1 / 53

ราชการจะรับมืออย่างไร เมื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียน 2558

ราชการจะรับมืออย่างไร เมื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียน 2558. ชาญวิทย์ ไกรฤกษ์ รองเลขาธิการ ก.พ. 10 มิถุนายน 2556. 1. หัวข้อที่จะบรรยาย. กระแสโลกาภิวัตน์และสภาพแวดล้อมภายนอกประเทศที่มีผลกระทบต่อการบริหารราชการ ศักยภาพของประเทศในการแข่งขันเวทีโลก บทบาทและทิศทางของประเทศไทยในอนาคต

Télécharger la présentation

ราชการจะรับมืออย่างไร เมื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียน 2558

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ราชการจะรับมืออย่างไรเมื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียน2558ราชการจะรับมืออย่างไรเมื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียน2558 ชาญวิทย์ ไกรฤกษ์ รองเลขาธิการ ก.พ. 10 มิถุนายน 2556 1

  2. หัวข้อที่จะบรรยาย กระแสโลกาภิวัตน์และสภาพแวดล้อมภายนอกประเทศที่มีผลกระทบต่อการบริหารราชการ ศักยภาพของประเทศในการแข่งขันเวทีโลก บทบาทและทิศทางของประเทศไทยในอนาคต ราชการจะรับมือย่างไรเมื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียนปี 2558

  3. กระแสโลกาภิวัตน์และสภาพแวดล้อมภายนอกประเทศที่มีผลกระทบต่อการบริหารราชการกระแสโลกาภิวัตน์และสภาพแวดล้อมภายนอกประเทศที่มีผลกระทบต่อการบริหารราชการ

  4. ภาวะความเสี่ยงในประเทศในช่วง พ.ศ. 2555 - 2559 การบริหารภาครัฐอ่อนแอ โครงสร้างทางเศรษฐกิจไม่สามารถรองรับการเจริญเติบโตอย่างยั่งยืน โครงสร้างประชากรที่มีวัยสูงอายุเพิ่มขึ้น ขณะที่ประชากรวัยเด็กและวัยแรงงานลดลง ค่านิยมที่ดีงามของไทยเสื่อมถอย ฐานทรัพยากรธรรมชาติและสภาพแวดล้อมของประเทศมีแนวโน้มเสื่อมโทรมรุนแรง ประเทศไทยยังคงมีความเสี่ยงด้านความมั่นคง ที่มา : สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ

  5. ศักยภาพของประเทศไทยในการแข่งขันเวทีโลกศักยภาพของประเทศไทยในการแข่งขันเวทีโลก

  6. PERCจัดอันดับระบบราชการไทยมีประสิทธิภาพเป็นอันดับ 3ของเอเชียตะวันออก และเอเชียตะวัน ออกเฉียงใต้ (ปี 2553) **Political and Economic Risk Consultancy หรือ PERC เป็นบริษัทที่ปรึกษาด้านความเสี่ยงทางการ เมืองและเศรษฐกิจของฮ่องกง ซึ่งเป็นองค์กรระดับสากลที่ให้คำปรึกษาด้านข้อมูลทางธุรกิจและการวิเคราะห์เชิงกลยุทธ์สำหรับการประกอบธุรกิจ **เป็นผลมาจากการสำรวจความคิดเห็นของผู้บริหารชาวต่างชาติที่เข้าไปประกอบ ธุรกิจการค้าในประเทศแถบเอเชียตะวันออก และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ รวม 12 ประเทศ

  7. ศักยภาพของไทยในอาเซียนศักยภาพของไทยในอาเซียน ที่มา : สำนักเลขาธิการอาเซียน 2010

  8. Corruption Perception Index 2012 (147 ประเทศ)(คะแนนเต็ม 100 คะแนน) ที่มา : Transparency International

  9. 10

  10. 11

  11. Global Competitiveness Index (144 countries) 2011 2012 12 World Economic Forum Report

  12. Financial Development Index 2011(60 countries) Network Readiness Index 2012 (142 countries) 13 World Economic Forum Report

  13. Doing Business 2013(ศักยภาพการแข่งขันทางธุรกิจ-185 ประเทศ ) World Bank 14

  14. ค่าแรงขั้นต่ำในอาเซียนค่าแรงขั้นต่ำในอาเซียน ที่มา : สำนักงานบริหารแรงงานไทยไปต่างประเทศ

  15. ไทยก็มีส่วนร่วม....... • ปล่อยก๊าซเรือนกระจกมากเป็นอันดับที่ 31 ของโลก หรืออันดับ 4 ของอาเซียน ทำให้อุณหภูมิเฉลี่ยของไทยสูงขึ้น • จำนวนวันที่มีอากาศร้อน(ร้อนกว่า 35 องศาเซลเซียส)เพิ่มขึ้น • ระดับน้ำทะเลมีอัตราเพิ่มสูงขึ้น 20 มิลลิเมตรต่อปี นับตั้งแต่ปี พ.ศ.2503 • เกิดการกัดเซาะชายฝั่งอ่าวไทยถึงขั้นวิกฤติ • คาดว่าความสูญเสียในแต่ละปี จะมีมูลค่าถึง 4.5 แสนล้านบาท หรือครึ่งหนึ่งของงบประมาณแผ่นดิน • ภาคที่มีอุณหภูมิสูงขึ้นในช่วงกลางวันคือ ภาคกลาง ภาคตะวันตก และภาคเหนือตอนล่าง ส่วนคืนที่เย็นจะหายไปเรื่อย ๆ • มีผู้เจ็บป่วยจากความร้อนเพิ่มขึ้น โดยจังหวัดที่มีผู้ป่วยสูงสุดคือ มุกดาหาร นครราชสีมา และกาญจนบุรี ข้อมูลปี พ.ศ.2555 16

  16. อัตราการสูญเสียพื้นที่ป่าไม้ในภูมิภาคอาเซียนอัตราการสูญเสียพื้นที่ป่าไม้ในภูมิภาคอาเซียน 17 กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ ฯ

  17. ดัชนีความสามารถด้านภาษาอังกฤษ (EF English Proficiency Index)ปี 2011 ของสถาบันสอนภาษา Education First (EF) • ดัชนีนี้มาจากการรวบรวมข้อมูลจากประชากรในวัยทำงานกว่า 2 ล้านคนใน 44 ประเทศที่ภาษาอังกฤษไม่ได้เป็นภาษาแม่ทั่วโลก การวัดผลก็จะวัดจากการทดสอบความสามารถด้านภาษาอังกฤษ • พบว่าความสามารถด้านภาษาอังกฤษของไทยอยู่ในอันดับที่ 42 จาก 44 ประเทศ โดยจัดอยู่ในกลุ่มความสามารถด้านภาษาอังกฤษต่ำมาก (Very LowProficiency) • เทียบเฉพาะประเทศ ในทวีปเอเชียที่ทำการวิจัยมี 13 ประเทศ ปรากฏว่าประเทศที่มีความสามารถด้านภาษาอังกฤษสูงสุด ได้แก่ มาเลเซีย รองลงมา คือ ฮ่องกง เกาหลีใต้ ญี่ปุ่นไต้หวัน ซาอุดีอาระเบีย จีน อินเดีย รัสเซีย อินโดนีเซีย เวียดนาม ไทย คาซัคสถาน ตามลำดับ • ที่น่าสังเกตคือ ประเทศไทยเป็นประเทศที่ให้ความสำคัญของภาษาอังกฤษในระดับที่สูงมาก เด็ก ๆ จะเรียนภาษาอังกฤษตั้งแต่ชั้นประถมนับถึงมหาวิทยาลัยซึ่งมากกว่า 10 ปี แต่ทาไมภาษาอังกฤษของเด็กไทยถึงยังแพ้เวียดนาม

  18. บทบาทและทิศทางของประเทศไทยในอนาคตบทบาทและทิศทางของประเทศไทยในอนาคต

  19. ยุทธศาสตร์ประเทศ/ยุทธศาสตร์การเข้าสู่ประชาคมอาเซียน(รัฐบาล นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี) 1.การเพิ่มขีดความสามารถ ในการแข่งขันของประเทศ เพื่อหลุดพ้นจากประเทศ รายได้ปานกลาง มกราคม 2556 3.การเติบโตที่เป็นมิตร กับสิ่งแวดล้อม 4.การสร้างสมดุลและปรับระบบ บริหารจัดการภายในภาครัฐ 2.การลดความเหลื่อมล้ำ ยุทธศาสตร์การบูรณาการรัฐบาลอิเล็คทรอนิคส์ (e-Government) มติคณะรัฐมนตรีวันที่ 4 มิถุนายน 2556

  20. คนจนในสิงคโปร์

  21. นโยบายรัฐบาล(แถลงต่อรัฐสภาวันที่ 23 สิงหาคม 2554) นำประเทศไทยสู่การเป็นประชาคมอาเซียนในปี 2558 อย่างสมบูรณ์ โดยสร้างความพร้อมและความเข้มแข็งทั้งทางด้านเศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม และการเมืองและความมั่นคง เร่งดำเนินการตามข้อผูกพันในการรวมตัวเป็นประชาคมอาเซียนในปี 2558 ทั้งในมิติเศรษฐกิจ สังคม และความมั่นคง ตลอดจนการเชื่อมโยงเส้นทางคมนาคมขนส่งภายในและภายนอกภูมิภาค ส่งเสริมความร่วมมือและเชื่อมโยงทางวัฒนธรรมและเสริมสร้างความสัมพันธ์อันดีกับประชาคมอาเซียน สร้างความสามัคคีและส่งเสริมความร่วมมือระหว่างประเทศอาเซียน เพื่อให้บรรลุเป้าหมายในการจัดตั้งประชาคมอาเซียน เตรียมความพร้อมขอบทุกภาคส่วนในการเข้าสู่ประชาคมอาเซียนในปี 2558 ทั้งในด้านเศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม และความมั่นคง 22 22

  22. ราชการจะรับมืออย่างไรเมื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียนปี 2558

  23. ประชาคมอาเซียน 31 ธันวาคม 2558 ความจำเป็นและทิศทางการจัดตั้งประชาคมอาเซียน 10 ประเทศสมาชิก ต้องร่วมมือกันในการ สร้างความเข้มแข็ง แผนงานจัดตั้งประชาคม ด้านการเมือง และความมั่นคง กฎบัตรอาเซียน ด้านสังคม และวัฒนธรรม Master Plan of ASEAN Connectivity ด้านเศรษฐกิจ 24 24

  24. กฎบัตรอาเซียน ลงนามร่วมกัน เมื่อ 20 พฤศจิกายน 2550 25

  25. ยุทธศาสตร์ประเทศยุทธศาสตร์การเข้าสู่ประชาคมอาเซียนยุทธศาสตร์ประเทศยุทธศาสตร์การเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ประเด็นที่ต้องเร่งดำเนินการ ก่อนการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ปี 2558 การเมืองและ ความมั่นคง เศรษฐกิจ สังคมและ วัฒนธรรม

  26. ยุทธศาสตร์ประเทศยุทธศาสตร์การเข้าสู่ประชาคมอาเซียนยุทธศาสตร์ประเทศยุทธศาสตร์การเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ประเด็นที่ต้องเร่งดำเนินการ ก่อนการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ปี 2558 เศรษฐกิจ

  27. ยุทธศาสตร์ประเทศยุทธศาสตร์การเข้าสู่ประชาคมอาเซียนยุทธศาสตร์ประเทศยุทธศาสตร์การเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ประเด็นที่ต้องเร่งดำเนินการ ก่อนการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ปี 2558 สังคมและ วัฒนธรรม

  28. ยุทธศาสตร์ประเทศยุทธศาสตร์การเข้าสู่ประชาคมอาเซียนยุทธศาสตร์ประเทศยุทธศาสตร์การเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ประเด็นที่ต้องเร่งดำเนินการ ก่อนการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ปี 2558 การเมืองและ ความมั่นคง

  29. ASEAN Community 2015 คณะกรรมการอาเซียนแห่งชาติ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ-ประธาน ประชาคมการเมือง และความมั่นคงอาเซียน ASEAN Politicaly-Security Community ประชาคมสังคม และวัฒนธรรมอาเซียน ASEAN Socio-Cultural Community ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ASEAN Economic Community กระทรวงการต่างประเทศ ผู้ประสานงานหลัก กระทรวงการพัฒนาสังคม ฯ ผู้ประสานงานหลัก กระทรวงพาณิชย์ ผู้ประสานงานหลัก 30 30

  30. ประชาคมการเมือง และความมั่นคงอาเซียน ประชาคมสังคม และวัฒนธรรมอาเซียน ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน • เพื่อให้ประเทศสมาชิกอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข และแก้ไขปัญหาโดยสันติวิธี • ร่วมกันเผชิญหน้าภัยคุกคามรูปแบบใหม่ เช่น การก่อการร้าย ยาเสพติด การค้ามนุษย์ • ส่งเสริมความร่วมมือทางทะเล • อื่น ๆ • เพื่อให้ภูมิภาคมีความมั่งคั่ง มั่นคงทางเศรษฐกิจ และสามารถแข่งขันกับภูมิภาคอื่นได้ • ทำให้อาเซียนเป็นตลาดและฐานการผลิตเดียว • ให้เกิดการไหลเวียนอย่างเสรีของสินค้า บริการ การลงทุน เงินทุน แรงงานฝีมือ • อื่น ๆ • เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชน • เสริมสร้างอัตลักษณ์ทางวัฒนธรรมของอาเซียน • สร้างประชาสังคมที่เอื้ออาทร • ส่งเสริมความยั่งยืนเรื่องสิ่งแวดล้อม • ส่งเสริมความเข้าใจระหว่างประชาชนในระดับรากหญ้า • อื่น ๆ 31 31

  31. Master Plan of ASEAN Connectivity แผนแม่บทความเชื่อมโยงระหว่างกันในอาเซียน ความเชื่อมโยงทางโครงสร้างพื้นฐาน ความเชื่อมโยงทางกฎระเบียบ ความเชื่อมโยงทางประชาชน 32 32

  32. 1.ความเชื่อมโยงทางโครงสร้างพื้นฐาน1.ความเชื่อมโยงทางโครงสร้างพื้นฐาน 33 33

  33. 2.ความเชื่อมโยงทางกฎระเบียบ2.ความเชื่อมโยงทางกฎระเบียบ 35

  34. 2.ความเชื่อมโยงทางกฎระเบียบ2.ความเชื่อมโยงทางกฎระเบียบ 36 36

  35. 3.ความเชื่อมโยงทางประชาชน3.ความเชื่อมโยงทางประชาชน 37 37

  36. 3.ความเชื่อมโยงทางประชาชน3.ความเชื่อมโยงทางประชาชน 38 38

  37. ทุกหน่วยงานต้องดำเนินทุกหน่วยงานต้องดำเนิน การตามมาตรการต่าง ๆ ตามแผนงานการจัดตั้ง ประชาคมอาเซียนแต่ละเสา ตามที่ตนได้รับมอบหมาย

  38. ตัวอย่างความรับผิดชอบของหน่วยงาน(ตามแผนงานการจัดตั้งประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน)ตัวอย่างความรับผิดชอบของหน่วยงาน(ตามแผนงานการจัดตั้งประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน) 40

  39. ตัวอย่างความรับผิดชอบของหน่วยงาน(ตามแผนงานการจัดตั้งประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน)ตัวอย่างความรับผิดชอบของหน่วยงาน(ตามแผนงานการจัดตั้งประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน) 41

  40. ตัวอย่างความรับผิดชอบของหน่วยงาน(ตามแผนงานการจัดตั้งประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน)ตัวอย่างความรับผิดชอบของหน่วยงาน(ตามแผนงานการจัดตั้งประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน) 42

  41. เทคโนโลยี สารสนเทศ การให้ บริการ การบริหาร งานบุคคล การสื่อสาร ปรับทัศนคติ ทุกหน่วยงานต้องปรับปรุงประสิทธิภาพการทำงาน ในภารกิจของตนที่เกี่ยวกับอาเซียน นโยบาย กฎ ระเบียบ วัฒนธรรม การทำงาน ทัศนคติ

  42. คุณลักษณะของบุคลากรภาครัฐที่พึงประสงค์สู่การรวมตัวของประชาคมอาเซียนคุณลักษณะของบุคลากรภาครัฐที่พึงประสงค์สู่การรวมตัวของประชาคมอาเซียน มีความเป็นนานาชาติ มีความเป็นมืออาชีพ มีความเป็นผู้สนับสนุน 44

  43. ความรู้ที่ข้าราชการต้องมีความรู้ที่ข้าราชการต้องมี ปรับทัศนคติ ความรู้เรื่องอาเซียน ความรู้เรื่องประเทศ สมาชิกอาเซียน • ความเป็นมา/เป้าหมายของสมาคมอาเซียน • กฎบัตรอาเซียน • ความเป็นมา/เป้าหมายของประชาคมอาเซียน • แผนงานการจัดตั้งประชาคมอาเซียนในแต่ละเสา • ฯ ล ฯ • ประวัติศาสตร์ของประเทศสมาชิก • สภาพเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม การเมืองของประเทศสมาชิก • จุดเด่นของแต่ละประเทศ • ฯ ล ฯ ความรู้เฉพาะเรื่อง ตามภารกิจ ของส่วนราชการ + นโยบายต่างประเทศ ของไทย 45

  44. ทักษะที่ข้าราชการต้องมีทักษะที่ข้าราชการต้องมี ทักษะทั่วไป ทักษะเฉพาะ • ภาษาอังกฤษ(การฟัง เขียน พูด) • การประชุมนานาชาติ • การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่ทันสมัย • การเจรจาต่อรอง • การบริหารความเสี่ยง • การติดต่อประสานงาน • ฯ ล ฯ • ภาษาประเทศเพื่อนบ้าน • การวิเคราะห์ตลาด/การวิเคราะห์คู๋แข่ง • การวางแผนเชิงกลยุทธ • การยกร่าง MOUสัญญาระหว่างประเทศ • การบริหารแรงงานต่างด้าว • การวางแผนกำลังคนเชิงกลยุทธ • ฯ ล ฯ 46

  45. สรุปข้อเสนอแนะสำหรับส่วนราชการ/ข้าราชการสรุปข้อเสนอแนะสำหรับส่วนราชการ/ข้าราชการ สร้างความตระหนักและรับรู้เข้าใจถึงที่มาและวัตถุประสงค์ของอาเซียนและประชาคมอาเซียน เรียนรู้ว่าอาเซียนและประชาคมอาเซียนประกอบด้วยกลไกอะไรบ้าง หน่วยงานของตนเข้าไปเกี่ยวข้องกับกลไกในอาเซียนและประชาคมอาเซียน(เสาใดเสาหนึ่ง)อะไรบ้าง หน่วยงานของตนเข้าไปรับผิดชอบในแผนงานอะไรบ้างของอาเซียนและเสาของประชาคมอาเซียน กำหนดนโยบาย ยุทธศาสตร์ และแผนงาน/โครงการ ในการดำเนินการใด ๆ (ข้อ 3 และข้อ 4) รวมทั้งมอบหมายหน่วยงานภายในรับผิดชอบ พร้อมทั้งมีระบบการติดตามและประเมินผล จัดให้มีหน่วยงาน/บุคลากรรับผิดชอบส่งเสริม สนับสนุน และติดตามการดำเนินการตามข้อ 5 เพื่อรายงานความคืบหน้าต่อรัฐบาล หน่วยงานต้องพัฒนาทักษะพื้นฐาน (ภาษาอังกฤษ การประชุมในเวทีระหว่างประเทศ การเจรจาต่อรอง การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ฯ ล ฯ) อย่างต่อเนื่องทั้งโดยสำนักงาน ก.พ. หรือจัดขึ้นเอง หน่วยงานต้องบริหารจัดการภารกิจของหน่วยงานให้มีประสิทธิภาพประสิทธิผล ได้มาตรฐาน มีเครือข่าย ดำเนินงานทุกเรื่องที่เกี่ยวข้องแม้หลังปี 2558 47

  46. ตัวอย่างการเตรียมความพร้อมตัวอย่างการเตรียมความพร้อม

  47. ตัวอย่างศาลปกครอง ทบทวนกระบวนการและขั้นตอนการพิจารณาคดีให้รวดเร็ว การไต่สวนไม่ต้องเสียค่าธรรมเนียมศาล ปรับปรุงกฎหมายให้ขั้นตอนการไต่สวนสั้นลง ยกระดับมาตรฐานและลดขั้นตอนการให้บริการ ให้ประชาชนเข้ามาตรวจสอบความเคลื่อนไหวของคดีได้ง่ายขึ้น กำหนดกรอบเวลาพิจารณาคดีที่คั่งค้าง นัดพบประชุมร่วมระหว่างศาลปกครองกับหน่วยงานทางการปกครอง • พัฒนาบุคลากรให้รองรับประชาคมอาเซียน • ศึกษากฎหมายของประเทศเพื่อนบ้าน • ทบทวนปรับปรุงวิธีพิจารณาคดีเพื่อรองรับกรณีหน่วยงานของรัฐอาจมีข้อพิพาทกับกลุ่มทุนระหว่างประเทศในกลุ่มอาเซียน • ริเริ่มตั้งสมาคมศาลปกครองอาเซียน

  48. ตัวอย่างมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ตัวอย่างมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ จับมือกับสยามกลการและธนาคารกรุงเทพ(สนับสนุนงบประมาณ 30 ล้านบาท) เปิดตัวโครงการ Auto TUหรือ โครงการจัดตั้งหลักสูตรวิศวกรรมศาสตร์บัณฑิต สาขาวิศวกรรมยานยนต์ (หลักสูตรภาษาอังกฤษ) ที่ มธ. ศูนย์พัทยา โดยตั้งเป้าร่วมผลักดันไทยให้เป็นศูนย์กลางการผลิตยานยนต์ที่สำคัญของโลก และรองรับการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน โดย เร่งผลิตบุคลากรด้านวิศวกรรมยานยนต์ที่มีศักยภาพ สามารถตอบสนองความต้องการของตลาดยานยนต์ที่เติบโตอย่างต่อเนื่อง และมองเห็นศักยภาพที่จะขยายตัวมากยิ่งขึ้นเมื่อเข้าสู่การเปิดประชาคมอาเซียน ก่อสร้างอาคารปฏิบัติการวิศวกรรมยานยนต์ สื่อการเรียนการสอนให้มีความทันสมัยและมีประสิทธิภาพ

More Related