1 / 10

MRCF system กับการพัฒนาการผลิตแตงโมหาดสำราญ ปี 2557

MRCF system กับการพัฒนาการผลิตแตงโมหาดสำราญ ปี 2557. โดย สำนักงานเกษตรอำเภอหาดสำราญ หมู่ที่ 9 ตำบลหาดสำราญ อำเภอหาดสำราญ จังหวัดตรัง รหัสไปรษณีย์ 92120 โทรศัพท์ 0-7520-8785 E-mail: trg_hatsamran@doae.go.th http://hatsamran.trang.doae.go.th/. สถานการณ์การผลิตแตงโมอำเภอหาดสำราญ.

colton
Télécharger la présentation

MRCF system กับการพัฒนาการผลิตแตงโมหาดสำราญ ปี 2557

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. MRCF systemกับการพัฒนาการผลิตแตงโมหาดสำราญ ปี 2557 โดย สำนักงานเกษตรอำเภอหาดสำราญ หมู่ที่ 9 ตำบลหาดสำราญ อำเภอหาดสำราญ จังหวัดตรัง รหัสไปรษณีย์ 92120 โทรศัพท์ 0-7520-8785 E-mail: trg_hatsamran@doae.go.th http://hatsamran.trang.doae.go.th/

  2. สถานการณ์การผลิตแตงโมอำเภอหาดสำราญสถานการณ์การผลิตแตงโมอำเภอหาดสำราญ ข้อมูลทั่วไปอำเภอหาดสำราญ อ.หาดสำราญอยู่ทางทิศใต้ของจังหวัดตรัง สภาพทั่วไป เป็นภูเขาสูงทางด้านทิศตะวันออก และพื้นราบ จนถึงที่ราบลุ่ม จนไปถึงชายฝั่งทะเลอันดามัน มีชายหาดจำนวน 18 กิโลเมตร มีพื้นที่ทั้งหมด 224 ตร.กม. (140,000 ไร่) แบ่งเขตการปกครอง เป็น 3 ตำบล ได้แก่ หาดสำราญ บ้าหวี และ ตะเสะ มีประชากร 16,140 คน 4,095 ครัวเรือน ครัวเรือนเกษตรกร 3,595 ครัวเรือน ประชากรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม ได้แก่ ทำสวนยางพารา ปาล์มน้ำมัน ผลไม้ พืชผัก เพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ และ ประมงชายฝั่ง

  3. ข้อมูลทั่วไปของแตงโม แตงโม (อังกฤษ: watermelon; ชื่อวิทยาศาสตร์: Citrulluslanatus)จัดเป็นผลไม้ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เรียก บักโม ภาคเหนือเรียก บะเต้า จังหวัดตรัง เรียก แตงจีน ถิ่นกำเนิดอยู่ในทะเลทรายคาลาฮารี ทวีปแอฟริกา ชาวอียิปต์เป็นชาติแรกที่ปลูกแตงโมเมื่อสี่พันปีมาแล้ว ชาวจีนเริ่มปลูกแตงโมที่ซินเกียง สมัยราชวงศ์ถัง และชาวมัวร์ ได้นำแตงโมไปสู่ทวีปยุโรป และเข้าสู่ทวีปอเมริกาพร้อมกับชาวแอฟริกาที่ถูกขายเป็นทาส สำหรับประเทศไทยมีการปลูกแตงโมทั่วทุกภูมิภาค และปลูกได้ทุกฤดูกาล

  4. ประวัติความเป็นมาการปลูกแตงโมของอำเภอหาดสำราญประวัติความเป็นมาการปลูกแตงโมของอำเภอหาดสำราญ การปลูกแตงโมในพื้นที่อำเภอหาดสำราญมีการปลูกมายาวนาน แต่ไม่มีข้อมูลที่ชัดเจน มีแต่การบอกเล่าต่อกันมาว่ามีการปลูกต่อเนื่องกันมาหลายทศวรรษ โดยมีการถ่ายทอดภูมิปัญญา จากรุ่นสู่รุ่น โดยอดีตการปลูกแตงโมจะปลูกปลายฤดูฝน ช่วงเดือนพฤศจิกายน ซึ่งจะปลูกบนที่ดอนริมชายหาด ซึ่งดินยังมีความชื่นอยู่ และอาศัยน้ำฝน และอีกส่วนหนึ่งจะปลูกในพื้นที่นาข้าว เมื่อมีการเก็บเกี่ยวข้าวเสร็จในช่วงเดือนมกราคม – กุมภาพันธ์ จะปลูกในแปลงนาในที่ลุ่ม และใช้แหล่งน้ำจากขุดบ่อน้ำตื้นสี่เหลี่ยมขนาดเล็กในแปลงนา ซึ่งในรอบปีจะมีการปลูกเพียงรอบเดียวเท่านั้น ในปัจจุบันเกษตรกรในอำเภอหาดสำราญได้ปรับเปลี่ยนพื้นที่ทางการเกษตรเป็นสวนยางพารา ปาล์มน้ำมัน ทำให้มีการปลูกแตงโมตลอดทั้งปี โดยปลูกแซมในสวนยางพาราและปาล์มน้ำมันที่มีอายุน้อย และได้พัฒนาเป็นการปลูกในเชิงการค้ามากยิ่งขึ้น นำเทคโนโลยีใหม่ๆ เข้ามาใช้ในการปลูกแตงโม ทำให้มีผลผลิตจำหน่ายทั้งปี แต่อย่างไรก็ตามพื้นที่ปลูกแตงโมก็ลดลง เพราะถูกทดแทนโดยพื้นที่ปลูกยางพารา และปาล์มน้ำมันซึ่งเป็นไม้ยืนต้น ทำให้พื้นที่ที่สามารถปลูกแตงโมได้น้อยลง

  5. ตาราง แสดงข้อมูลการปลูกแตงโมอำเภอหาดสำราญ ปี 55 - 57

  6. M: Mappingการศึกษาข้อมูลเพื่อเตรียมเข้าทำงานในพื้นที่โดยเน้นการใช้ข้อมูลแผนที่ จัดทำฐานข้อมูลผู้ปลูกแตงโมอำเภอหาดสำราญ ลงในแผนที่ เพื่อเป็นข้อมูลในการวางแผนการจัดการส่งเสริมในพื้นที่ เช่น การรวมกลุ่มจัดหาแหล่งน้ำ การวางแผนด้านการตลาด การจัดตั้งกลุ่มผู้ผลิตแตงโม ฯลฯ

  7. R : Remote Sensingการประสานงาน และให้บริการเกษตรกรด้วยวิธีการติดต่อสื่อสารและเข้าถึงข้อมูลระยะไกล การสื่อสาร โทรศัพท์/เอกสารรายงาน การสื่อสาร โทรศัพท์/เอกสารรายงาน อกม./ผู้นำเกษตรกร องค์ความรู้แตงโม ในเว็บไซด์ สำนักงานเกษตรอำเภอหาดสำราญ เกษตรกร/กลุ่มเกษตรกรผู้ผลิตแตงโม สำนักงานเกษตรอำเภอหาดสำราญ R C และ F การสื่อสาร โทรศัพท์/เอกสารราย งาน สำนักงานเกษตรจังหวัดตรัง

  8. C : Community Participation ใช้วิธีการจัดเวทีชุมชนในการทำงานและร่วมดำเนินงานกับเกษตรกร ชุมชนและผู้มีส่วนเกี่ยวข้องแบบมีส่วนร่วม เวทีชุมชนแบบมีส่วนร่วม แผนพัฒนา/แก้ไขปัญหาแตงโม อำเภอหาดสำราญ เกษตรกรผู้ผลิตแตงโมหาดสำราญ ข้อมูลสารสนเทศแตงโมหาดสำราญ บูรณาการสร้างความมีส่วนร่วม ทบทวนผลดำเนิน การ ประมวลผลความสำเร็จ ตัวชี้วัดความสำเร็จเป้าหมายที่ต้องการ ตามที่ระบุไว้โครงการ/กิจกรรม โครงการ/กิจกรรม เพื่อพิจารณาแก้ไขปัญหาแตงโมหาดสำราญ

  9. F : Specific Field Service การเข้าทำงานในพื้นที่แบบเฉพาะเจาะจง โดยมีเป้าหมายและจุดมุ่งหมายที่ชัดเจน Mapping กระบวนการ/ผลการวิเคราะห์ข้อมูล/สถานการณ์ของแตงโมหาดสำราญ ข้อมูลสารสนเทศแตงโมหาดสำราญ แผนปฏิบัติงานในประเด็นการพัฒนาแต่ละประเด็น ประเด็นการพัฒนา/แก้ไขปัญหาแตงโม Remote Sensing การนำไปสู่การปฏิบัติตามแผนโดยอาศัยกระบวนการมีส่วนร่วม Community Participation แตงโมหาดสำราญได้รับการพัฒนา/แก้ปัญหา

  10. จบการ นำเสนอ ขอบคุณครับ

More Related