไรสูงสุด ดุลยภาพของผู้ผลิต

  35. กำไร(Profit) กำไร = TR – TC กำไรทางเศรษฐศาสตร์ = TR – ต้นทุนชัดแจ้ง – ต้นทุนแอบแฝง

  36. ถ้า TR = TC กำไรปกติ (Normal Profit) กำไร = “ศูนย์” กำไรแท้จริง หรือกำไรทางเศรษฐศาสตร์ (Economic Profit) ถ้า TR > TC กำไร > “ศูนย์” ขาดทุน หรือกำไรที่ต่ำกว่ากำไรปกติ (Economic Loss) ถ้า TR < TC กำไร < “ศูนย์”

  37. นางสาวแดงเป็นพนักงานของบริษัทแห่งหนึ่งซึ่งได้รับเงินเดือนคิดแล้วได้ปีละ50,000บาทต่อมาแดงลาออกแล้วมาเปิดร้านอาหารโดยเอาตึกแถวที่ตนเองเคยให้คนอื่นเช่าปีละ20,000บาทมาเป็นร้านอาหารในปีนั้นแดงได้รายได้ทั้งหมด500,000บาทแต่ต้องเสียค่าจ้างพนักงานเสริฟและวัสดุอุปกรณ์ต่างๆเป็นจำนวน350,000บาทและ50,000บาทตามลำดับนางสาวแดงได้รับกำไรประเภทใดในทางเศรษฐศาสตร์นางสาวแดงเป็นพนักงานของบริษัทแห่งหนึ่งซึ่งได้รับเงินเดือนคิดแล้วได้ปีละ50,000บาทต่อมาแดงลาออกแล้วมาเปิดร้านอาหารโดยเอาตึกแถวที่ตนเองเคยให้คนอื่นเช่าปีละ20,000บาทมาเป็นร้านอาหารในปีนั้นแดงได้รายได้ทั้งหมด500,000บาทแต่ต้องเสียค่าจ้างพนักงานเสริฟและวัสดุอุปกรณ์ต่างๆเป็นจำนวน350,000บาทและ50,000บาทตามลำดับนางสาวแดงได้รับกำไรประเภทใดในทางเศรษฐศาสตร์

  38. รายการ บัญชี เศรษฐศาสตร์ รายได้ 500,000 500,000 หักต้นทุนชัดแจ้ง - ค่าจ้าง 350,000 350,000 - อุปกรณ์ 50,000 50,000 หักต้นทุนแอบแฝง - เงินเดือนที่ควรได้ - 50,000 - เงินค่าเช่า - 20,000 กำไร 100,000 30,000

  39. เงื่อนไขการเกิดกำไรสูงสุดเงื่อนไขการเกิดกำไรสูงสุด สมมติ ผู้ผลิตรายหนึ่งพบว่าสินค้าของเขาสามารถขายได้ในราคาชิ้นละ70บาทและมีต้นทุนการผลิต ดังตาราง

  40. Q TR TC Profit MR MC 0 0 100 - 100 - - 1 70 145 - 75 70 45 2 140 174 - 34 70 29 3 210 193 17 70 19 4 280 207 73 70 14 5 350 225 125 70 18 6 420 250 170 70 25 7 490 283 207 70 33 8 560 326 234 70 43 9 630 380 250 70 54 10 700 450 250 70 70 11 770 540 230 70 90 12 840 652 188 70 112

  41. บาท TC กำไรรวมสูงสุด TR b a ปริมาณ (Q) 10

  42. บาท MC 70 MR ปริมาณ (Q) 10

  43. บาท TC กำไรรวมสูงสุด TR ปริมาณ (Q) Q

  44. บาท MC ปริมาณ (Q) Q MR

More Related