1 / 33

pH & Colloid

pH & Colloid. พญ. ชญานิน เรือนแป้น 23 พค 56. การทดลองที่ 1 ความเป็นกรดด่างของสารละลาย. pH meter. Electronic meter. Electrode . Question. น้ำอัดลมมี pH เป็นกรดหรือด่าง เพราะเหตุใด. การทดลองที่ 2 ลักษณะทางกายภาพของน้ำละลาย. Solutions. True solution/ Crystalloid Colloid Suspension.

don
Télécharger la présentation

pH & Colloid

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. pH & Colloid พญ. ชญานิน เรือนแป้น 23 พค 56

  2. การทดลองที่1ความเป็นกรดด่างของสารละลายการทดลองที่1ความเป็นกรดด่างของสารละลาย

  3. pH meter Electronic meter Electrode

  4. Question น้ำอัดลมมี pH เป็นกรดหรือด่าง เพราะเหตุใด

  5. การทดลองที่2ลักษณะทางกายภาพของน้ำละลายการทดลองที่2ลักษณะทางกายภาพของน้ำละลาย

  6. Solutions True solution/ Crystalloid Colloid Suspension 1o-6-10-9 m <1o-9 m >1o-6 m

  7. Tyndall’s effect The Tyndall’s effect is the scattering of light as a light beam passes through a colloid

  8. Tyndall’s effect

  9. การทดสอบน้ำแป้ง นำน้ำละลายในหลอดทดลองที่ผ่านกระดาษกรองและน้ำละลายในบีคเกอร์ที่ผ่านกระดาษเซลโลเฟนมาอย่างละ 2 mL หยด 2% iodine 1 หยด เทียบสีที่เกิดขึ้น เมื่อใช้ไอโอดีน 1 หยด กับน้ำกลั่น 2 mLเป็นคอนโทรล ถ้ามีแป้งออกมาในน้ำกลั่น จะให้สีน้ำเงินกับไอโอดีน (อย่าหยดไอโอดีนลงในหลอดทดลองหรือบีคเกอร์)

  10. การทดลองที่3การตกตะกอนด้วยเกลือการทดลองที่3การตกตะกอนด้วยเกลือ

  11. Colloid แบ่งได้เป็น 2 กลุ่มใหญ่ๆ ตาม affinity ของอนุภาคกับน้ำ Lyophilic colloid (Hydrophillic colloid) - ประจุของอนุภาค colloids จะดูดซับโมเลกุลของน้ำให้ติดอยู่โดยรอบ เกิดเป็น hydration shell ทำให้มีความเสถียรสูง Lyophobic colloid (Hydrophobic colloid) - ไม่มีเปลือกน้ำมาหุ้มรอบอนุภาค หรือมีแต่บางมาก colloids จึงมีโอกาสตกตะกอนได้ง่าย

  12. 1% starch 2 mL Ferric hydrate 2 mL 2 4 1 3 + distilled water 2 mL + distilled water 2 mL + 20% NaCl 2 mL + 20% NaCl 2 mL เขย่าหลอดแรงๆประมาณ 1 นาที และตั้งทิ้งไว้นิ่งๆประมาณ 15-20 นาที

  13. Question การเติมเกลือ มีผลต่อการละลายของสารอย่างไร

  14. การทดลองที่4คุณสมบัติของคอลลอยด์คุ้มกันการทดลองที่4คุณสมบัติของคอลลอยด์คุ้มกัน

  15. Protective colloid คือ hydrophilic colloids ที่มีบทบาทในการช่วยป้องกันไม่ให้ hydrophobic colloids หรือเกลือแร่ต่างๆ ตกตะกอนได้ง่าย ป้องกันการตกตะกอนของพวกอนินทรีย์สารบางอย่างในร่างกาย เช่น โปรตีนในพลาสม่าหรือน้ำนมที่คอยช่วยกันไม่ให้ Ca3(PO4)2ตกตะกอน

  16. 0.02M AgNO3 5 mL + conc. HNO3 3 drops 1 + Distilled water 1 mL + 0.02M NaCl 5 mL เขย่าแล้วตั้งทิ้งไว้ 5-10 นาที 0.02M AgNO3 5 mL + conc. HNO3 3 drops 2 + 1% starch 1 mL + 0.02M NaCl 5 mL

  17. 5 mL 3 2 + conc. HCl 2-3 drops แช่ในน้ำเดือด 5 นาที และตั้งทิ้งไว้ประมาณ 5 นาที

  18. Question อธิบายผลการทดลองที่ได้ Conc. HClมีผลอย่างไรกับสารในหลอดทดลองที่ 3

  19. การทดลองที่5 Osmotic pressure (Demonstration)

  20. Osmosis การเคลื่อนที่ของโมเลกุลของตัวทำละลาย (น้ำ) ผ่าน semipermeable membrane จากบริเวณที่มีความเข้มข้นของสารละลายน้อยกว่า ไปยังบริเวณที่มีความเข้มข้นของสารละลายมากกว่า

  21. Osmotic pressure แรงที่ทำให้น้ำเคลื่อนที่จากด้านที่มีความเข้มข้นน้อยไปยังด้านที่มีความเข้มข้นมากกว่า ขึ้นกับจำนวนของอนุภาคในสารละลาย Question 1 M glucose กับ 1 MNaClจะมี osmotic pressure เท่ากันหรือไม่ จงอธิบาย

  22. บันทึกความสูงของระดับน้ำใน osmometer

  23. กราฟแสดงความสูงของระดับน้ำใน osmometer ของสารละลาย albumin เปรียบเทียบกับสารละลาย CaCl2 ?

  24. Question • เพราะเหตุใด osmotic pressure ของ calcium chloride จึงแตกต่างจาก osmotic pressure ของ albumin • ถ้า albumin ในเลือดต่ำจะเกิดผลอย่างไรกับร่างกาย

  25. http://www.si.mahidol.ac.th/department/Biochemistry/home/MD_courseware.htmhttp://www.si.mahidol.ac.th/department/Biochemistry/home/MD_courseware.htm FB: Biochemistry for SI123 Instagram: @Biochem_Siriraj

More Related