560 likes | 1.55k Vues
ส่วนที่ 1 สิทธิในเบี้ยหวัด บำเหน็จ บำนาญของข้าราชการ. เบี้ยหวัด หมายถึง เงินตอบแทนความชอบที่รับราชการมา ซึ่งจ่ายเป็น รายเดือน ให้แก่ นายทหารชั้นสัญญาบัตร นายทหารประทวน
E N D
ส่วนที่ 1 สิทธิในเบี้ยหวัด บำเหน็จ บำนาญของข้าราชการ
เบี้ยหวัด • หมายถึง เงินตอบแทนความชอบที่รับราชการมา ซึ่งจ่ายเป็นรายเดือนให้แก่ • นายทหารชั้นสัญญาบัตร • นายทหารประทวน • ที่ออกจากราชการและยังอยู่ในกองหนุน โดยจ่ายถึงวันครบกำหนดรับเบี้ยหวัด ตามข้อบังคับ ก.กลาโหมว่าด้วย เงินเบี้ยหวัด พ.ศ.2495 6
ผู้มีสิทธิรับเบี้ยหวัดผู้มีสิทธิรับเบี้ยหวัด • 1. นายทหารสัญญาบัตร • เวลาราชการไม่น้อยกว่า 1 ปี • ออกไปเป็นนายทหารกองหนุน 7
2. นายทหารสัญญาบัตรนอกประจำการ (นายทหารกองหนุน นายทหารนอกราชการ หรือ นายทหารพ้นราชการ) • - ที่ไม่ได้รับเบี้ยหวัด บำเหน็จ บำนาญ • - ภายหลังกลับเข้ารับราชการประจำการใหม่ ไม่น้อยกว่า 1 ปี • ออกไปเป็นนายทหารกองหนุน 7
3. นายทหารประทวนและพลทหาร • -รับราชการประจำการครบกำหนดตาม กม.ว่าด้วย การรับราชการทหาร แล้ว • เข้ารับราชการประจำการต่อไม่น้อยกว่า 1 ปี • ออกจากราชการขณะยังไม่พ้นกองหนุนชั้นที่ 2 ตาม กม.ว่าด้วย การรับราชการทหาร 8
4. นายทหารประทวนและพลทหารกองหนุน • -ที่ไม่ได้รับเบี้ยหวัด บำเหน็จ บำนาญ • ภายหลังสั่งให้กลับเข้าประจำการใหม่ไม่น้อยกว่า 1 ปี • ออกจากราชการขณะยังไม่พ้นกองหนุนชั้นที่ 2 ตาม กม.ว่าด้วย การรับราชการทหาร 8
ทหารซึ่งไม่มีสิทธิรับเบี้ยหวัดทหารซึ่งไม่มีสิทธิรับเบี้ยหวัด 1. ออกจากราชการโดยได้รับบำเหน็จ บำนาญ ตาม กม. ว่าด้วยบำเหน็จบำนาญข้าราชการ แล้ว 2. นายทหารประทวนและพลทหารประจำการ ที่ประจำการครบกำหนดแล้ว ต้องรับราชการต่อ -เลื่อนกำหนดเวลาปลด -ระดมพลเข้าฝึกวิชาทหาร/ทดลองความพรั่งพร้อม 9
3. ออกจากราชการเพราะความผิด เช่น -ทุจริตต่อหน้าที่ -กระทำความผิดต้องโทษจำคุก -ต้องคำพิพากษาให้ล้มละลาย -ขัดคำสั่งผู้บังคับบัญชาโดยชอบด้วย กม. เป็นต้น 9
การงดรับเบี้ยหวัด 1. นายทหารสัญญาบัตร กองหนุนมีเบี้ยหวัด ซึ่งย้ายหรือปลดจากประเภทนี้แล้ว 2. นายทหารประทวนและพลทหาร ซึ่งปลดจากกองหนุน ชั้นที่ 2 3. เข้ารับราชการในตำแหน่งที่มีสิทธิได้รับบำเหน็จ บำนาญ 4. กระทำความผิดตามที่กำหนด 5. หลีกเลี่ยงหรือบิดพลิ้วต่อราชการ 6. เจ็บไข้หรือพิการจนไม่สามารถทำหน้าที่ต่อไปได้ 10
หลักการนับเวลา เพื่อรับเบี้ยหวัด = เวลาปกติ + เวลาทวีคูณ - ตัดเวลาราชการ การนับเวลา(ปกติ) 1. ทหารกองประจำการ (ทหารเกณฑ์) 2. นักเรียนทหาร 3. ทหารประจำการ หรือข้าราชการกลาโหม พลเรือน ***ทหารหญิง ไม่ได้รับสิทธิให้รับเบี้ยหวัด***
การนับเวลา(อื่น) 1. เวลาทวีคูณ 2. การตัดเวลาราชการ วิธีคำนวณเบี้ยหวัด เวลาราชการไม่ถึง 15 ปี ได้ 15/50 ของเงินเดือน เวลาราชการ 15 ปี แต่ไม่ถึง 25 ปี ได้ 25/50 ของเงินเดือน ....เวลาราชการเกินกว่า 40 ปีขึ้นไป = (เวลา/50) x เงินเดือน แต่จะได้รับไม่เกินเงินเดือนเดือนสุดท้าย หลักการเดียวกับ บำเหน็จบำนาญปกติ 12
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับ บำเหน็จบำนาญข้าราชการ 1. พรบ.บำเหน็จบำนาญข้าราชการ พ.ศ. 2494 และที่แก้ไขเพิ่มเติม = ข้าราชการที่ไม่เป็นสมาชิก กบข. 2. พรบ. กองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการ พ.ศ. 2539 = ข้าราชการที่เป็นสมาชิก กบข.
บำเหน็จ คือ เงินตอบแทนความชอบที่ได้รับ ราชการมา ซึ่งจ่ายเป็น เงินก้อนครั้งเดียว บำนาญ คือ เงินตอบแทนความชอบที่ได้รับ ราชการมา ซึ่งจ่ายเป็น รายเดือนจนกว่าจะเสียชีวิต หรือหมดสิทธิตามที่ กม. กำหนด *สิทธิในบำเหน็จบำนาญเป็นสิทธิเฉพาะตัว
สิทธิข้าราชการที่ไม่เป็นสมาชิก กบข. ว่าด้วยเหตุแห่งบำเหน็จบำนาญ 1. เหตุทดแทน 2. เหตุทุพพลภาพ 3. เหตุสูงอายุ 4. เหตุรับราชการนาน หากมีเวลาราชการ 1 - 10 ปี = บำเหน็จ หากมีเวลาราชการตั้งแต่ 10 ปี ขึ้นไป = บำนาญ หรือบำเหน็จ ก็ได้
1. เหตุทดแทน -เลิกหรือยุบตำแหน่ง -ทางราชการสั่งให้ออกโดยไม่มีความผิด เช่น เจ็บป่วยโดยสม่ำเสมอ ขาดคุณสมบัติทั่วไป(ล้มละลาย) และต้องโทษจำคุกในความผิดลหุโทษ-ออกตามบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญ เช่นข้าราชการการเมือง และทหารกองหนุนออกจากเบี้ยหวัด
2. เหตุทุพพลภาพ +ข้าราชการเจ็บป่วยทุพพลภาพ +แพทย์ที่ทางราชการรับรอง โดยข้าราชการลาออกเอง/ทางราชการสั่งให้ออก 3. เหตุสูงอายุ -ข้าราชการอายุครบ 60 ปีบริบูรณ์ (เกษียณอายุ) -ข้าราชการอายุครบ 50 ปีบริบูรณ์ และลาออก
4. เหตุรับราชการนาน -เวลาราชการครบ 30 ปีบริบูรณ์ -เวลาราชการครบ 25 ปีบริบูรณ์ และลาออก หากไม่เข้าทั้ง 4 เหตุโดยที่มีเวลาราชการ 10 ปี ขึ้นไป และลาออก = บำเหน็จ
วิธีคำนวณบำเหน็จบำนาญ (ตาม พรบ. 2494 ข้าราชการที่ไม่เป็นสมาชิก กบข.) บำเหน็จ = เงินเดือนเดือนสุดท้าย x เวลาราชการ บำนาญ = เงินเดือนเดือนสุดท้าย x เวลาราชการ 50
การนับเวลาราชการ • 1. เวลาระหว่างรับราชการปกติ • 2. เวลาทวีคูณ = เวลาที่ กม.ให้นับเพิ่มอีก 1 เท่า • - ตามที่ ก.กลาโหมกำหนด • - ในเขตประกาศกฎอัยการศึก • 3. การตัดเวลาราชการ • - เวลาที่ไม่ได้รับเงินเดือน - เวลาระหว่างรับเบี้ยหวัด • - วันลาในระหว่างประกาศกฎอัยการศึก
เวลาราชการในการคำนวณให้นับแต่ จำนวนปี เศษของปี ถ้าถึงครึ่งปีให้นับเป็น 1 ปี เช่นเวลา 9 ปี 6 เดือน ให้นับเป็น 10 ปี และเวลาที่ใช้ในการคำนวณ = 10
สิทธิข้าราชการที่เป็นสมาชิก กบข. 1. หากมีเวลาราชการตั้งแต่ 10 ปี แต่ไม่ถึง 25 ปี = บำเหน็จ 2. หากมีเวลาราชการตั้งแต่ 25 ปี ขึ้นไป = บำนาญ+เงินประเดิม*+เงินสะสม+เงินสมทบ+เงินชดเชย+ผลประโยชน์(*เฉพาะผู้ที่สมัครใจเป็นสมาชิกเมื่อ 20 มี.ค.40) หรือบำเหน็จ ก็ได้
นอกจากนั้น ยังมี เหตุแห่งบำเหน็จบำนาญ 1. เหตุทดแทน 2. เหตุทุพพลภาพ 3. เหตุสูงอายุ หากมีเวลาราชการ 1 - 10 ปี = บำเหน็จ หากมีเวลาราชการตั้งแต่ 10 ปี ขึ้นไป = บำนาญ หรือบำเหน็จ ก็ได้
หลักการนับเวลาให้เกิดสิทธิ คือ หากเวลาราชการมีเศษครึ่งปีให้นับเป็น 1 ปี เช่นเวลา 9ปี 6 เดือน ให้นับเป็น 10ปี เพื่อให้เกิดสิทธิบำเหน็จ หรือ เวลา 24ปี 6 เดือน ให้นับเป็น 25ปี เพื่อให้เกิดสิทธิบำนาญ
วิธีคำนวณบำเหน็จบำนาญ (ตาม พรบ. 2539 สำหรับข้าราชการที่เป็นสมาชิก กบข.) บำเหน็จ = เงินเดือนเดือนสุดท้าย x เวลาราชการ บำนาญ* =(เงินเดือนเฉลี่ย 60 เดือนสุดท้าย x เวลาราชการ) 50 * แต่ต้องไม่เกิน 70% ของเงินเดือนเฉลี่ย 60 เดือนสุดท้าย
เวลาราชการในการคำนวณให้นับจำนวนปีรวมทั้งเศษของปีด้วยเวลาราชการในการคำนวณให้นับจำนวนปีรวมทั้งเศษของปีด้วย เช่นเวลา 25ปี 6 เดือน = 25 + (6/12) = 25.50 ปี เวลา 25ปี 6 เดือน 15 วัน = 25 + (6/12) + (15/360) = 25.54 ปี
ความแตกต่างระหว่างบำเหน็จ VS บำนาญ สำหรับผู้มีสิทธิเลือก บำเหน็จ + รับเงินก้อนใหญ่ ครั้งเดียว - ไม่มีความผูกพันกับทางราชการอีกต่อไป บำนาญ + รับเงินก้อนน้อยเป็นรายเดือนตลอดชีวิต + มีสิทธิได้รับเงินอื่น ดังนี้ 1. บำเหน็จดำรงชีพ 15 เท่าของบำนาญรายเดือน 2. บำเหน็จตกทอด 30 เท่าของบำนาญรายเดือน 26
(ต่อ) 3. บำเหน็จค้ำประกัน (จากบำเหน็จตกทอดคงเหลือ) 4. สิทธิสวัสดิการ (ค่ารักษาพยาบาล ค่าเล่าเรียน ช่วยเหลือการศึกษาบุตร) 5. เงินช่วยค่าครองชีพ (ช.ค.บ.) 6. เงินช่วยพิเศษ/เงินค่าทำศพ 3 เท่าของบำนาญรายเดือน 27
บำเหน็จดำรงชีพ หมายถึง เงินที่รัฐจ่ายให้ผู้รับบำนาญเพื่อช่วยเหลือ การดำรงชีพ โดยจ่ายเป็น เงินก้อน ทั้งนี้เป็นไปตาม -กฎกระทรวงกำหนดอัตราและวิธีการรับบำเหน็จ ดำรงชีพ พ.ศ. 2546 -กฎกระทรวงกำหนดอัตราและวิธีการรับบำเหน็จ ดำรงชีพ (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2551
เกณฑ์การจ่าย 1. ให้จ่ายในอัตรา 15 เท่าของบำนาญรายเดือน (ไม่รวม ช.ค.บ.) แต่ไม่เกิน 400,000 บาท ตามเงื่อนไขดังนี้ (1) อายุต่ำกว่า 65 ปี ขอได้ไม่เกิน 200,000.- (2) อายุ 65 ปีขึ้นไป ขอได้ไม่เกิน400,000.-แต่ถ้าใช้สิทธิตาม (1) แล้ว ให้ขอรับเพิ่มได้ไม่เกินส่วนที่ยังไม่ครบตามสิทธิ เช่น เคยขอรับไปแล้ว 200,000.- จึงขอรับได้อีกแค่ 200,000.-
เกณฑ์การจ่าย (ต่อ) 2. ระยะเวลาในการขอรับ ตั้งแต่ 1 ต.ค. – 31 ธ.ค. ของทุกปีหากออกจากราชการและเลือกรับบำนาญจะขอรับพร้อมบำนาญเลยก็ได้ 3. ผู้รับบำนาญที่มีกรณี/ต้องหาว่ากระทำความผิดวินัย/อาญา ก่อนออกจากราชการ จะขอรับได้เมื่อกรณี/คดีถึงที่สุดแล้ว และมีสิทธิรับบำนาญ 30
บำเหน็จตกทอด หมายถึง เงินที่รัฐจ่ายเพื่อบรรเทาความเดือดร้อน ให้แก่ ทายาทของข้าราชการ หรือทหารกองหนุน มีเบี้ยหวัด หรือผู้รับบำนาญที่เสียชีวิต ซึ่งจ่าย เป็น เงินก้อนครั้งเดียว ประเภทของบำเหน็จตกทอด 1. ข้าราชการประจำ หรือทหารกองหนุนมีเบี้ยหวัด 2. ข้าราชการบำนาญ
ผู้มีสิทธิได้รับบำเหน็จตกทอดผู้มีสิทธิได้รับบำเหน็จตกทอด 1. บิดามารดา =1 ส่วน 2. คู่สมรส =1 ส่วน 3. บุตร = 2 ส่วน ถ้า 3 คนขึ้นไป = 3 ส่วน หากไม่มีลำดับ 1-3 จึงจะตกทอดให้แก่บุคคลซึ่งผู้ตายแสดงเจตนาไว้ หากไม่มีเลย สิทธิยุติลง
วิธีคำนวณบำเหน็จตกทอดวิธีคำนวณบำเหน็จตกทอด 1. ข้าราชการประจำ หรือทหารกองหนุนมีเบี้ยหวัดบำเหน็จตกทอด = เงินเดือนเดือนสุดท้าย x เวลาราชการ 2. ข้าราชการบำนาญ บำเหน็จตกทอด = (บำนาญรายเดือน + ช.ค.บ.) * 30 หัก บำเหน็จดำรงชีพ (ถ้าเบิกแล้ว) บำเหน็จค้ำประกัน (ถ้าใช้สิทธิ)
บำเหน็จค้ำประกัน ผู้รับบำนาญสามารถนำสิทธิในบำเหน็จ ตกทอดไปใช้เป็นหลักทรัพย์ในการค้ำประกันการกู้เงินกับสถาบันการเงินได้
การคำนวณบำเหน็จตกทอดคงเหลือการคำนวณบำเหน็จตกทอดคงเหลือ บำเหน็จดำรงชีพ บำนาญ 10,000 x 15 เท่า = 150,000 บาท รับครั้งเดียว 150,000.- บำเหน็จตกทอด (บำนาญ 10,000 + ชคบ. 3,000) x 30 เท่า = 390,000 บาท หัก บำเหน็จดำรงชีพ 150,000.- บำเหน็จตกทอดคงเหลือ 240,000.- ที่สามารถนำไปใช้เป็นหลักทรัพย์ ค้ำประกันการกู้เงินได้
การคำนวณบำเหน็จตกทอดคงเหลือการคำนวณบำเหน็จตกทอดคงเหลือ บำเหน็จดำรงชีพ บำนาญ 30,000 x15 เท่า = 450,000 บาท รับครั้งแรก 200,000 บาท รับเมื่ออายุครบ 65 ปี อีก 200,000 บาท บำเหน็จตกทอด (บำนาญ 30,000 + ชคบ. 1,500) x 30 เท่า = 945,000 บาท หัก บำเหน็จดำรงชีพ 400,000 บาท บำเหน็จตกทอดคงเหลือ จำนวน 545,000.- ที่สามารถนำไปใช้เป็นหลักทรัพย์ค้ำประกันการกู้เงินได้
ส่วนที่ 2 การยื่นเรื่องขอรับเบี้ยหวัด บำเหน็จบำนาญ และการเตรียมเอกสารที่เกี่ยวข้อง
1. กรอกแบบที่กำหนด - แบบขอรับเบี้ยหวัด บำเหน็จ บำนาญ (แบบ 5300) กรณีขอรับบำนาญ - แบบขอลดหย่อนภาษี (แบบ สรจ.1) กรณีขอรับบำเหน็จดำรงชีพพร้อมบำนาญ - แบบขอรับบำเหน็จดำรงชีพ (แบบ สรจ.3) กรณีบัญชีเงินฝากธนาคารมีชื่อเป็นบัญชีร่วม - แบบแสดงเจตนาขอให้โอนเงิน (แบบ สรจ.2) 38
2. ถ่ายสำเนาเอกสารและรับรองสำเนาถูกต้อง ทุกฉบับด้วยตัวเอง - บัตรประจำตัวประชาชน หรือทะเบียนบ้าน - หน้าแรกของสมุดบัญชีเงินฝากธนาคาร (บัญชีกระแสรายวัน หรือ ออมทรัพย์ เท่านั้น) - บัตรสมาชิก กบข. (ถ้าเป็นสมาชิก กบข.) - อื่นๆ เช่น หลักฐานการเปลี่ยนชื่อ/นามสกุล3. ยื่นเอกสารตามข้อ 1. และ 2. ให้ส่วนราชการต้นสังกัด (ส่วนราชการผู้ขอ) 39
4. เมื่อส่วนราชการต้นสังกัดรับเรื่อง จะพิมพ์สลิป ลงทะเบียนรับให้ผู้มีสิทธิ เพื่อใช้ติดตามเรื่องกับ ส่วนราชการต้นสังกัด หรือสำนักงานคลังเขต 1 ต่อไป 5. ส่วนราชการ จะส่งสำนักงานคลังเขต 1 ดำเนินการตรวจอนุมัติ 40
ตัวอย่างหนังสือสั่งจ่ายตัวอย่างหนังสือสั่งจ่าย 41
ส่วนที่ 3 การเกิดสิทธิในบำเหน็จบำนาญและสวัสดิการ
เมื่อสำนักงานคลังเขต 1 ได้รับเรื่องขอรับบำเหน็จบำนาญ จากส่วนราชการครบทั้ง 2 ส่วน คือ 1. แบบขอรับบำเหน็จบำนาญ และเอกสารประกอบ 2. ข้อมูลในระบบ e-pension จึงจะดำเนินการตรวจอนุมัติ 43
3. เมื่อเรื่องได้รับการอนุมัติ* สำนักงานคลังเขต 1 จะส่งหนังสือการสั่งจ่ายแจ้งให้ผู้รับบำเหน็จบำนาญทราบ *สิทธิสวัสดิการจะกลับมาเหมือนเดิม 4. ส่วนราชการผู้เบิกทำบันทึกขอเบิกเงินในระบบ 5. กรมบัญชีกลางโอนเงินเข้าบัญชีเงินฝากธนาคารของผู้รับบำเหน็จบำนาญ 44
การขอรับเงินช่วยเหลือผู้ซึ่งออกราชการโครงการเกษียณอายุราชการก่อนกำหนด เอกสารที่ต้องเตรียม 1. กรอกข้อมูลในแบบ ค.ก.ษ. 2. ถ่ายสำเนาเอกสารและรับรองสำเนาถูกต้อง ทุกฉบับด้วยตัวเอง - บัตรประจำตัวประชาชน หรือทะเบียนบ้าน 45
- หน้าแรกของสมุดบัญชีเงินฝากธนาคาร (บัญชีกระแสรายวัน หรือ ออมทรัพย์ เท่านั้น) หากใช้บัญชีเงินฝากธนาคารมีชื่อเป็นบัญชีร่วม ให้กรอกแบบแสดงเจตนาในแบบ สรจ.2 ด้วย ส่วนราชการจะนำมารวบรวมกับหลักฐานอื่นๆ และดำเนินการส่งข้อมูลขอเบิกเงินดังกล่าวไปยังกรมบัญชีกลาง (กรุงเทพ) เพื่อตรวจอนุมัติสั่งจ่ายเงินให้ต่อไป 46
การเปลี่ยนแปลงส่วนราชการผู้เบิกบำนาญ ให้ติดต่อได้ที่ส่วนราชการผู้เบิกบำนาญเดิม และส่งแบบ สรจ.11 ให้กรมบัญชีกลางดำเนินการเปลี่ยนแปลงให้ต่อไป การแจ้งงดเบิกบำนาญ 1. กรณีกลับเข้ารับราชการใหม่ 2. กรณีผู้รับบำนาญเสียชีวิต โดยส่งแบบ สรจ.12 ให้กรมบัญชีกลางทราบ 47