1 / 40

แนวทาง การจัดทำแผนปฏิบัติราชการ ปีงบประมาณ พ.ศ.2558 ของหน่วยงาน กรมควบคุมโรค

เอกสาร หมายเลข 1. แนวทาง การจัดทำแผนปฏิบัติราชการ ปีงบประมาณ พ.ศ.2558 ของหน่วยงาน กรมควบคุมโรค. พรทิพย์ ศิริภานุมาศ ผู้อำนวยการกองแผนงาน. ประชุมสื่อสารแนวทางการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ ปี 2558 ของหน่วยงานกรมควบคุมโรค

Télécharger la présentation

แนวทาง การจัดทำแผนปฏิบัติราชการ ปีงบประมาณ พ.ศ.2558 ของหน่วยงาน กรมควบคุมโรค

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. เอกสาร หมายเลข 1 แนวทางการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ ปีงบประมาณ พ.ศ.2558 ของหน่วยงาน กรมควบคุมโรค พรทิพย์ ศิริภานุมาศ ผู้อำนวยการกองแผนงาน ประชุมสื่อสารแนวทางการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ ปี 2558 ของหน่วยงานกรมควบคุมโรค ผ่านระบบ VDO Conference ณ ห้องประชุมอายุรกิจโกศล ชั้น 2 อาคาร 1 กรมควบคุมโรค วันที่ 15 กรกฎาคม 2557

  2. เอกสารประกอบการประชุมเอกสารประกอบการประชุม

  3. นโยบายด้านการจัดทำงบประมาณ ปี 2558ของกระทรวงสาธารณสุข • 1. สอดคล้องกับนโยบายของ คสช./เจตนารมณ์ของหัวหน้าฝ่ายสังคมจิตวิทยา/ กระทรวงสาธารณสุข • เป็นเอกภาพ งบประมาณแต่ละกรม สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ที่ • เกี่ยวข้องกับภารกิจของกรมนั้น และเน้นบูรณาการยุทธศาสตร์ 10 ด้าน • 3. ไม่มีเพดานวงเงินกรม มีแต่เพดานวงเงินของกระทรวง • ลดความเหลื่อมล้ำ เพิ่มการเข้าถึงบริการ โดยการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิ เช่น การเพิ่มจำนวนแพทย์ประจำครอบครัวสำหรับคนไทย พัฒนาระบบบริการให้ดียิ่งขึ้น (Better service) เพื่อประชาชน • จัดระบบการบริหารจัดการ จัดระบบ กลไก ให้กระทรวงสาธารณสุขทำหน้าที่เป็นผู้กำหนดนโยบายระดับชาติด้านสุขภาพ กำกับ ตรวจสอบ (National Health Authority) และกลไกการขับเคลื่อนโดยเขตบริการสุขภาพ • บูรณาการตามยุทธศาสตร์ 10 ด้าน (ยุทธศาสตร์ 5 กลุ่มวัย, ควบคุมโรค, คุ้มครองผู้บริโภค, สิ่งแวดล้อมและสุขภาพ, ระบบบริการระดับปฐมภูมิ ทุติยภูมิ ตติยภูมิ) เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการทรัพยากรที่มีจำกัด ให้ได้ประโยชนสูงสุดต่อประชาชน • บูรณาการงบขาลงโดยใช้แผนปฏิบัติการรองรับงบประมาณ ปี 2558 ที่มา : สนย. สป. วันที่ 26 มิ.ย. 57

  4. 3 4 5 1 2 ประเด็นจากการตรวจเยี่ยมและมอบนโยบาย ประเด็นนโยบายจากหัวหน้าฝ่ายสังคมจิตวิทยา คณะรักษาความสงบแห่งชาติ เพิ่มโอกาสในการเข้าถึง ระบบบริการสุขภาพที่มีคุณภาพอย่างเท่าเทียม ขจัดการคอรัปชั่นเวลา ในการให้บริการของบุคลากร ทางการแพทย์และสาธารณสุข พัฒนาระบบการแพทย์ทางเลือก การวิจัยพัฒนาทางการแพทย์และสาธารณสุขโดยมุ่งเน้นการสร้างนวัตกรรมที่เป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาคุณภาพและการบริการ ในระบบสุขภาพ ปรับกระบวนทัศน์ ด้านสาธารณสุข ให้เป็นไปในลักษณะเชิงรุก โดยการกำหนด มาตรการสุขภาพ เพื่อการป้องกันเพิ่มมากขึ้น การใช้กลไก ของระบบสาธารณสุขช่วยการสร้าง ความปรองดอง และสมานฉันท์ ที่มา : สนย. สป. วันที่ 26 มิ.ย. 57

  5. Road Map การดำเนินงานของกระทรวงสาธารณสุข • ระยะเร่งด่วน • โครงการรวมใจปรองดองสมานฉันท์ • การพัฒนาระบบบริการให้ดียิ่งขึ้น • สร้างขวัญกำลังใจ • ธรรมมาภิบาลและกลไกตรวจสอบ ถ่วงดุล • บำบัดรักษา ฟื้นฟู ผู้เสพ ผู้ติดยาเสพติด และการเฝ้าระวังควบคุมการใช้ วัตถุเสพติด • ระยะกลาง • การปฏิรูประบบเขตบริการสุขภาพ • การปฏิรูประบบการเงินการคลัง • พัฒนาระบบข้อมูลด้านสุขภาพ • การพัฒนาและบังคับใช้กฎหมาย • การพัฒนากลไกสร้างเอกภาพในการกำหนดนโยบายสาธารณสุข (NHAB) • เสริมสร้างความพร้อมรองรับประชาคมอาเซีย • พัฒนางานสาธารณสุขชายแดนแรงงานต่างด้าว • ระยะยาว • จัดทำแผนการลงทุนของกระทรวงสาธารณสุข • จัดทำแผนการผลิตและพัฒนากำลังคน ปีงบประมาณ 2558 (ต.ค.57-ก.ย.58) – 2559 (ต.ค.58-ก.ย.59) ปีงบประมาณ 2560 ปีงบประมาณ 2557 (มิ.ย.-ก.ย.) • ได้พบแพทย์ รอไม่นาน อยู่ใกล้ ไกลได้รับยาเดียวกัน • ผู้ป่วยฉุกเฉินทุกสิทธิปลอดภัย • ผู้สูงอายุและคนพิการได้รับการดูแลฟื้นฟูต่อเนื่อง • มีกลไกการอภิบาลระบบที่เป็นระบบคุณธรรม • ประชาชนที่ได้รับผลกระทบด้านสังคมจิตใจ ได้รับการเยี่ยวยา • ผู้เสพ ผู้ติดยาและสารเสพติด ได้รับการบำบัดรักษา ฟื้นฟูตามเกณฑ์ที่กำหนด • มีกลไกกำหนดและกำกับนโยบายสาธารณสุขในระดับชาติ • ลดความเหลื่อมล้ำสิทธิรักษาพยาบาลระหว่างกองทุน • มีระบบบริการแบบเขตบริการสุขภาพ 12 เขต • ประชาชนเข้าถึงบริการได้มากขึ้น ระบบบริการมีคุณภาพและประสิทธิภาพ • ประชาชนได้รับการส่งต่อแบบเบ็ดเสร็จ ไร้รอยต่อในเขตบริการสุขภาพ • ประชาชานทั่วไปมีภูมิคุ้มกันและความเข้มแข็งทางจิตใจ • ระบบบริการของประเทศมีศักยภาพรองรับประชาคมอาเซียน • ประชาชนในพื้นทีชายแดน ชายขอบ และแรงงานต่างด้าว สามารถเข้าถึง บริการสาธารณสุขที่มีคุณภาพ • ประชาชนได้รับความเท่าเทียมในการรับบริการ • ระบบสุขภาพมีคุณภาพ มีประสิทธิภาพ สมาฉันท์ บนการมีส่วนร่วมของภาคประชาชน ประชาชนสุขภาพดี เจ้าหน้าที่มีความสุข • ประชาชนได้รับความคุ้มครองภายใต้กฎหมายด้านสุขภาพ ที่มา : สนย. สป. วันที่ 26 มิ.ย. 57

  6. 1 National Lead Policy Negotiation Strategic Implement Major Operational Plan Initiative 2) Model Development Technology Assessment CPG , Standard , Registration Law Enforcement Accreditation 3) Surveillance ดี - สถานการณ์ เสี่ยง - อัตราเสี่ยง / ป่วย ป่วย - อัตราตาย - เข้าถึงบริการ, ครอบคลุม - มีคุณภาพ 4) Technology Transfer Deployment To How, Social Communication 5) M&E, Problem Solving, Evaluation 5 หน้าที่ -Health Authorities ของกรม / สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ที่มา : สนย. สป. วันที่ 26 มิ.ย. 57

  7. 11 บทบาท NHA ที่มา : สนย. สป. วันที่ 26 มิ.ย. 57 การกำหนดนโยบายยุทธศาสตร์กลางของประเทศบนข้อมูลและฐานความรู้ การสร้างและจัดการความรู้ด้านสุขภาพ การประเมินนโยบายและเทคโนโลยีด้านสุขภาพ การกำหนดและรับรองมาตรฐานบริการต่าง ๆ การพัฒนาระบบกลไกการเฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน การพัฒนากลไกด้านกฎหมายเพื่อเป็นเครื่องมือในการดูแลสุขภาพประชาชน การพัฒนาความร่วมมือระหว่างประเทศหน่วยสื่อสารความรู้และขับเคลื่อน การกำกับดูแล ติดตาม และประเมินผลของภาครัฐ ท้องถิ่น และเอกชน การให้ข้อคิดเห็นต่อระบบการเงินการคลังด้านสุขภาพของประเทศ การพัฒนาข้อมูลข่าวสารให้เป็นระบบเดียว มีคุณภาพ ใช้งานได้ การกำหนดนโยบาย และจัดการกำลังคนด้านสุขภาพ

  8. การทำหน้าที่ NHA 5 หน้าที่ / 11 บทบาท และ นโยบาย คสช.กรมควบคุมโรค

  9. บูรณาการงบประมาณกสธ 5 กลุ่มวัย 4 ระบบ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ยุทธศาสตร์บูรณาการ 5 กลุ่มวัย ยุทธศาสตร์บูรณาการ 4 ระบบ กรมการแพทย์ ควบคุมโรค 1.ระบบบริการ 1.กลุ่มสตรีและเด็กปฐมวัย 2.ระบบควบคุมโรค 2.กลุ่มเด็กวัยเรียน แพทย์แผนไทย สุขภาพจิต 3.ระบบคุ้มครองผู้บริโภค 3.กลุ่มเด็กวัยรุ่น 4.กลุ่มวัยทำงาน อย. 4.ระบบสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ กรมวิทย์ฯ 5.กลุ่มผู้สูงอายุและผู้พิการ สบส. อนามัย ที่มา : สนย. สป. วันที่ 26 มิ.ย. 57

  10. ข้อเสนอคำของบประมาณรายจ่ายประจำปี พ.ศ. 2558 กรมควบคุมโรค หน่วยนับ : ล้านบาท ณ 30 มิ.ย. 57Key E budgeting

  11. การจำแนกกรอบเงิน/กรอบงาน ปี 2558 กรมควบคุมโรค สอดคล้องนโยบาย ทิศทาง ตาม 5 หน้าที่ 11 บทบาท NHA KPI 10+3 ยุทธศาสตร์บูรณาการ สธ 5 กลุ่มวัย/ระบบควบคุมโรค/สิ่งแวดล้อม Better Service / ASEAN /โครงการเฉลิมพระเกียรติฯ การจัดสรรงบประมาณ (3R) โรคและภัยตามจุดเน้น งานตาม function กรมฯ ระบบเฝ้าระวัง/R&D/HRD&HRM รวมงบดำเนินงาน รวมค่ายาและขั้นต่ำ 1,528.30 ลบ ณ 30 มิ.ย. 57Key E budgeting

  12. รายละเอียดงบประมาณรายจ่ายประจำปี พ.ศ. 2558 กรมควบคุมโรค (งบดำเนินโครงการ ไม่รวมขั้นต่ำ ประจำฯ) หน่วยนับ : ล้านบาท * ข้อมูลเบื้องต้น ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2557 12

  13. Q & A

  14. การจำแนกกรอบเงิน/กรอบงาน ปี 2558 กรมควบคุมโรค สอดคล้องนโยบาย ทิศทาง ตาม 5 หน้าที่ 11 บทบาท NHA KPI 10+3 ยุทธศาสตร์บูรณาการ สธ 5 กลุ่มวัย/ระบบควบคุมโรค/สิ่งแวดล้อม Better Service / ASEAN /โครงการเฉลิมพระเกียรติฯ การจัดสรรงบประมาณ (3R) โรคและภัยตามจุดเน้น งานตาม function กรมฯ ระบบเฝ้าระวัง/R&D/HRD&HRM รวมงบดำเนินงาน รวมค่ายาและขั้นต่ำ 1,528.30 ลบ ณ 30 มิ.ย. 57Key E budgeting

  15. สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุขสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข บูรณาการงบประมาณกสธ 5 กลุ่มวัย 4 ระบบ ยุทธศาสตร์บูรณาการ 5 กลุ่มวัย ยุทธศาสตร์บูรณาการ 4 ระบบ กรมการแพทย์ ควบคุมโรค 1.กลุ่มสตรีและเด็กปฐมวัย 1.ระบบบริการ 2.กลุ่มเด็กวัยเรียน แพทย์แผนไทย สุขภาพจิต 2.ระบบควบคุมโรค 3.กลุ่มเด็กวัยรุ่น 3.ระบบคุ้มครองผู้บริโภค 4.กลุ่มวัยทำงาน อย. กรมวิทย์ฯ 4.ระบบสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ 5.กลุ่มผู้สูงอายุและผู้พิการ สบส. อนามัย

  16. ตรวจจับเร็ว ตอบโต้ทัน ป้องกันได้ *(สน ระบาด แก้ไขรายละเอียดงบประมาณ จาก 265.4 เป็น 222.5535 ลบ. ) • ศักยภาพทีม SRRT (15.1 ล) • SRRT สามารถดำเนินการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคได้ ครบวงจร • งบประมาณ : • กรมควบคุมโรค = 15.1000 ลบ. • ระบบการตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน (92.75 ล) • มีระบบข้อมูล Real time • พัฒนาศูนย์ปฏิบัติการตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน • พัฒนาระบบสนับสนุนการปฏิบัติการ • งบประมาณ : • กรมควบคุมโรค = 37.0043ลบ. • สป.(สบรส.) = 46.2080 ลบ. • กรมอนามัย = 6.0377 ลบ. • กรมการแพทย์ = 3.5000 ลบ. • ระบบเฝ้าระวัง • (93.2 ล) • บูรณาการระบบเฝ้าระวังโรค (5 ระบบ 5 มิติ) • พัฒนาเจ้าหน้าที่ทุกระดับ สามารถจัดการระบบเฝ้าระวังได้ • งบประมาณ : • สป. (สบรส.) = 43.8691 ลบ. • กรมควบคุมโรค = 39.0023 ลบ.* • กรมสุขภาพจิต = 8.8090 ลบ. • กรมการแพทย์ = 1.5000 ลบ. มาตรฐานกฎอนามัยระหว่างประเทศ ตรวจจับเร็ว ตอบโต้ทัน ควบคุมโรคและภัยในพื้นที่และกลุ่มเป้าหมายพิเศษ ระบบควบคุมโรคและภัย รวมเงินทั้งสิ้น 222.5535 ลบ. • ประชากรต่างด้าว (4.2542 ล) • พัฒนาระบบมูลประชากรต่างด้าว • จัดให้ประชากรต่างด้าวเข้าถึงบริการป้องกันควบคุมโรคขั้นพื้นฐาน • งบประมาณ : กรมควบคุมโรค =1.9000 ลบ. • กรมอนามัย = 2.3542 ลบ. • ช่องทางเข้าออก (17.7 ล) • ระบบเฝ้าระวังช่องทางเข้าออก • ระบบบริหารจัดการ • สมรรถนะ • งบประมาณ : กรมควบคุมโรค 17.7000 ลบ. • สุขภาวะชายแดน (42.4 ล) • พัฒนาสุขภาวะชายแดนตามกรอบกฎอนามัยระหว่างประเทศ • งบประมาณ : • กรมควบคุมโรค = 14.0182 ลบ.* • สป.(สนย.) = 28.4000 ลบ.

  17. กรอบแนวคิดยุทธศาสตร์กระทรวงสาธารณสุขด้านพัฒนาสุขภาพกลุ่มวัยทำงาน ปี พ.ศ.2558 ผลลัพธ์ ลดปัญหาจากกลุ่มโรคไม่ติดต่อ (ลดพฤติกรรมเสี่ยง ลดป่วย ลดภาระแทรกซ้อน ลดตาย) บริการเชิงรุกสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค เพิ่มโอกาสการเข้าถึงบริการที่มีคุณภาพ อย่างเท่าเทียม นโยบาย คสช. ข้อ 4 นโยบาย คสช. ข้อ 1 รวมเงินทั้งสิ้น 134.5787 ลบ. กรม คร. 41.46 ลบ. กรม สบส. 27.74 ลบ กรม อ. 2.00 ลบ กรมจิต 1.00 ลบ สป. 62.38 ลบ ระบบการบริหารจัดการสุขภาพที่ดี

  18. โครงการเฉลิมพระเกียรติในวโรกาสทรงเจริญพระชนมายุ ครบ 60 พรรษา สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ปี พ.ศ. 2557-2558 สำรวจการได้รับวัคซีนในกลุ่มเสี่ยงและเร่งรัดเพิ่มความครอบคลุมในกลุ่มที่มีปัญหา รณรงค์ให้วัคซีนป้องกันโรคคอตีบในผู้ใหญ่อายุ 20-50 ปี ทั่วประเทศ รณรงค์ให้วัคซีนโปลิโอในจังหวัดชายแดนภาคใต้ ให้วัคซีนป้องกันโรคหัด ในเด็ก อายุ 2 ½ - 7 ปี

  19. จุดเน้น 5 ปี และกรอบการจัดทำแผนปฏิบัติการ กรมควบคุมโรค ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2557-58 NHL4 ผลสัมฤทธิ์ระบบการพัฒนาคุณภาพต่อเนื่องการป้องกัน ควบคุมโรค : “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” 19

  20. DDC Policy 2014-15 GOAL จุดเน้น 5 ประเด็น • ป้องกันควบคุมโรคภัยสุขภาพประชาชน (10+3 KPI) • พัฒนากลไกการเฝ้าระวัง ตอบสนองต่อโรคภัยสุขภาพ ภาวะปกติและฉุกเฉิน ให้ได้ Information • เชิงกว้าง 5 ระบบ โดย สำนักระบาดวิทยา • เชิงลึก โดยสำนัก/สถาบัน • การจัดการความรู้ รับรองมาตรฐาน ประเมินเทคโนโลยี • มาตรฐานการดำเนินงานป้องกันควบคุมโรคภัยสุขภาพ ของกรมฯ พร้อมใช้ ทันสถานการณ์ • สคร.ได้รับการrพัฒนาศักยภาพ (Scaling up 12 แห่ง) • อำเภอ Best Practice การดำเนินงานป้องกันควบคุมโรค ภัยสุขภาพ scaling up • พัฒนาสมรรถนะกำลังคนด้านป้องกันควบคุมโรค ภัยสุขภาพ สอดคล้องข้อ 1-3 • LDC, EDC, M&E ผู้ร่วมทีมผู้ตรวจฯ สาธารณสุขนิเทศก์ และ DCSR • พัฒนาระบบบริหารสนับสนุนการพัฒนาบริการวิชาการ • ร้อยละรายการจัดซื้อจัดจ้าง งบลงทุนลงนามสัญญา ไตรมาส1 (100) • ร้อยละเบิกจ่ายงบประมาณภาพรวมประจำปี (ไม่น้อยกว่าร้อยละ 95) • ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักการบรรลุเป้าหมายผลผลิตของกรม (ร้อยละ 100) งานสำเร็จ มีความสุข สร้างคน สร้างระบบ 5 I 3ส

  21. DDC Policy 2014-15 GOAL 10+3 KPI ด้านประสิทธิผล ร้อยละของเด็กที่มีพัฒนาการสมวัย (ไม่น้อยกว่า 85) ความชุกของผู้บริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในปชก.อายุ 15 - 19 ปี (ไม่เกินร้อยละ 13) อัตราตายจากอุบัติเหตุทางถนน (ไม่เกิน 20 ต่อปชก.แสนคน) อัตราตายจากโรคหลอดเลือดหัวใจ (ไม่เกิน 23 ต่อปชก.แสนคน) อัตราป่วยด้วยโรคหัดในเด็กอายุต่ำกว่า 5 ปี (ไม่เกิน 20 ต่อปชก.เด็กอายุต่ำกว่า 5 ปี แสนคน) เหตุการณ์ระบาดด้วยโรคอาหารเป็นพิษลดลง ร้อยละ 50 จากค่าเฉลี่ยข้อมูล 5 ปีย้อนหลัง (ไม่เกิน 35 เหตุการณ์) อัตราความสำเร็จของการรักษาวัณโรค (มากกว่าหรือเท่ากับ ร้อยละ 90) อัตราป่วยโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ลดลงจากปีที่ผ่านมา (ร้อยละ 5) (เป็น proxy indicator จำนวนผู้ติดเชื้อเอชไอวีรายใหม่) อัตราการติดเชื้อในโรงพยาบาลลดลง (ไม่เกินร้อยละ 8) ร้อยละของเกษตรกรที่ตรวจพบว่ามีความเสี่ยงและไม่ปลอดภัยต่อพิษสารกำจัดศัตรูพืช (ไม่เกินร้อยละ 32) Road Map การพัฒนาศูนย์การศึกษาและพัฒนาวิชาการด้านเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรค ระดับนานาชาติ(1 แผน) ร้อยละของด่านช่องทางเข้าออกระหว่างประเทศที่เป็นเป้าหมายผ่านเกณฑ์การประเมิน (ร้อยละ 50) ร้อยละของจังหวัดชายแดนที่เป็นเป้าหมายผ่านเกณฑ์การประเมิน (ร้อยละ 50) งานสำเร็จ มีความสุข สร้างคน สร้างระบบ 5 I 3ส

  22. กระบวนการจัดทำแผนปฏิบัติการ ประจำปี 2558 กรมควบคุมโรค

  23. Identifying Plan of Action • Situation Analysis • Gap analysis • Priority Setting • Strategy champions • Action Plans • Goal setting • Need identifying Strategic Objective • Statistics • Progress • Benchmark Strategy • Budget • Time • Manpower • IT KRI/ KPI • Present burden of problem • Severity of problem • Epidemic potential • Social & economic impact • Ease of management orFeasibility • Health gain opportunity • Public perception • Necessity • Method • Process

  24. Frame for gap analysis • Targeting => provinces, districts, settings ( เช่น ตลาด โรงเรียน ศูนย์เด็กเล็ก เรือนจำ เป็นต้น) • Backbone infrastructure: • Surveillance system & mechanism • Manpower => Quantity of experts (proportion to pop) • DDC strategy • Strategic partners & agencies: number, skillfulness • DC Products & Services: • Intervention (KM, HTA); innovation (MD), standard • Public communication: segmented groups • Public health emergency response (if needed) • M&E; forecasting: tool, frequency

  25. ประเด็นโรคและภัยสุขภาพสำคัญ ของพื้นที่เขต “ตัวอย่าง” *ตัวหนังสือสีแดง หมายถึง โรคและภัยสุขภาพที่ได้จากการกระบวนการวิเคราะห์จุดเน้น 5 ปี

  26. การจัดลำดับความสำคัญของปัญหาโรคและภัยสุขภาพ (1) ขนาดของปัญหา (Present burden of problem) (2) ความรุนแรงของปัญหา (Severity of problem) (3) ความเป็นไปได้ของการระบาด (Epidemic potential) (4) ผลกระทบด้านเศรษฐกิจและสังคม (Social & economic impact) (5) ความยากง่ายในการแก้ปัญหา (Ease of management orFeasibility) (6) โอกาสหรือความเป็นไปได้ที่จะมีสุขภาพที่ดีขึ้น จากการดำเนินกิจกรรมด้านสาธารณสุข (Health gain opportunity through public health activities) (7) ความตระหนัก (Public perception)

  27. ประเด็นโรคและภัยสุขภาพสำคัญของพื้นที่เขต “ตัวอย่าง” หลังจัดลำดับความสำคัญ* *ตามเกณฑ์แนวทางการจัดลำดับความสำคัญ 7 ข้อ ปรับจากขององค์การอนามัยโลก

  28. ตัวอย่าง “แผนยุทธศาสตร์สคร.ในการสนับสนุนเครือข่ายในการการลดโรคและภัยสุขภาพ โรค NCD”

  29. ตัวอย่าง “แผนยุทธศาสตร์สคร.ในการสนับสนุนเครือข่ายในการการลดโรคและภัยสุขภาพ โรค NCD” ขั้นที่ 1. พิจารณามาตรการตามรายโรคและภัยสุขภาพ ที่ได้รับการจัดลำดับว่าสำคัญ แยกตามกลุ่มงานที่เกี่ยวข้องในการจัดการปัญหา

  30. ตัวอย่าง “แผนยุทธศาสตร์สคร.สนับสนุนการลดโรคและภัยสุขภาพด้วยการสื่อสารฯ” ขั้นที่ 2. พิจารณาตามพื้นที่ดำเนินการ (setting) โดยบูรณาการมาตรการเข้าด้วยกัน โครงการพัฒนาการสื่อสารความเสี่ยงและสื่อสารเตือนภัย

  31. “ตัวอย่าง”การเชื่อมโยงการบูรณาการยุทธศาสตร์ กรมควบคุมโรค เพื่อสนับสนุนการลดโรคและภัยสุขภาพ จัดกลุ่มกิจกรรมเพื่อนำไปสู่การจัดทำแผนงาน/โครงการเพื่อขอรับการจัดสรรงบประมาณ

  32. (ร่าง) การจัดทำรายละเอียดแผนปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2558 (เฉพาะงบดำเนินโครงการ+โครงการยา) ณ วันที่ 30 มิ.ย.57 1.ผลิตภัณฑ์เฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรค และภัยสุขภาพ 24 เรื่อง 2.เสริมสร้างศักยภาพการจัดการ ระบบเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรค และภัยสุขภาพ 1,566 หน่วยงาน 3. เฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคที่เป็น ปัญหาสำคัญ 5,900,000 ราย 4.บริการรักษา ฟื้นฟูสภาพ เฉพาะโรคในกลุ่มโรคติดต่อสำคัญ โรคอุบัติใหม่และภัย 272,700 ราย 5.โครงการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคติดต่อฯ ของด่านเข้าออกประเทศ/ จังหวัดชายแดน 51 ด่าน 6.การวิจัยและพัฒนา ด้านการป้องกัน ควบคุมโรคและ ภัยสุขภาพ 39 เรื่อง ผลผลิต 1.1 ศึกษา ค้นคว้า พัฒนาวิชาการและ จัดการองค์ความรู้ ด้านการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรค และภัยสุขภาพ 24 เรื่อง 2.1 พัฒนาบริหารจัดการระบบเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพ 5 ระบบ 5.1พัฒนาสมรรถนะ ด่านช่องทางเข้าออกประเทศ และจังหวัดชายแดน เพื่อรองรับการเข้า สู่ประชาคมอาเซียน 51 ด่าน 6.1 ส่งเสริม สนับสนุน และยกระดับการวิจัย และพัฒนาด้านการ ป้องกันควบคุมโรค และภัยสุขภาพ 39 เรื่อง 4.1 บริการรักษา ฟื้นฟูสภาพเฉพาะโรคในกลุ่มโรคติดต่อสำคัญ อุบัติใหม่และภัยฯ 272,000 ราย 3.1 บริการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพที่เป็นปัญหารุนแรงและกลุ่มเป้าหมายพิเศษ 5,900,000 ราย กิจกรรมหลัก (13) หน่วยงานจัดทำ 1 โครงการใหญ่ ต่อ 1 กิจกรรมหลัก *กำหนดชื่อโครงการใหญ่ ให้สอดคล้องกับชื่อกิจกรรมหลักและตามด้วยชื่อหน่วยงาน โดยกำหนดเป้าหมายของโครงการใหญ่ให้สอดคล้องกับเป้าหมายของกิจกรรมหลัก และยุทธศาสตร์กรมฯ โครงการพัฒนาวิชาการและจัดการ องค์ความรู้ด้านการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพสำนัก... (เป้าหมาย /...งปม.) โครงการใหญ่ ปี 2558 โครงการย่อยที่ 1. การพัฒนาผลิตภัณฑ์ ทางวิชาการ .... เรื่อง ... บาท โครงการย่อย ที่ 2. (เป้าหมาย../งปม.) โครงการย่อย ที่... ฯลฯ (เป้าหมาย../งปม.) โครงการย่อย โครงการย่อย สามารถมีได้มากกว่า 1 โครงการ (ระบุเป้าหมายโครงการ และกลุ่มวัยให้สอดคล้องกับ แผนบูรณาการยุทธศาสตร์สธ.) กิจกรรมโครงการย่อยที่ 1. การพัฒนาคู่มือการดำเนินงานป้องกันแก้ไขปัญหาเอดส์ ผ่านกลไกอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน... งปม. เชื่อมกิจกรรมโครงการกับทิศทางการดำเนินงานของกรมฯ ได้แก่ จุดเน้น / ภารกิจพื้นฐานกรมฯ และกลุ่มวัยให้สอดคล้องกับ แผนบูรณาการยุทธศาสตร์สธ. กิจกรรมโครงการ ประเภทค่าใช้จ่าย • ค่าเบี้ยเลี้ยง ที่พักพาหนะ....บาท • ค่าวัสดุสำนักงาน ... บาท • ค่าวัสดุเชื้อเพลิงฯ ... บาท • ฯลฯ ระบุประเภทค่าใช้จ่าย และงบประมาณเท่านั้น

  33. Q & A

  34. ข้อตกลง การจัดทำแผนปฏิบัติราชการ ปี 2558 ของหน่วยงาน • จัดทำรายละเอียดตามแบบฟอร์ม • โครงการตามแผนปฏิบัติราชการของหน่วยงานในสังกัดกรมควบคุมโรค ปี 58 • สรุปแผนปฏิบัติราชการของหน่วยงานในสังกัดกรมควบคุมโรค ปี 58 • แผนการจัดซื้อยา เวชภัณฑ์ที่มิใช้ยา วัคซีน วัสดุวิทยาศาสตร์ และสารเคมี ปี 58 • ผลการวิเคราะห์สถานการณ์ / สถานะสุขภาพในเขตบริการสุขภาพที่สคร. รับผิดชอบ (สำเนา 2 ฉบับ ฉบับแรกใช้ประกอบการจัดทำแผนเขตสุขภาพ ฉบับที่ 2 ส่งกองแผนเพื่อประมวลส่งให้กระทรวงฯ) • กำหนดส่งให้กองแผนงานทาง E mail : budgetddc@hotmail.comภายในวันที่ 5 สิงหาคม 2557

  35. สรุปประเด็นสำคัญที่มีการปรับเปลี่ยนในการจัดทำแผนฯ 58 • ปรับเพิ่มผลผลิตและกิจกรมหลัก โดยเพิ่ม • ผ.6 และ ก.6.1 วิจัย สำหรับงบวิจัย เท่านั้น • ก.2.6 เทคโนโลยีสารสนเทศ สำหรับค่าใช้จ่ายที่รอบรับระบบสาระสนเทศ เช่น วัสดุคอมฯ การพัฒนาระบบ IT รวมทั้ง Website • รวมทั้งปรับชื่อ ก. 2.5 จากเดิมเป็นบูรณาการพัฒนาด้านสุขภาพ • โครงการในกิจกรรมบูรณาการหลักที่ 2.5 มีการกำหนดรายละเอียดโครงการและกิจกรรมไว้แล้ว (รอความชัดเจนจากกระทรวงสธ. และจะสื่อสารให้หน่วยงานทราบในภายหลัง ทั้งนี้อาจมีการสื่อสารในภาพของกระทรวงฯ) • ปรับวิธีการจัดทำโครงการ ตามกิจกรรมหลัก ของโครงสร้างงบประมาณ

  36. สรุปประเด็นสำคัญที่มีการปรับเปลี่ยนในการจัดทำแผนฯ 58 (ต่อ) • แบบฟอร์มการจัดทำแผน มี 4 ฟอร์ม ได้แก่ 1) ฟอร์มสรุปแผนฯ 58 2) ฟอร์ม Full Paper 3) ฟอร์มผลการวิเคราะห์สถานการณ์ และ 4) ฟอร์มแผนการจัดซื้อยา เวชภัณฑ์ที่มิใช่ยา 58 • ปรับแบบฟอร์ม Full Paper ให้สอดคล้องกับการบันทึกข้อมูลในระบบ ESM มากขึ้น • จัดทำฟอร์ม Excel ทั้งหมด ส่งกองแผนงาน ในวันที่ 5 ส.ค. 57 ทาง E-mail : budgetddc@hotmail.com พร้อมทั้งนำส่งฟอร์มสรุปแผนฯ อย่างเป็นทางการ เพื่อเสนอกรมฯ พิจารณาเห็นชอบแล้วจึงบันทึกข้อมูลในระบบ ESM

  37. เกณฑ์การจัดสรรงบประมาณ 2558 • ผลการดำเนินงานและการเบิก – จ่ายงบประมาณ ในปี 57 • ผลการวิเคราะห์สถานการณ์ / สถานะสุขภาพในพื้นที่ • การกำหนดมาตรการที่สอดคล้องกับสภาพปัญหา ในข้อ 2 • จำนวนพื้นที่ (จังหวัด , อำเภอ) / พื้นที่ดำเนินการ / กลุ่มเป้าหมาย • การพัฒนาเครื่องมือเพื่อการติดตามและประเมินผล ที่เพิ่มเติมจากระบบรายงานปกติ เช่น การทำ Rapid Survey หรือ Quick Survey

  38. (ร่าง3) ปฏิทินการจัดทำแผนปฏิบัติราชการของหน่วยงานสังกัดกรมควบคุมโรค ปี 2558 3 - 4 ก.ค. 57 สื่อสารทิศทาง /แนวทางการจัดทำแผนปี 58 15 ก.ค. 57 ชี้แจงการจัดทำแผนและพจนานุกรมกิจกรรม ปี 58 30 ก.ย. 57 อนุมัติแผนฯ ปี 58 16 ก.ค. – 5 ส.ค. 57 หน่วยงานจัดทำ (ร่าง) แผนปฏิบัติราชการ สัปดาห์ที่ 3 – 4 ของ ก.ย. 57 เสนอกรมฯ และกระทรวงให้ความเห็นชอบ 6 – 19 ส.ค. 57 กองแผนงานประมวล ให้ข้อสังเกตต่อแผนฯ เบื้องต้น 5 – 11 ก.ย. 57 กองแผนงาน ตรวจสอบความ ถูกต้องของรายละเอียดแผนงาน 20 – 21 ส.ค. 57 คณะกรรมการฯ พิจารณาให้ความเห็น และสรุปข้อเสนอแนะ 22 ส.ค. – 4 ก.ย. 57 หน่วยงาน บันทึกรายละเอียดแผน ทุกงบรายจ่าย พร้อมส่งเข้าเมนูกลั่นกรองในระบบ ESM * ข้อมูล ณ วันที่ 9 กรกฎาคม 2557

  39. Q & A

  40. ขอบคุณค่ะ

More Related