1.85k likes | 2.25k Vues
WELCOME. To. Java Programming. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ Java. เป็นภาษาการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ (OOP) (Object Oriented Programming) โปรแกรม SDK (Software Development Kit) เขียนโปรแกรมแสดงบน Internet หรือ บน Command Line นามสกุลไฟล์ .java. Class.
E N D
WELCOME To Java Programming
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ Java • เป็นภาษาการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ (OOP) (Object Oriented Programming) • โปรแกรม SDK (Software Development Kit) • เขียนโปรแกรมแสดงบน Internet หรือ บน Command Line • นามสกุลไฟล์ .java
Class Class คือ ต้นแบบของการกำหนดตัวแปร และ Method • ประโยชน์ของ Class • การแบ่งออกเป็น Class ทำให้โปรแกรมที่สร้าง ขึ้นมาง่ายต่อการแก้ไข • แต่ละ Class ไม่มีผลอย่างใดกับ Class อื่น • เมื่อมีการแก้ไข
ประเภทของ Java • Java Scriptเขียนโปรแกรมฝังตัวไว้ใน Web Page • Java Java Applet Java Application
ไฟล์โปรแกรมของ SDK • javac.exeใช้ Compile Source Codeนามสกุล.java เป็นนามสกุล.class • java.exe ใช้Runไฟล์จุด classของ Java Application • appletviewer.exe ใช้Run ไฟล์จุด HTMLของJava Applet
โปรแกรมที่ใช้เขียนภาษา Java • Notepad • WordPad • Edit DOS • Edit plus • ฯลฯ
โครงสร้างภาษา Java Application class name { public static void main(String[] arg) { // add Code Java } }
โครงสร้างภาษา Java Applet import Package; public class name extends Applet { //add Code Java } เรียกใช้คำสั่งสำเร็จรูปต่าง ๆ ชื่อไฟล์เอกสาร Java
ตัวอย่างการสร้างไฟล์Java Application ชื่อไฟล์ java1.java class java1 { public static void main(String arg[]) { System.out.println(“Welcome To Java”); } }
การ Compile Java Application • C:\jdk>พิมพ์.\bin\javac ชื่อไฟล์.java การ Run JavaApplication • C:\jdk>พิมพ์.\bin\java ชื่อไฟล์(ไม่มีนามสกุล)
การสร้างไฟล์ Java Applet • สร้างไฟล์ java • Compile • สร้างเอกสาร HTML • Run แสดงผล
ตัวอย่างการสร้างไฟล์Java Applet ชื่อไฟล์ java2.java import java.awt.*; import java.applet.*; public class java2 extends Applet { public void paint(Graphics g) { g.drawString(“Welcome To Java”,50,100); } }
สร้างไฟล์เอกสาร HTML <html> <head><title>ชื่อหน้าต่าง</title></head> <body> <applet code=“ชื่อไฟล์.class” width=กว้าง height=สูง> </applet> </body> </html> ชื่อไฟล์ java2.html
Package (Java Class Library) Standard Package • java.applet -> ใช้สร้าง Applet • java.awt -> สร้าง GUI (Graphical user interface) • java.io -> ทำงานด้าน I/O • java.lang -> ทำงานด้านการคำนวณตัวเลข • java.net -> สร้างการติดต่อระบบเครือข่าย • java.util -> การเข้ารหัส/ถอดรหัส, วัน/เวลา • java.awt.image -> สร้างและทำงานกับรูปภาพ • javax.swing -> สร้าง Swing GUI
การเรียกใช้งาน Package • รูปแบบ import ชื่อแพ็กเกจ.*; เช่น import java.util.*; import java.util.Calendar;
คำสั่งแสดงผล System.out.println(“ข้อความ”); System.out.println(ตัวแปร); System.out.println(“ข้อความ”+ตัวแปร); System.out.println(); System.out.print(“ข้อความ”+ตัวแปร); ไม่ขึ้นบรรทัดใหม่ให้
ชนิดของตัวแปร • ประเภทตัวเลข (Numeric) • ตัวเลขจำนวนเต็ม (Integer) • byte 8 bit, short 16 bit • *int 32 bit, long 64 bit • ตัวเลขทศนิยม (Real) • float 32 bit, *double 64 bit
ชนิดของตัวแปร ประเภทตัวอักษร (Character) char 16 bit ประเภทตรรกศาสตร์ (Boolean) boolean 1 bit == > true / false ประเภท Class ข้อความ String
การตั้งชื่อ (Identifier) • ต้องขึ้นต้นด้วยตัวอักษร • ความยาวไม่จำกัด • ห้ามเว้นวรรค ยกเว้น ใช้ _(underscore), $ • ตัวอักษรพิมพ์เล็ก พิมพ์ใหญ่ ถือว่าต่างกัน
การประกาศตัวแปร ชนิดข้อมูล ชื่อตัวแปร; เช่น String name,Name; int num1,num2;
การกำหนดค่าคงที่ กำหนดค่าคงที่ เลขจำนวนเต็ม 0(ศูนย์) นำหน้าเลขจำนวนเต็ม 0x นำหน้าเลขจำนวนเต็ม ค่าคงที่จำนวนเต็ม เลขฐาน 10 เลขฐาน 8 เลขฐาน 16 เช่น 20 ฐาน 8 เป็น 024 ฐาน 16 เป็น 0x14
การกำหนดค่าคงที่ กำหนดค่าคงที่ จะใช้ f หรือ F ต่อท้ายเลขทศนิยม D หรือ d(ไม่ใส่ก็ได้) ตัวเลขทศนิยม float double เช่น 100.0f หรือ 100.65d
การกำหนดค่าคงที่ กำหนดค่าคงที่ ใช้เครื่องหมาย ‘ ’ ครอบตัวอักษร ใช้เครื่องหมาย “ ” ครอบ ค่าคงที่ตัวอักษร char ค่าคงที่ตัวอักขระ String
ตัวดำเนินการ (Operator) • Operator ทางด้านการคำนวณ • Operator ทางการเปรียบเทียบ • Operator ทางการกำหนดค่า • Operator ทางตรรกะ
Operator ทางการคำนวณ Increment (การเพิ่มค่า)(++) เช่น a++ a=a+1 Decrement (การลดค่า)(--) เช่น a-- a=a-1 Ex a=5 x=a++; x=5 a=6 x=++a; x=6 a=6
ตัวอย่าง<op1.java> class op1 { public static void main(String arg[]) { int x=5, y=4, sum; sum=y*x++; //sum=y*++x; System.out.println("x=5 y=4"); System.out.println("sum=y*x++ ="+sum); }}
Operator ทางการกำหนดค่า • = เท่ากับ • += เช่น A+=3 A=A+3 • -= • *= • /= • %=
ตัวอย่าง Operator ทางการกำหนดค่า<op2.java>
ตัวอย่างOperator ทางการเปรียบเทียบ <op3.java>
การใช้ตัวดำเนินการทางเชิงตรรกะการใช้ตัวดำเนินการทางเชิงตรรกะ
ตัวอย่าง Operator เชิงตรรกะ <op4.java>
ตัวอย่าง การประกาศตัวแปรตัวอักษร <op5.java>
การกำหนดคำอธิบาย (Comment) • In-line Comments แสดงคำอธิบายภายในบรรทัด ใช้เครื่องหมาย // เป็นจุดเริ่มต้น และสิ้นสุดเมื่อจบบรรทัด //Start Program //Stop Program • Block Comments แสดงคำอธิบายเป็นกลุ่ม หลาย ๆ บรรทัด ใช้เครื่องหมาย /* เป็นจุดเริ่มต้นคำอธิบาย และ */ เป็นจุดสิ้นสุดคำอธิบาย
การจัดการกับ String String ตัวแปร=“ค่า”; “ ”ห้ามอยู่คนละบรรทัด “ ” = null ค่าว่าง
การหาความยาว String String.length(); เช่น String fname=“Viyada”; int n=fname.length(); ภาษาไทยนับสระ วรรณยุกต์ บนล่างด้วย <ตัวอย่าง length1.java>
การดึงข้อความบางส่วน (Sub String) ตัวแปรString.substring(ค่าเริ่มต้น,ค่าสิ้นสุด); ตัวแปรString.substring(ค่าเริ่มต้น); ค่าเริ่มต้น เริ่มนับจาก 0,1,2… ค่าสิ้นสุดเริ่มนับจาก 1,2,3… <ตัวอย่าง substring1.java>
การดึงตัวอักษร 1 ตัว String.charAt(ตำแหน่งตัวอักษร) เริ่มนับจาก 0,1,2… <ตัวอย่าง charAt1.java>
การแทนที่ข้อความ String.replace(ตัวอักษรเดิม,ตัวอักษรใหม่); เช่น String S=“Java”.replace(‘a’,‘o’); คำนึงการค้นหา+แทนที่แบบตัวพิมพ์เล็ก-ใหญ่ <ตัวอย่าง replace1.java>
การเปลี่ยนตัวอักษรใน String String.toUpperCase();//ตัวพิมพ์ใหญ่ String.toLowerCase();//ตัวพิมพ์เล็ก เช่น String st=“Java Programming”; String upper=st.toUpperCase(); String lower=st.toLowerCase(); <ตัวอย่าง UpperLower.java>
การกลับด้านข้อความ (Reverse) String.reverse(); StringBuffer ตัวแปร=new StringBuffer(“ข้อความ"); System.out.println(ตัวแปร.reverse()); <ตัวอย่าง reverse1.java>
การชี้ตำแหน่ง Index รูปแบบ indexOf(‘ตัวอักษร’) เริ่มนับจาก 0,1,2… <ตัวอย่าง indexOfDemo.java>
Workสร้างรหัสลับ<password.java> เขียนโปรแกรมค้นหาตัวอักษรพร้อมจัดรูปแบบคำต่อไปนี้ “Siam Computer.” ผลลัพธ์ Mr.Siam
การแปลงค่าข้อมูล ประเภทรูปแบบการแปลงค่าข้อมูล • Casting • toString • Integer.parseInt()Double.parseDouble()
การแปลงค่าในรูปแบบ Casting • รูปแบบคำสั่ง • เช่น int x; float y=45.5f; x=(int)y; (ประเภทข้อมูล)ตัวแปร <ตัวอย่าง casting1.java>
การแปลงค่าในรูปแบบ toString() แปลงจากตัวเลขเป็นตัวอักษร String ตัวแปร=“”+ตัวเลข; หรือ String ตัวแปร=Integer.toString(ตัวเลข); String ตัวแปร=Double.toString(ตัวเลข); String ตัวแปร=Float.toString(ตัวเลข); <ตัวอย่าง ToString.java>
Workนับตำแหน่งตัวเลข<ToStringDemo.java>Workนับตำแหน่งตัวเลข<ToStringDemo.java> เขียนโปรแกรมนับตำแหน่งตัวเลขทั้งหน้าและ หลังจุดทศนิยม
เปลี่ยนค่าตัวอักษรเป็นตัวเลขเปลี่ยนค่าตัวอักษรเป็นตัวเลข int ตัวแปร=Integer.parseInt(String); double ตัวแปร=Double.parseDouble(String); float ตัวแปร=Float.parseFloat(String); <ตัวอย่าง change1.java>