1 / 36

พญ. ศรีประพา เนตรนิยม รองผู้อำนวยการสำนักวัณโรค วันที่ 18-19 สิงหาคม 2552 ณ สำนักวัณโรค

การดำเนินโครงการที่ได้รับทุนสนับสนุนโดย กองทุนโลก ด้านวัณโรค รอบที่ 8 ของสำนักวัณโรค ในฐานะผู้รับทุนรอง. พญ. ศรีประพา เนตรนิยม รองผู้อำนวยการสำนักวัณโรค วันที่ 18-19 สิงหาคม 2552 ณ สำนักวัณโรค. ประเด็นสำคัญในการนำเสนอ. เป้าหมายและวัตถุประสงค์ พื้นที่ดำเนินงาน

creola
Télécharger la présentation

พญ. ศรีประพา เนตรนิยม รองผู้อำนวยการสำนักวัณโรค วันที่ 18-19 สิงหาคม 2552 ณ สำนักวัณโรค

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การดำเนินโครงการที่ได้รับทุนสนับสนุนโดยกองทุนโลก ด้านวัณโรค รอบที่ 8ของสำนักวัณโรค ในฐานะผู้รับทุนรอง พญ. ศรีประพา เนตรนิยม รองผู้อำนวยการสำนักวัณโรค วันที่ 18-19 สิงหาคม 2552 ณ สำนักวัณโรค

  2. ประเด็นสำคัญในการนำเสนอประเด็นสำคัญในการนำเสนอ • เป้าหมายและวัตถุประสงค์ • พื้นที่ดำเนินงาน • หน่วยงานและงบประมาณสนับสนุนของผู้รับทุนรายย่อยของสำนักวัณโรค • กิจกรรมหลักของโครงการ • แนวทางการประสานงานระหว่างหน่วยงานต่างๆ • ตัวชี้วัดและเอกสารประกอบตัวชี้วัดโครงการ • การจัดทำรายงานตัวชี้วัดและการเงินรอบ 3 เดือน • ความก้าวหน้าการดำเนินงานของสำนักวัณโรค

  3. เป้าหมายและวัตถุประสงค์(p 2)(ที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินงานของ สวร.) • เป้าหมายเพื่อลดอัตราป่วย และอัตราตายของวัณโรค เพื่อบรรลุเป้าหมายแห่งการพัฒนาสหัสวรรษ ในปีพ.ศ. 2558 • Obj 1 เพื่อสนับสนุนการดำเนินงานตามกลยุทธ์ DOTS อย่างมีคุณภาพ • Obj 2 การเร่งรัดงานวัณโรคและโรคเอดส์ วัณโรคดื้อยาหลายขนาน และความท้าทายอื่นๆ (เช่น ผู้ต้องขัง และ เด็ก เป็นต้น)

  4. พื้นที่ดำเนินงาน

  5. พื้นที่ดำเนินงาน TB/HIV (Gender sensitive issues for TB/HIV care) • ดำเนินงานโดยมหาวิทยาลัยมหิดล (AWP ของสำนักวัณโรค) ในโรงพยาบาลขนาดใหญ่ ใน 5 จังหวัด ดังนี้ • ระยอง • นครปฐม • ขอนแก่น • ลำพูน • นครปฐม

  6. พื้นที่ดำเนินงานการเร่งรัดค้นหาผู้ป่วยวัณโรคในผู้ที่ติดเชื้อเอช ไอ วี ร่วมด้วย • ดำเนินการโดยชมรมผู้ติดเชื้อ 15 แห่ง ดังต่อไปนี้ • ชมรมสิงห์อิสระ (รพ. สิงห์บุรี) • ชมรมด้วยกำลังใจ (รพ. อินทร์บุรี จ. สิงห์บุรี) • ชมรมความหวังพลังใจ (รพ. ฉะเชิงเทรา) • ชมรมวันพุธ (รพ. ราชบุรี) • ชมรมกลุ่มพลังรัก (รพ. ชัยภูมิ) • ชมรมนิวไลฟ์ (รพ. ขอนแก่น) • ชมรมสายใยครอบครัว (รพ. ยโสธร) • ชมรมเพื่อนช่วยเพื่อน (รพ. สุราษฎร์ธานี) • ชมรมศูนย์รวมใจ (รพ. สวรรค์ประชารักษ์ จ. นครสวรรค์) • ชมรมรักษ์สุขภาพ (รพ. เพชรบูรณ์) • ชมรมอุ่นไอรัก (รพ. เชียงของ จ. เชียงราย) • ชมรมภูเขาหญ้า (รพ. ระนอง) • ชมรมเพื่อนช่วยเพื่อน (รพ. กระบี่) • ชมรมใจประสานใจ (รพ. พัทลุง) • ชมรมตะวันรุ่ง (รพ. กันตัง จ. ตรัง)

  7. พื้นที่ดำเนินงาน MDR-TB • จำนวน 3 แห่งในปีที่ 1-2 ดังนี้ • สำนักวัณโรค โดยกลุ่มสาธิตบริการเพื่อการศึกษาวิจัยวัณโรค • สถาบันบำราศนราดูร • ทัณฑ์สถานโรงพยาบาลราชทัณฑ์

  8. พื้นที่ดำเนินงานวัณโรคในเด็กพื้นที่ดำเนินงานวัณโรคในเด็ก • ดำเนินงานโดย คณะแพทยศาสตร์มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (SSR สำนักวัณโรค) ใน 10 จังหวัด 25 รพ. ดังนี้ • 3.พะเยา • รพ. พะเยา • รพ. เชียงคำ • 4. ลำปาง • รพ. ศูนย์ลำปาง • รพ. เกาะคา • 5. น่าน • รพ. น่าน • รพ. สมเด็จ พระยุพราชปัว • 9. ตาก • รพ. ตาก • รพ. อุ้งผาง • รพ. แม่สอด • 10. อุตรดิตถ์ • รพ. อุตรดิตถ์ • 1.เชียงใหม่ • รพ. มหาราช นครเชียงใหม่ • รพ. นครพิงค์ • รพ. สันป่าตอง • รพ. ดอยสะเก็ด • รพ. สันทราย • รพ. ฝาง • รพ. สารภี • 2. ลำพูน • รพ. ลำพูน • 6. แม่ฮ่องสอน • รพ. ศรีสังวลาย์ • รพ. แม่สะเรียง • รพ. ปาย • 7. แพร่ • รพ. แพร่ • 8. เชียงราย • รพ. แม่จัน • รพ. แม่สาย • รพ. เชียงรายประชานุเคราะห์

  9. พื้นที่ดำเนินงานวัณโรคในเรือนจำพื้นที่ดำเนินงานวัณโรคในเรือนจำ • โดยกรมราชทัณฑ์ และ NCCMP ใน 22 จังหวัด 41 แห่ง ดังนี้ • 2. นนทบุรี • เรือนจำกลางบางขวาง • เรือนจำจังหวัดนนทบุรี • 1. กรุงเทพมหานคร • เรือนจำพิเศษกรุงเทพฯ • เรือนจำพิเศษธนบุรี • เรือนจำพิเศษมีนบุรี • ทัณฑสถานหญิงกลาง • ทัณฑสถานบำบัดพิเศษกลาง • ทัณฑสถานหญิงธนบุรี • ทัณฑสถาน โรงพยาบาลราชทัณฑ์ • 3. ปทุมธานี • เรือนจำจังหวัดปทุมธานี • เรือนจำอำเภอธัญบุรี • ทัณฑสถานบำบัดพิเศษจ.ปทุมธานี • ทัณฑสถานบำบัดพิเศษหญิง • ทัณฑสถานวัยหนุ่มกลาง

  10. พื้นที่ดำเนินงานวัณโรคในเรือนจำ (2) • 4. สมุทรปราการ • เรือนจำกลางสมุทรปราการ • 5. สมุทรสาคร • เรือนจำจังหวัดสมุทรสาคร • 6. พระนครศรีอยุธยา • เรือนจำกลางอยุธยา • เรือนจำจังหวัดอยุธยา • ทัณฑสถานวัยหนุ่มพระนครศรีอยุธยา • ทัณฑสถานบำบัดพิเศษพระนครศรีอยุธยา • 7. ระยอง • เรือนจำกลางระยอง • 8. นครราชสีมา • เรือนจำกลางคลองไผ่ • 9. อุบลราชธานี • เรือนจำกลางอุบลราชธานี • 10. ขอนแก่น • เรือนจำกลางขอนแก่น • ทัณฑสถานบำบัดพิเศษขอนแก่น • 11.เชียงราย • เรือนจำกลางเชียงราย • 12. เชียงใหม่ • เรือนจำกลางเชียงใหม่

  11. พื้นที่ดำเนินงานวัณโรคในเรือนจำ (3) • 13. ลำปาง • เรือนจำกลางลำปาง • ทัณฑสถาน บำบัดพิเศษลำปาง • 14. กำแพงเพชร • เรือนจำกลางกำแพงเพชร • 15. นครสวรรค์ • เรือนจำกลางนครสวรรค์ • 16. นครปฐม • เรือนจำกลางนครปฐม • 17. นครศรีธรรมราช • เรือนจำกลางนครศรีฯ • เรือนจำอำเภอทุ่งสง • 18. สุราษฎร์ธานี • เรือนจำกลางสุราษฎร์ธานี • เรือนจำอำเภอไชยา • 19.ราชบุรี • เรือนจำกลางราชบุรี • 20. ภูเก็ต • เรือนจำจังหวัดภูเก็ต • 21. พังงา • เรือนจำจังหวัดพังงา • เรือนจำอำเภอตะกั่วป่า • 22. กระบี่ • เรือนจำจังหวัดกระบี่

  12. พื้นที่ดำเนินงานในกรุงเทพมหานครพื้นที่ดำเนินงานในกรุงเทพมหานคร • ดำเนินงานโดย สำนักอนามัย กองโรคเอดส์ วัณโรค และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ใน 14 เขต 14 รพ. • รพ. สิรินธร • รพ. กลาง • รพ. ตากสิน • รพ. เจริญกรุง • รพ. หนองจอก • รพ. ลาดกระบัง • รพ. สมเด็จพระปิ่นเกล้า • รพ. หลวงพ่อทวีศักดิ์ • รพ. ราชพิพัฒน์ • รพ. นพรัตน์ราชธานี • รพ. ราชวิถี • รพ. เลิดสิน • วิทยาลัยแพทยศาสตร์กรุงเทพมหานคร และวชิรพยาบาล

  13. หน่วยงานและงบประมาณผู้รับทุนรายย่อยของสำนักวัณโรคหน่วยงานและงบประมาณผู้รับทุนรายย่อยของสำนักวัณโรค PGA • สำนักงานป้องกันควบคุมโรค 1-12 27.5 ล้าน • กรมราชทัณฑ์ 4.4 ล้าน • NCCMP (TB in prison) 4 ล้าน • คณะแพทยศาสตร์ มช. (Childhood) 3.3 ล้าน • ชมรมผู้ติดเชื้อ (TB/HIV) 1.4 ล้าน • สถาบันบำราศฯ (MDR-TB) 1.4 ล้าน • สำนักอนามัย (Q-DOTS & TB/HIV) 2.4 ล้าน • ม. มหิดล (Gender) 8 แสน • สมาคมปราบฯ ชม. (Q-DOTS)2 แสน หมายเหตุ งปม. ของสคร. และ กทม. ยังไม่รวมค่ายาสำหรับผู้ป่วยไร้สิทธิ ค่าอาหาร ค่ารถของผู้ป่วย ค่าเยี่ยมบ้านของสอ ค่าอบรมอสม ค่าประชุมทีมชุมชน ซึ่งบริหารจัดการโดยกรม สบส. APW

  14. Interventions • A report of a NTP review in July 2007 • The WHO matrix tool

  15. กิจกรรม Quality DOTS(ครอบคลุม 91 อำเภอ 73 จังหวัด)

  16. กิจกรรมของ TB/HIV (p24)(ครอบคลุม 91 อำเภอ 73 จังหวัด)

  17. กิจกรรมของ MDR-TB (p26)(ครอบคลุม 3 หน่วยงาน)

  18. กิจกรรมของวัณโรคในเด็ก (p28)(ครอบคลุม 25 รพ. ใน 10 จังหวัด)

  19. กิจกรรมของกรมราชทัณฑ์ (1)

  20. กิจกรรมของ NCCMP (เรือนจำ)

  21. แผนปฏิบัติงาน (work plan) • ระบุเฉพาะกิจกรรมที่มีค่าใช้จ่าย • ควรมีการพัฒนาแผนปฏิบัติงานแยกตามหัวข้อการดำเนินงานซึ่งเป็นกิจกรรมที่ไม่มีงปม. (Q-DOTSระบบเตือนจนท.เมื่อผู้ป่วยผิดนัดรพ.; TB/HIVการประสาน AIDS RCC R1 grant ในเรื่อง ART; MDR การจัดทำ case conference; Childhoodการประชาสัมพันธ์ประโยชน์ของการนำผู้สัมผัสมาตรวจ; Prisons การแจ้งขอความร่วมมือสสจ.ในการประสานระหว่าง NGO กับ สอ. หรือ ทำเนียบเครือข่าย; M/Eขั้นตอนการตรวจสอบความครบถ้วนของทะเบียนวัณโรค ณ โรงพยาบาล

  22. แนวทางการประสานงานระหว่างหน่วยงานต่างๆแนวทางการประสานงานระหว่างหน่วยงานต่างๆ • สวร. (SR) ทำสัญญาดำเนินงานโครงการ (PGA) กับสคร. (SSR) /หน่วยงานที่ทำดำเนินงานภายใต้การทำบันทึกความร่วมมือโครงการ (APW)=> สคร ทำบันทึกความร่วมมือโครงการ (APW) กับสสจ • สสจ ประสานกับหน่วยงานต่างๆ ในพื้นที่ ( เช่น รพ., สสอ., สอ., เรือนจำ, NGOs, ชมรมผู้ติดเชื้อฯ และ อสม. เป็นต้น) • บทบาทของแต่ละหน่วยงาน ตามเอกสารคู่มือดำเนินโครงการ หน้า 3-6

  23. ตัวชี้วัด(Performance Framework: PF) • Impact indicator (TB Prevalence) • Outcome indicators (case detection & Rx success rates in new M+)

  24. ตัวชี้วัด(Performance Framework: PF) (2) • 9 SDA Main indicators for BTB • 8 SDA SSRindicators

  25. ตัวชี้วัดหลักโครงการ 9 ตัว

  26. ตัวชี้วัดหลักโครงการ 9 ตัว (2)

  27. ตัวชี้วัดหลักโครงการ 9 ตัว (3)

  28. ตัวชี้วัดโครงการ ระดับ SSR8 ตัว

  29. แนวทางการจัดส่งรายงานตัวชี้วัดแนวทางการจัดส่งรายงานตัวชี้วัด

  30. การจัดทำรายงานด้านบริหารโครงการทุก 3 เดือนของ SSR (p77) • สวร. จัดอบรมการทำรายงานแก่ Full-time ทุก SSR • สวร.ประสานขอ PR เรื่องคู่มือการจัดทำรายงาน • เน้นการรายงานด้านการเงิน, PF, narrative ของการดำเนินกิจกรรม • จัดส่งเอกสารประกอบการใช้เงินส่งให้สำนักวัณโรคภายใน 10 วันหลังสิ้นรอบ • ตัวชี้วัดของโครงการส่งภายใน 3 สัปดาห์ (เนื่องจากสวร.ได้สำเนาจากสสจ.เมื่อสิ้น 2 สัปดาห์แล้ว)

  31. การจัดทำรายงานด้านบริหารโครงการทุก 3 เดือนของ APW (p89) • หน่วยงานที่จัดทำบันทึกความร่วมมือ เช่น สสจ. ม.มหิดล สมาคมปราบวัณโรคเชียงใหม่ สำนักอนามัย ชมรมผู้ติดเชื้อ สถาบันบำราศนราดูร • จัดทำรายงานพื้นฐานเท่านั้น เนื่องจากคู่สัญญาระดับสูงขึ้นไปเป็นหน่วยงานรับรองการปฏิบัติงานของ APW • ไม่ต้องส่งหลักฐานการเบิก-จ่ายให้สวร. แต่ให้เก็บไว้ที่ต้นสังกัดเพื่อการตรวจสอบของทางราชการ • ส่งเฉพาะ “ใบส่งใบสำคัญชำระหนี้” เป็นหลักฐานการเบิก-จ่ายเท่านั้น

  32. คำแนะนำการจัดทำสัญญา1 (p91) • ผู้รับทุนรายย่อย/APW เปิด 2 บัญชี ธนาคารกรุงไทย (บัญชีกระแสรายวัน และบัญชีออมทรัพย์) ในนามนิติบุคคล • ผู้รับทุนรายย่อยส่งสำเนาหน้าบัญชีออมทรัพย์ให้สำนักวัณโรค • สำนักวัณโรค โอนเงินเป็นงวด งวดละ อย่างน้อย 3 เดือน ตามที่ได้รับจัดสรรจากกองทุนโลก ตามอัตราแลกเปลี่ยน USD • เมื่อผู้รับทุนรายย่อยได้รับเงินโอนสนับสนุนจากสำนักวัณโรคแล้ว กรุณาตอบรับ พร้อมส่งใบเสร็จรับเงินตามระเบียบของทางราชการเพื่อเป็นหลักฐานในการรับเงิน ภายใน 15 วัน หลังจากโอนเงิน โดยระบุว่าได้รับเงินจากโครงการ “การสร้างความเข้มแข็งของระบบสาธารณสุขเพื่อการควบคุมวัณโรค”

  33. คำแนะนำการจัดทำสัญญา2 (p91) • การปรับงบประมาณของโครงการ หากเกิน 10 % ของหมวดกิจกรรมเดียวกัน ต้องได้รับอนุมัติจากสำนักวัณโรคก่อนเท่านั้น • กรณีที่ปรับงบประมาณไม่เกิน 10 % ภายในหมวดกิจกรรม อยู่ในอำนาจของผู้รับทุนรายย่อย (SSR) สามารถกระทำได้โดยไม่ต้องขออนุมัติจากสำนักวัณโรค แต่ขอให้ส่งสำเนาการอนุมัติให้ สวร. ทุกครั้งที่มีการปรับงบประมาณดังกล่าว

  34. คำแนะนำการจัดทำสัญญา3 (p91) • จัดทำหนังสือยินดีเข้าร่วมโครงการ ระหว่าง สคร. กับ สสจ. และส่งสำเนาให้สำนักวัณโรค 1 ฉบับ • รวบรวมหนังสือยินดีเข้าร่วมโครงการ ระหว่าง ก) สสจ. กับ สสอ. และ ข) สสจ. กับ โรงพยาบาล โดยส่งสำเนาให้สำนักวัณโรคอย่างละ 1 ฉบับ • ผู้รับทุนรายย่อยจัดส่งสัญญาโครงการมายังสำนักวัณโรคเพื่อการลงนาม (หนังสือ สำนักวัณโรคเลขที่ สธ 0440.8/3/ว.1455 ลงวันที่ 24 กรกฎาคม 2552)

  35. ความก้าวหน้าการดำเนินงานของ สวร. เดือน กรกฎาคม 2552 • จัดพิมพ์คู่มือการดำเนินงาน (ฉบับร่าง) และขอข้อเสนอแนะและข้อแก้ไขปรับปรุงก่อนการจัดพิมพ์ จากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง • จัดประชุมชี้แจงรายละเอียดโครงการ และวางแผนการดำเนินงานวัณโรคในเด็ก วัณโรคในเรือนจำ การค้นหาการป่วยเป็นวัณโรคในชมรมผู้ติดเชื้อ และวัณโรคดื้อยาหลายขนาน (MDR-TB) ร่วมกับผู้ที่เกี่ยวข้อง • ชี้แจงรายละเอียดกิจกรรมโครงการ ให้แก่ผู้บริหารและผู้รับผิดชอบงานวัณโรคระดับเขต (สคร 1-12) ในวันที่ 22 ก.ค. 52 • ประชุมวางแผนการดำเนิงานวัณโรคในชุมชน ร่วมกับมูลนิธิรักษ์ไทย วันที่ 24 ก.ค. 52 กรมสนับสนุนบริการสุขภาพภาคประชาชน ในวันที่ 6 ส.ค. 52 และกองควบคุมโรคเอดส์ วัณโรค และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ สำนักอนามัย วันที่ 17 ส.ค. 52

  36. ความก้าวหน้าการดำเนินงานของ สวร. เดือน กรกฎาคม 2552 (2) • จัดทำสัญญาโครงการของผู้รับทุนรายย่อย (PGA) และบันทึกความร่วมมือดำเนินงานโครงการ (APW) ให้กับ 96 หน่วยงาน • จัดทำรายละเอียดเอกสารประกอบการเบิกจ่ายในแต่ละกิจกรรม • จัดทำเอกสารประกอบตัวชี้วัดที่นอกเหนือจากแบบรายงานวัณโรคปกติ (เช่น การจัดส่งรายงานตามเวลาที่กำหนด และวัณโรคในเด็ก) • จัดส่งหนังสือถึงหน่วยงานผู้รับทุนรายย่อยของสำนักวัณโรคแจ้งให้จัดส่งสัญญาเพื่อการลงนามสนับสนุนงบประมาณโครงการ เมื่อวันที่ 24 กรกฎาคม 2552 (หนังสือ สวร. 0440.8/3/ว.1455 และ 0440.8/3/ว 918)

More Related