1 / 11

บทนำ

บทนำ. SORACHAI SAE-LIM Department of Chemistry Mahidol wittayanusorn School. สาเหตุที่ทำให้เกิดโรค เกิดจากอะไร. SORACHAI SAELIM, Department of Chemistry, Mahidolwittayanusorn School. อนุมูลอิสระ ( Free Radicals ). อนุมูลคืออะไร ทำไมถึงทำให้เกิดโรคได้.

cooper
Télécharger la présentation

บทนำ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. บทนำ SORACHAI SAE-LIM Department of Chemistry Mahidol wittayanusorn School

  2. สาเหตุที่ทำให้เกิดโรค เกิดจากอะไร SORACHAI SAELIM, Department of Chemistry, Mahidolwittayanusorn School

  3. อนุมูลอิสระ ( Free Radicals ) อนุมูลคืออะไร ทำไมถึงทำให้เกิดโรคได้ SORACHAI SAELIM, Department of Chemistry, Mahidolwittayanusorn School

  4. Fission of chemical bonding • Homolysis or Homolytic fission • A−B → A• + B• • Heterolysis or Heterolytic fission อนุมูลอิสระ SORACHAI SAELIM, Department of Chemistry, Mahidolwittayanusorn School

  5. อนุมูลอิสระ ( Free Radicals ) คือ โมเลกุลที่มีธาตุที่ไม่มั่นคงเนื่องจากขาด อิเล็กตรอน ไป 1 ตัวปกติแร่ธาตุทั้งหลายในร่างกายของเราจะมีอีเล็กตรอนอยู่วงรอบเป็นจำนวนคู่ ซึ่งทำให้โมเลกุลนั้นคงตัว ในกรณีที่มีการสูญเสีย อิเล็กตรอน หรือรับอิเล็กตรอน มาอีกเพียง 1 ตัวจะทำให้โมเลกุลนั้นไม่มั่นคง A−B → A• + B• อนุมูลอิสระที่เกิดขึ้นจะไม่เสถียร จึงวิ่งไปจับสารอื่นที่มีอิเล็กตรอน เพื่อทำให้ตัวเองเสถียร SORACHAI SAELIM, Department of Chemistry, Mahidolwittayanusorn School

  6. ผู้ถูกแย่งก็กลายเป็นตัวเจ้าปัญหาแทนเพราะตนไม่มั่นคง ต้องไปแย่งคนอื่นมาเป็นทอดๆ ยกเว้นตัวที่ไม่มั่นคง 2 ตัวมาเจอกันก็จะรวมกันกลายเป็นปฏิกิริยาลูกโซ่ http://www.knowcancer.com/blog/antioxidants-free-radicals-and-your-body/ SORACHAI SAELIM, Department of Chemistry, Mahidolwittayanusorn School

  7. อนุมูลอิสระจึงเป็นสารพิษต่อเซลล์ร่างกาย อนุมูลอิสระจึงเป็นสารพิษต่อเซลล์ร่างกาย ถ้ามีมากในเซลล์ก็เป็นอันตรายได้โดยจะทำลาย ดีเอนเอ เยื่อหุ้มเซลล์ และอื่นๆ แต่เซลล์ร่างกายพวกเม็ดเลือดขาว ก็ใช้สารพวกนี้กำจัดแบคทีเรีย หลังจากที่เซลล์กินแบคทีเรียเข้าไปในตัวแล้ว อนุมูลอิสระเชื่อว่า มีผลต่อการอักเสบ และการทำลายเนื้อเยื่อในระยะสั้น ในระยะยาวอาจมีผลต่อ ความเสื่อมหรือการแก่ของเซลล์ และอาจเป็นสารการก่อมะเร็ง และโรคหัวใจ ต้อกระจก http://www.howtowincancer.com/ SORACHAI SAELIM, Department of Chemistry, Mahidolwittayanusorn School

  8. ในสิ่งมีชีวิตทุกชนิดที่ใช้ออกซิเจนในการดำรงชีวิต จะพบอนุมูลอิสระของออกซิเจนชนิดต่าง ๆ เกิดขึ้นอยู่ตลอดเวลา อนุมูลอิสระนี้เกิดมาจากสาเหตุปัจจัยภายในและภายนอกร่างกาย สาเหตุปัจจัยภายในร่างกาย ปฏิกิริยาออกซิเดชันของลิปิด กระบวนการกำจัดสิ่งแปลกปลอมของเม็ดเลือดขาว โลหะทรานสิชัน SORACHAI SAELIM, Department of Chemistry, Mahidolwittayanusorn School

  9. สาเหตุปัจจัยภายนอกร่างกายสาเหตุปัจจัยภายนอกร่างกาย • มลพิษในอากาศ • โอโซน • ไนตรัสออกไซด์ ไนโตรเจนไดออกไซด์ • ฝุ่น • ควันบุหรี่ • อาหารที่มีกรดไขมันไม่อิ่มตัว หรือธาตุเหล็กมากกว่าปกติ • แสงแดด ความร้อน รังสีแกมม่า • ยาบางชนิด เช่น Doxorubicin , Penicillamine, paracetamol, CCl4 เป็นต้น SORACHAI SAELIM, Department of Chemistry, Mahidolwittayanusorn School

  10. กระบวนการกำจัดอนุมูลอิสระกระบวนการกำจัดอนุมูลอิสระ ร่างกายก็มีกลไกที่จะกำจัด อนุมูลอิสระ เหล่านี้โดย 2 วิธี คือ 1. ใช้เอนไซม์ต่างๆในร่างกายเช่น Superoxide dismultase (SOD) 2.ไม่ใช้เอนไซม์ แต่ได้จากการรับประทานอาหารได้แก่ วิตามิน อี (แอลฟา-tocopherol เบตาคาโรทีน (Betacarotene) และ วิตามิน ซี เนื่องจากมีผู้สังเกตว่า เอนไซม์ต่างๆที่ใช้กำจัด อนุมูลอิสระ เช่น SOD มีได้จำกัด แต่สารที่เราสามารถทานเสริมได้แก่ วิตามิน อี วิตามิน ซี เบต้าคาโรทีน ซึ่งเป็นสารต้านอนุมูลอิสระหรือมีอีกชื่อว่า Antioxidant SORACHAI SAELIM, Department of Chemistry, Mahidolwittayanusorn School

  11. บรรณานุกรม SORACHAI SAELIM, Department of Chemistry, Mahidolwittayanusorn School

More Related