1 / 25

บันทึกข้อตกลงความร่วมมือ ( Memorandum Of Understanding : MOU ) เรื่อง

บันทึกข้อตกลงความร่วมมือ ( Memorandum Of Understanding : MOU ) เรื่อง บริหารจัดการน้ำเชิงนิเวศแบบบูรณาการ ๓ ลุ่มน้ำ ลุ่มน้ำสาขาแม่น้ำตรัง ลุ่มน้ำย่อยคลองท่าดี และลุ่มน้ำตาปี.

crete
Télécharger la présentation

บันทึกข้อตกลงความร่วมมือ ( Memorandum Of Understanding : MOU ) เรื่อง

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. บันทึกข้อตกลงความร่วมมือ (Memorandum Of Understanding : MOU) เรื่อง บริหารจัดการน้ำเชิงนิเวศแบบบูรณาการ ๓ ลุ่มน้ำ ลุ่มน้ำสาขาแม่น้ำตรัง ลุ่มน้ำย่อยคลองท่าดี และลุ่มน้ำตาปี

  2. องค์กรต่างๆ มีความเห็นร่วมกันที่จะร่วมบริหารจัดการน้ำเชิงนิเวศแบบบูรณาการทั้ง ๓ ลุ่มน้ำ คือ ลุ่มน้ำสาขาแม่น้ำตรัง ลุ่มน้ำย่อยคลองท่าดี และลุ่มน้ำตาปี ซึ่งเป็นลุ่มน้ำที่มีแหล่งกำเนิดเดียวกัน คือ เทือกเขาหลวงนครศรีธรรมราช เพื่อให้ลุ่มน้ำทั้ง ๓ เป็นลุ่มน้ำที่สมบูรณ์ สามารถหล่อเลี้ยงทุกชีวิตในลุ่มน้ำอย่างยั่งยืนตลอดไป

  3. บันทึกข้อตกลงนี้ทำขึ้น ณ หอประชุมวิทยาลัยเทคโนโลยีภาคใต้ (เอส. เทค) อำเภอทุ่งสง จังหวัดนครศรีธรรมราช เมื่อวันที่ ๒๒ กรกฎาคม ๒๕๕๗ ระหว่างกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม จังหวัดนครศรีธรรมราช จังหวัดตรัง จังหวัดสุราษฎร์ธานี นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดนครศรีธรรมราช นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดตรัง นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดสุราษฎร์ธานี ผู้แทนเครือข่ายภาคประชาคมลุ่มน้ำสาขาแม่น้ำตรัง ผู้แทนเครือข่ายภาคประชาคมลุ่มน้ำย่อยคลองท่าดี ผู้แทนเครือข่ายภาคประชาคมลุ่มน้ำตาปี ผู้แทนองค์กร GIZ ผู้แทนองค์กร IUCN ผู้แทนมูลนิธิไทยรักษ์ป่า เป็นการเบื้องต้น

  4. บันทึกข้อตกลงฉบับนี้ มีสาระสำคัญ ดังนี้ ๑. ร่วมกันดูแลรักษาป่าต้นน้ำ ซึ่งเป็นแหล่งกำเนิดของลุ่มน้ำทั้ง ๓ ให้คงความอุดมสมบูรณ์ อย่างยั่งยืนตลอดไป ๒. ร่วมกันส่งเสริมการจัดการความรู้ จัดระบบฐานข้อมูล องค์ความรู้ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ประสบการณ์ เพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงานของท้องถิ่นและชุมชนทั้ง ๓ ลุ่มน้ำ ในการบริหารจัดการน้ำเชิงนิเวศแบบบูรณาการ ๓. ร่วมกันจัดทำแผนแม่บทและผลักดันกองทุนแทนคุณระบบนิเวศที่มาจากความร่วมมือของผู้มีส่วนได้ ส่วนเสียทุกภาคีภาคส่วนในพื้นที่แต่ละลุ่มน้ำ เพื่อเป็นเครื่องมือในการบริหารจัดการน้ำทั้ง ๓ ลุ่มน้ำ

  5. ๔. ร่วมผลักดันการนำแผนและมาตรการบริหารจัดการน้ำเชิงนิเวศแบบบูรณาการสู่การปฏิบัติ อย่างเป็นรูปธรรม ๕. ร่วมติดตามประเมินผลโดยความร่วมมือของทุกภาคส่วน ๖. ร่วมสนับสนุนและเสนอแนวทางพัฒนากลไกการขับเคลื่อนการบริหารจัดการน้ำเชิงนิเวศแบบบูรณาการ โดยให้ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในระดับพื้นที่เป็นกลไกหลักเพื่อให้ลุ่มน้ำทั้ง ๓ ลุ่มน้ำ สมดุลและยั่งยืน เป็นสายน้ำแห่งชีวิตสืบไป

  6. บันทึกข้อตกลงความร่วมมือ (Memorandum Of Understanding : MOU) เรื่อง บริหารจัดการน้ำเชิงนิเวศแบบบูรณาการ ๓ ลุ่มน้ำ ลุ่มน้ำสาขาแม่น้ำตรัง ลุ่มน้ำย่อยคลองท่าดี และลุ่มน้ำตาปี

  7. องค์กรต่างๆ มีความเห็นร่วมกันที่จะร่วมบริหารจัดการน้ำเชิงนิเวศแบบบูรณาการทั้ง ๓ ลุ่มน้ำ คือ ลุ่มน้ำสาขาแม่น้ำตรัง ลุ่มน้ำย่อยคลองท่าดี และลุ่มน้ำตาปี ซึ่งเป็นลุ่มน้ำที่มีแหล่งกำเนิดเดียวกัน คือ เทือกเขาหลวงนครศรีธรรมราช เพื่อให้ลุ่มน้ำทั้ง ๓ เป็นลุ่มน้ำที่สมบูรณ์ สามารถหล่อเลี้ยงทุกชีวิตในลุ่มน้ำอย่างยั่งยืนตลอดไป

  8. บันทึกข้อตกลงนี้ทำขึ้น ณ หอประชุมวิทยาลัยเทคโนโลยีภาคใต้ (เอส. เทค) อำเภอทุ่งสง จังหวัดนครศรีธรรมราช เมื่อวันที่ ๒๒ กรกฎาคม ๒๕๕๗ ระหว่างกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม จังหวัดนครศรีธรรมราช จังหวัดตรัง จังหวัดสุราษฎร์ธานี นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดนครศรีธรรมราช นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดตรัง นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดสุราษฎร์ธานี ผู้แทนเครือข่ายภาคประชาคมลุ่มน้ำสาขาแม่น้ำตรัง ผู้แทนเครือข่ายภาคประชาคมลุ่มน้ำย่อยคลองท่าดี ผู้แทนเครือข่ายภาคประชาคมลุ่มน้ำตาปี ผู้แทนองค์กร GIZ ผู้แทนองค์กร IUCN ผู้แทนมูลนิธิไทยรักษ์ป่า เป็นการเบื้องต้น

  9. บันทึกข้อตกลงฉบับนี้ มีสาระสำคัญ ดังนี้ ๑. ร่วมกันดูแลรักษาป่าต้นน้ำ ซึ่งเป็นแหล่งกำเนิดของลุ่มน้ำทั้ง ๓ ให้คงความอุดมสมบูรณ์ อย่างยั่งยืนตลอดไป ๒. ร่วมกันส่งเสริมการจัดการความรู้ จัดระบบฐานข้อมูล องค์ความรู้ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ประสบการณ์ เพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงานของท้องถิ่นและชุมชนทั้ง ๓ ลุ่มน้ำ ในการบริหารจัดการน้ำเชิงนิเวศแบบบูรณาการ ๓. ร่วมกันจัดทำแผนแม่บทและผลักดันกองทุนแทนคุณระบบนิเวศที่มาจากความร่วมมือของผู้มีส่วนได้ ส่วนเสียทุกภาคีภาคส่วนในพื้นที่แต่ละลุ่มน้ำ เพื่อเป็นเครื่องมือในการบริหารจัดการน้ำทั้ง ๓ ลุ่มน้ำ

  10. ๔. ร่วมผลักดันการนำแผนและมาตรการบริหารจัดการน้ำเชิงนิเวศแบบบูรณาการสู่การปฏิบัติ อย่างเป็นรูปธรรม ๕. ร่วมติดตามประเมินผลโดยความร่วมมือของทุกภาคส่วน ๖. ร่วมสนับสนุนและเสนอแนวทางพัฒนากลไกการขับเคลื่อนการบริหารจัดการน้ำเชิงนิเวศแบบบูรณาการ โดยให้ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในระดับพื้นที่เป็นกลไกหลักเพื่อให้ลุ่มน้ำทั้ง ๓ ลุ่มน้ำ สมดุลและยั่งยืน เป็นสายน้ำแห่งชีวิตสืบไป

  11. บันทึกข้อตกลงความร่วมมือ (Memorandum Of Understanding : MOU) เรื่อง บริหารจัดการน้ำเชิงนิเวศแบบบูรณาการ ๓ ลุ่มน้ำ ลุ่มน้ำสาขาแม่น้ำตรัง ลุ่มน้ำย่อยคลองท่าดี และลุ่มน้ำตาปี

  12. องค์กรต่างๆ มีความเห็นร่วมกันที่จะร่วมบริหารจัดการน้ำเชิงนิเวศแบบบูรณาการทั้ง ๓ ลุ่มน้ำ คือ ลุ่มน้ำสาขาแม่น้ำตรัง ลุ่มน้ำย่อยคลองท่าดี และลุ่มน้ำตาปี ซึ่งเป็นลุ่มน้ำที่มีแหล่งกำเนิดเดียวกัน คือ เทือกเขาหลวงนครศรีธรรมราช เพื่อให้ลุ่มน้ำทั้ง ๓ เป็นลุ่มน้ำที่สมบูรณ์ สามารถหล่อเลี้ยงทุกชีวิตในลุ่มน้ำอย่างยั่งยืนตลอดไป

  13. บันทึกข้อตกลงนี้ทำขึ้น ณ หอประชุมวิทยาลัยเทคโนโลยีภาคใต้ (เอส. เทค) อำเภอทุ่งสง จังหวัดนครศรีธรรมราช เมื่อวันที่ ๒๒ กรกฎาคม ๒๕๕๗ ระหว่างกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม จังหวัดนครศรีธรรมราช จังหวัดตรัง จังหวัดสุราษฎร์ธานี นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดนครศรีธรรมราช นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดตรัง นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดสุราษฎร์ธานี ผู้แทนเครือข่ายภาคประชาคมลุ่มน้ำสาขาแม่น้ำตรัง ผู้แทนเครือข่ายภาคประชาคมลุ่มน้ำย่อยคลองท่าดี ผู้แทนเครือข่ายภาคประชาคมลุ่มน้ำตาปี ผู้แทนองค์กร GIZ ผู้แทนองค์กร IUCN ผู้แทนมูลนิธิไทยรักษ์ป่า เป็นการเบื้องต้น

  14. บันทึกข้อตกลงฉบับนี้ มีสาระสำคัญ ดังนี้ ๑. ร่วมกันดูแลรักษาป่าต้นน้ำ ซึ่งเป็นแหล่งกำเนิดของลุ่มน้ำทั้ง ๓ ให้คงความอุดมสมบูรณ์ อย่างยั่งยืนตลอดไป ๒. ร่วมกันส่งเสริมการจัดการความรู้ จัดระบบฐานข้อมูล องค์ความรู้ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ประสบการณ์ เพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงานของท้องถิ่นและชุมชนทั้ง ๓ ลุ่มน้ำ ในการบริหารจัดการน้ำเชิงนิเวศแบบบูรณาการ ๓. ร่วมกันจัดทำแผนแม่บทและผลักดันกองทุนแทนคุณระบบนิเวศที่มาจากความร่วมมือของผู้มีส่วนได้ ส่วนเสียทุกภาคีภาคส่วนในพื้นที่แต่ละลุ่มน้ำ เพื่อเป็นเครื่องมือในการบริหารจัดการน้ำทั้ง ๓ ลุ่มน้ำ

  15. ๔. ร่วมผลักดันการนำแผนและมาตรการบริหารจัดการน้ำเชิงนิเวศแบบบูรณาการสู่การปฏิบัติ อย่างเป็นรูปธรรม ๕. ร่วมติดตามประเมินผลโดยความร่วมมือของทุกภาคส่วน ๖. ร่วมสนับสนุนและเสนอแนวทางพัฒนากลไกการขับเคลื่อนการบริหารจัดการน้ำเชิงนิเวศแบบบูรณาการ โดยให้ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในระดับพื้นที่เป็นกลไกหลักเพื่อให้ลุ่มน้ำทั้ง ๓ ลุ่มน้ำ สมดุลและยั่งยืน เป็นสายน้ำแห่งชีวิตสืบไป

  16. บันทึกข้อตกลงความร่วมมือ (Memorandum Of Understanding : MOU) เรื่อง บริหารจัดการน้ำเชิงนิเวศแบบบูรณาการ ๓ ลุ่มน้ำ ลุ่มน้ำสาขาแม่น้ำตรัง ลุ่มน้ำย่อยคลองท่าดี และลุ่มน้ำตาปี

  17. องค์กรต่างๆ มีความเห็นร่วมกันที่จะร่วมบริหารจัดการน้ำเชิงนิเวศแบบบูรณาการทั้ง ๓ ลุ่มน้ำ คือ ลุ่มน้ำสาขาแม่น้ำตรัง ลุ่มน้ำย่อยคลองท่าดี และลุ่มน้ำตาปี ซึ่งเป็นลุ่มน้ำที่มีแหล่งกำเนิดเดียวกัน คือ เทือกเขาหลวงนครศรีธรรมราช เพื่อให้ลุ่มน้ำทั้ง ๓ เป็นลุ่มน้ำที่สมบูรณ์ สามารถหล่อเลี้ยงทุกชีวิตในลุ่มน้ำอย่างยั่งยืนตลอดไป

  18. บันทึกข้อตกลงนี้ทำขึ้น ณ หอประชุมวิทยาลัยเทคโนโลยีภาคใต้ (เอส. เทค) อำเภอทุ่งสง จังหวัดนครศรีธรรมราช เมื่อวันที่ ๒๒ กรกฎาคม ๒๕๕๗ ระหว่างกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม จังหวัดนครศรีธรรมราช จังหวัดตรัง จังหวัดสุราษฎร์ธานี นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดนครศรีธรรมราช นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดตรัง นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดสุราษฎร์ธานี ผู้แทนเครือข่ายภาคประชาคมลุ่มน้ำสาขาแม่น้ำตรัง ผู้แทนเครือข่ายภาคประชาคมลุ่มน้ำย่อยคลองท่าดี ผู้แทนเครือข่ายภาคประชาคมลุ่มน้ำตาปี ผู้แทนองค์กร GIZ ผู้แทนองค์กร IUCN ผู้แทนมูลนิธิไทยรักษ์ป่า เป็นการเบื้องต้น

  19. บันทึกข้อตกลงฉบับนี้ มีสาระสำคัญ ดังนี้ ๑. ร่วมกันดูแลรักษาป่าต้นน้ำ ซึ่งเป็นแหล่งกำเนิดของลุ่มน้ำทั้ง ๓ ให้คงความอุดมสมบูรณ์ อย่างยั่งยืนตลอดไป ๒. ร่วมกันส่งเสริมการจัดการความรู้ จัดระบบฐานข้อมูล องค์ความรู้ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ประสบการณ์ เพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงานของท้องถิ่นและชุมชนทั้ง ๓ ลุ่มน้ำ ในการบริหารจัดการน้ำเชิงนิเวศแบบบูรณาการ ๓. ร่วมกันจัดทำแผนแม่บทและผลักดันกองทุนแทนคุณระบบนิเวศที่มาจากความร่วมมือของผู้มีส่วนได้ ส่วนเสียทุกภาคีภาคส่วนในพื้นที่แต่ละลุ่มน้ำ เพื่อเป็นเครื่องมือในการบริหารจัดการน้ำทั้ง ๓ ลุ่มน้ำ

  20. ๔. ร่วมผลักดันการนำแผนและมาตรการบริหารจัดการน้ำเชิงนิเวศแบบบูรณาการสู่การปฏิบัติ อย่างเป็นรูปธรรม ๕. ร่วมติดตามประเมินผลโดยความร่วมมือของทุกภาคส่วน ๖. ร่วมสนับสนุนและเสนอแนวทางพัฒนากลไกการขับเคลื่อนการบริหารจัดการน้ำเชิงนิเวศแบบบูรณาการ โดยให้ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในระดับพื้นที่เป็นกลไกหลักเพื่อให้ลุ่มน้ำทั้ง ๓ ลุ่มน้ำ สมดุลและยั่งยืน เป็นสายน้ำแห่งชีวิตสืบไป

  21. บันทึกข้อตกลงความร่วมมือ (Memorandum Of Understanding : MOU) เรื่อง บริหารจัดการน้ำเชิงนิเวศแบบบูรณาการ ๓ ลุ่มน้ำ ลุ่มน้ำสาขาแม่น้ำตรัง ลุ่มน้ำย่อยคลองท่าดี และลุ่มน้ำตาปี

  22. องค์กรต่างๆ มีความเห็นร่วมกันที่จะร่วมบริหารจัดการน้ำเชิงนิเวศแบบบูรณาการทั้ง ๓ ลุ่มน้ำ คือ ลุ่มน้ำสาขาแม่น้ำตรัง ลุ่มน้ำย่อยคลองท่าดี และลุ่มน้ำตาปี ซึ่งเป็นลุ่มน้ำที่มีแหล่งกำเนิดเดียวกัน คือ เทือกเขาหลวงนครศรีธรรมราช เพื่อให้ลุ่มน้ำทั้ง ๓ เป็นลุ่มน้ำที่สมบูรณ์ สามารถหล่อเลี้ยงทุกชีวิตในลุ่มน้ำอย่างยั่งยืนตลอดไป

  23. บันทึกข้อตกลงนี้ทำขึ้น ณ หอประชุมวิทยาลัยเทคโนโลยีภาคใต้ (เอส. เทค) อำเภอทุ่งสง จังหวัดนครศรีธรรมราช เมื่อวันที่ ๒๒ กรกฎาคม ๒๕๕๗ ระหว่างกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม จังหวัดนครศรีธรรมราช จังหวัดตรัง จังหวัดสุราษฎร์ธานี นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดนครศรีธรรมราช นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดตรัง นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดสุราษฎร์ธานี ผู้แทนเครือข่ายภาคประชาคมลุ่มน้ำสาขาแม่น้ำตรัง ผู้แทนเครือข่ายภาคประชาคมลุ่มน้ำย่อยคลองท่าดี ผู้แทนเครือข่ายภาคประชาคมลุ่มน้ำตาปี ผู้แทนองค์กร GIZ ผู้แทนองค์กร IUCN ผู้แทนมูลนิธิไทยรักษ์ป่า เป็นการเบื้องต้น

  24. บันทึกข้อตกลงฉบับนี้ มีสาระสำคัญ ดังนี้ ๑. ร่วมกันดูแลรักษาป่าต้นน้ำ ซึ่งเป็นแหล่งกำเนิดของลุ่มน้ำทั้ง ๓ ให้คงความอุดมสมบูรณ์ อย่างยั่งยืนตลอดไป ๒. ร่วมกันส่งเสริมการจัดการความรู้ จัดระบบฐานข้อมูล องค์ความรู้ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ประสบการณ์ เพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงานของท้องถิ่นและชุมชนทั้ง ๓ ลุ่มน้ำ ในการบริหารจัดการน้ำเชิงนิเวศแบบบูรณาการ ๓. ร่วมกันจัดทำแผนแม่บทและผลักดันกองทุนแทนคุณระบบนิเวศที่มาจากความร่วมมือของผู้มีส่วนได้ ส่วนเสียทุกภาคีภาคส่วนในพื้นที่แต่ละลุ่มน้ำ เพื่อเป็นเครื่องมือในการบริหารจัดการน้ำทั้ง ๓ ลุ่มน้ำ

  25. ๔. ร่วมผลักดันการนำแผนและมาตรการบริหารจัดการน้ำเชิงนิเวศแบบบูรณาการสู่การปฏิบัติ อย่างเป็นรูปธรรม ๕. ร่วมติดตามประเมินผลโดยความร่วมมือของทุกภาคส่วน ๖. ร่วมสนับสนุนและเสนอแนวทางพัฒนากลไกการขับเคลื่อนการบริหารจัดการน้ำเชิงนิเวศแบบบูรณาการ โดยให้ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในระดับพื้นที่เป็นกลไกหลักเพื่อให้ลุ่มน้ำทั้ง ๓ ลุ่มน้ำ สมดุลและยั่งยืน เป็นสายน้ำแห่งชีวิตสืบไป

More Related