1 / 51

วิชา สัมมนาด้านวิยาการคอมพิวเตอร์ (Seminar in Computer Science) รหัสวิชา CS6906

วิชา สัมมนาด้านวิยาการคอมพิวเตอร์ (Seminar in Computer Science) รหัสวิชา CS6906. สอนโดย ร.อ. เมธี พลพันธ์ MS.CS.(OR) afapscrma@gmail.com. Learning Concepts. เรียนรู้ไปด้วยกันด้วยการ เผยแพร่/ออกความเห็น/หาข้อสรุปร่วม

ebony
Télécharger la présentation

วิชา สัมมนาด้านวิยาการคอมพิวเตอร์ (Seminar in Computer Science) รหัสวิชา CS6906

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. วิชาสัมมนาด้านวิยาการคอมพิวเตอร์(Seminar in Computer Science) รหัสวิชา CS6906 สอนโดย ร.อ. เมธี พลพันธ์ MS.CS.(OR) afapscrma@gmail.com

  2. Learning Concepts • เรียนรู้ไปด้วยกันด้วยการเผยแพร่/ออกความเห็น/หาข้อสรุปร่วม กันและทดลองทำ ในสิ่งที่กำลังเป็นที่สนใจที่เป็นหัวข้อในขอบเขตของวิทยาการคอมพิวเตอร์ หรือ ที่อาจารย์เสนอแนะ • จัดกลุ่ม/เดี่ยว เพื่อศึกษาหัวข้อของกลุ่ม/ตัวเองแล้วนำมาเผยแพร่ • ให้คะแนนจากการมีส่วนร่วมในการกิจกรรมทุกคาบเรียน

  3. What to learn in this semester • Ubuntu • Apache Web Server • LMS/CMS/e-Commerce • 3D • Storage Device Management • IT Law. • Student’s Recommended Issue

  4. But,before… • การสัมมนา คือ อะไร...? ...การสัมมนาทางการศึกษา คือ อะไร...? ...การสัมมนาทางวิทยาการ คอมพิวเตอร์เราจะต้องทำยังไงบ้าง...?

  5. สัมมนาทางการศึกษา (Seminar in Education) • หลักการและความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการสัมมนา • ความสำคัญของการสัมมนา • กระบวนการสัมมนา • เทคนิคการประชุมสัมมนา

  6. สัมมนาทางการศึกษา (Seminar in Education) หมายถึง สํ + มน หรือ สํ + มนา สัมมนามาจาก Seminar การร่วมใจกัน การประชุมร่วมกัน

  7. สัมมนาทางการศึกษา (Seminar in Education) หมายถึง • การประชุมแบบหนึ่งที่สมาชิกที่มีความรู้ ความสนใจในเรื่องเดียวกันมาประชุมด้วยความร่วมใจ ปรึกษาหารือ ร่วมใจกันคิดหรือช่วยแก้ปัญหา (อำไพ สุจริตกุล, 2518) • เป็นการประชุมเพื่อพร้อมใจกันแก้ปัญหาและค้นหาความรู้โดยมีผู้เชี่ยวชาญเป็นวิทยากรหรือเป็นผู้ให้ความรู้หรือให้คำแนะนำ (จิตต์นิภา ศรีไสย, 2523 : 52-53)

  8. สัมมนาทางการศึกษา (Seminar in Education) หมายถึง • การจัดการอภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็นประสบการณ์หรือระดมความคิดเรื่องใดเรื่องหนึ่ง (สมคิด แก้วสนธิ และ สุนันท์ ปัทมาคม, 2524 : 45) • การประชุมเพื่อแลกเปลี่ยนความรู้และความคิดเห็น เพื่อหาข้อสรุปเรื่องใดเรื่องหนึ่งของการสัมมนา (พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พุทธศักราช 2525 : 809-810 )

  9. สัมมนาทางการศึกษา (Seminar in Education) หมายถึง • กิจกรรมการเรียนการสอนอย่างหนึ่ง ที่มุ่งให้ผู้เรียนได้เรียนรู้จักวิธีการศึกษาปัญหา วิเคราะห์ปัญหา หรือแก้ปัญหาเป็นกลุ่มเพื่อการหาข้อสรุปที่ถูกต้อง (ถนอมศรี จ่างตระกูล, ม.ป.ป. : 1)

  10. สัมมนาทางการศึกษา (Seminar in Education) • เป็นการประชุมกลุ่มแบบหนึ่งที่มุ่งยึดกลุ่มเป็นหลัก • เพื่อศึกษาปัญหา วิเคราะห์ สรุป และหาแนวทางแก้ปัญหาร่วมกันอย่างมีระบบตามหลักการ • ประเด็นปัญหาจาก • ประสบการณ์ • เอกสาร รายงานวิจัย ตำรา วารสาร • ข้อมูลจากการสัมภาษณ์ สังเกต สอบถาม หรือผู้เชี่ยวชาญ

  11. ประวัติการสัมมนา สมัยศตวรรษที่ 17 Seminraium = seed-bed (แปลงต้นกล้า) โดยสถาบันการศึกษามุ่งสอนนักบวช ลัทธิมาร์ติน ลูเธอร์(Lutheranism) โรงเรียนฝึกหัดครูในเยอรมัน

  12. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการจัดสัมมนา ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการจัดสัมมนา “ทำไมต้องเรียนวิชาสัมมนา ?”

  13. เป็นรูปแบบหนึ่งหรือ เทคนิคหนึ่งของการได้มา ซึ่งความรู้ แนวคิดและประสบการณ์ โดยอาศัยการประชุม พบปะพูดคุยบรรยาย อภิปราย ระดมสมอง ฯลฯ “ความสำคัญของวิชาสัมมนาการศึกษา”

  14. โดยการแลกเปลี่ยนประสบการณ์ เพื่อเป็นหนทางการหาข้อสรุป และนำข้อมูลที่ได้ไป แก้ไขปัญหา พัฒนาคน พัฒนางาน และทรัพยากรอื่นๆ “ความสำคัญของวิชาสัมมนาการศึกษา”

  15. ลักษณะของการสัมมนาเป็นกิจกรรม 2วิธี คือ 1 การประชุม 2 วิธีการสอน รูปแบบการจัดกิจกรรมที่ยืดหยุ่น เหมาะสมกับสถานการณ์ และวัตถุประสงค์ เป็นกระบวนการกลุ่ม รวมผู้สนใจที่มีความรู้ทางวิชาการที่ใกล้เคียงกัน มาแสดงความคิดเห็น อภิปราย ถกเถียง โต้ตอบ พูดคุย ปฏิสัมพันธ์ สร้างสรรค์ทัศนะใหม่ๆที่เกิดประโยชน์

  16. การสัมมนาแบบประชุม มุ่งผลประโยชน์ที่ได้รับไปพัฒนาองค์กร ผู้เข้าร่วมเป็นผู้ที่ทำงานในลักษณะเดียวกัน หรือมีประสบการณ์ใกล้เคียงกันมาร่วมสัมมนา และมุ่งพิธีในที่ประชุม

  17. การสอนสัมมนา มุ่งไปสู่การเรียนรู้ การค้นคว้า โดยวิธีการต่างๆ รวมทั้งการฝึกทักษะในเรื่องการคิด วิเคราะห์ปัญหา การเสนอแนวทางแก้ไข การแสดงออกของความคิดเห็น ซึ่งแสดงออกโดยการพูด สนทนา อภิปราย ฯลฯ ที่เกี่ยวกับเนื้อหาวิชานั้น

  18. ความมุ่งหมายของ “การสัมมนา” 1. อบรม ฝึกฝน ชี้แจง แนะนำ สั่งสอน ปลูกฝังทัศนคติและให้คำปรึกษาในเรื่องที่เกี่ยวข้อง 2. พิจารณา สำรวจ ตรวจสอบปัญหา หรือประเด็นต่างๆ เพื่อทำความข้าใจ 3. เสนอสาระน่ารู้ น่าสนใจ ที่ทันสมัย และเหมาะกับสถานการณ์

  19. ความมุ่งหมายของ “การสัมมนา” 4. แสวงหาข้อตกลง ด้วยวิธีการอภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็นอย่างเสรี ซักถามถกเถียง ปรึกษาหารือ ภายใต้หัวข้อที่กำหนด 5. ตัดสินใจหรือกำหนดนโยบาย หรือแนวทางสำหรับนำไปปฏิบัติ 6. ให้ได้ข้อสรุปผลของการนำเสนอหัวข้อหรือการวิจัย

  20. ประโยชน์ของการสัมมนา 1. ผู้เข้าร่วมสัมมนาได้รับความรู้ 2. เกิดความคิดสร้างสรรค์ 3. เกิดความกระตือรือร้น กล้าคิด กล้าทำ กล้าตัดสินใจ มีความรับผิดชอบ รู้จักรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น รู้จักดุลยพินิจ วิเคราะห์ปัญหา สามารถแก้ปัญหา เกิดภาวะผู้นำ

  21. ประโยชน์ของการสัมมนา 4. ผู้สัมมนาหรือผู้เรียนสามารถจัดงานสัมมนาได้อย่างมี ประสิทธิภาพ 5. เป็นการพัฒนาผู้ปฏิบัติงานให้พร้อมอยู่เสมอ 6. สร้างความเข้าใจอันดีต่อเพื่อนร่วมงาน มีมนุษย์สัมพันธ์

  22. กระบวนการสัมมนา (Process) กำหนดปัญหา สำรวจปัญหา ปรึกษาหารือ ในการแก้ปัญหา สรุป แลกเปลี่ยนผลการค้นคว้า

  23. ประชุมกลุ่มย่อย พิธีปิด กระบวนการสัมมนา ประชุมรวม

  24. สมาชิก ประเมินผล ผลสำเร็จการสัมมนา ผู้เข้าร่วม รายงานผล

  25. ผู้มีส่วนร่วมในการสัมมนาผู้มีส่วนร่วมในการสัมมนา 1. กลุ่มผู้จัดสัมมนา 2. กลุ่มวิทยากรผู้ทรงคุณวุฒิ 3. กลุ่มสมาชิกผู้เข้าร่วมสัมมนา

  26. ผู้มีส่วนร่วมในการจัดสัมมนาผู้มีส่วนร่วมในการจัดสัมมนา • กลุ่มวิทยากรผู้ทรงคุณวุฒิ • กลุ่มสมาชิกผู้เข้าร่วมสัมมนา

  27. เทคนิคการประชุมสัมมนาเทคนิคการประชุมสัมมนา • การอภิปราย • การประชุม

  28. การอภิปราย การอภิปราย หมายถึง การพูดจาหรือการปรึกษาหารือกัน (พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2493, 2523 : 992) การอภิปราย หมายถึง บุคคลกลุ่มหนึ่งมีเจตนาพิจารณาเรื่องใดเรื่องหนึ่งปรึกษาหารือกัน ออกความคิดเห็นเพื่อแก้ปัญหา แลกเปลี่ยนความรู้ความคิดเห็นเพื่อแก้ปัญหาที่มีอยู่ ถ่ายทอดประสบการณ์และลงความเห็นร่วมกัน (สมพงษ์ เกษมสิน, 2519)

  29. ลักษณะของการอภิปราย 1. จำนวนผู้อภิปรายประมาณ 5-20 คน 2. มีการหารือร่วมกัน 3. จุดมุ่งหมายต้องหารือร่วมกัน หรือแลกเปลี่ยนความรู้ความคิด ทัศนคติ และประสบการณ์ร่วมกัน 4. ผู้อภิปรายต้องสนใจเรื่องเดียวกัน

  30. ประเภทของการอภิปราย • การอภิปรายกลุ่ม (Group Discussion) • การอภิปรายในชุมชน (Public Discussion) • การอภิปรายแบบโต้วาที (Debate)

  31. การอภิปรายกลุ่ม (Group Discussion) • ใช้คนไม่จำกัดจำนวน • ผู้อภิปรายจะเป็นทั้งผู้พูดและผลัดกันเป็นผู้ฟัง • การอภิปรายนี้จะไม่มีผู้ฟัง • ผู้อภิปรายมีจำนวนไม่เกิน 20 คน • ใช้มากในวงการศึกษาและหน่วยงานราชการ

  32. การอภิปรายในชุมชน (Public Discussion) • มีบุคคล 2 ฝ่าย คือ ผู้อภิปรายเป็นผู้พูดและมีผู้ฟัง • การอภิปรายยุติเมื่อให้มีการซักถาม (Forum-period) • เป็นการให้ความรู้ ความคิด ประสบการณ์ ข้อเท็จจริง และเป็นการปัญหาโดยส่วนรวม

  33. การอภิปรายแบบโต้วาที (Debate) • อภิปรายแย้งกันอย่างมีเหตุผล • การหาเหตุผลมาหักล้างความคิดเห็นซึ่งกันและกัน • มีฝ่ายค้านและฝ่ายเสนอ • ฝ่ายใดที่มีเหตุผลดีกว่าแสดงว่าได้รับชัยชนะ • มีประธานหรือผู้ดำเนินการตัดสิน

  34. การอภิปรายแบบโต้วาที (Debate) • การอภิปรายแบบพาเนล (Panal Discussion) • การอภิปรายแบบซิมโปเซียม (Symposium Discussion) • การอภิปรายแบบปุจฉา-วิสัชนา (Colloquy)

  35. การอภิปรายแบบพาเนล (Panal Discussion) • ใช้สมาชิก 3 , 5 หรือ 8 คน • ผู้พูดมีความรู้ได้ทั่วไป และอภิปรายหรือพูดในเรื่องเดียวกัน • เป็นการสนทนาแบบกันเอง • มีผู้ดำเนินการเชิญให้ผู้อภิปรายแสดงความรู้ ความคิดและข้อเสนอแนะ • เปิดโอกาสให้ผู้ฟังร่วมอภิปรายด้วย

  36. การอภิปรายแบบพาเนล (Panal Discussion) เป็นการอภิปรายที่เหมาะกับการแยกประเด็นเพื่อใช้ในการแก้ปัญหา ปัญหาการศึกษาในประเทศไทย ผู้อภิปรายที่ 1 พูดเรื่อง สาเหตุ ผู้อภิปรายที่ 2 พูดเรื่อง ลักษณะของปัญหา ผู้อภิปรายที่ 3 พูดเรื่อง วิธีแก้ไข ผู้อภิปรายที่ 4 พูดเรื่อง ข้อเสนอแนะ

  37. การอภิปรายแบบซิมโปเซียม (Symposium Discussion) • เป็นการอภิปรายทางวิชาการ เพื่อแลกเปลี่ยนความรู้ • มีผู้เชี่ยวชาญชำนาญการด้านใดด้านหนึ่ง • ผู้ดำเนินการทำหน้าที่เชื่อมโยงเรื่องต่างๆให้ประสานกัน • เป็นการจัดอย่างเป็นทางการ • จำนวนผู้อภิปราย 2-5 คน

  38. การอภิปรายแบบซิมโปเซียม (Symposium Discussion) “ภาษาเพื่อการเรียนการสอน” ผู้อภิปรายที่ 1 พูดเรื่อง การสอนภาษาในระดับประถมศึกษา ผู้อภิปรายที่ 2 พูดเรื่อง การสอนภาษาในระดับมัธยมศึกษา ผู้อภิปรายที่ 3 พูดเรื่อง การสอนภาษาในระดับอุดมศึกษา ผู้อภิปรายที่ 4 พูดเรื่อง การสอนภาษาเพื่อการวิจัย ผู้อภิปรายที่ 5พูดเรื่อง การสอนภาษาเพื่อเขียนตำรา

  39. การอภิปรายแบบปุจฉา-วิสัชนา (Colloquy) • “การอภิปรายแบบโต้ปัญหา” ระหว่างกลุ่มวิทยากรและกลุ่มผู้ฟัง • ผู้ฝังสามารถซักถามวิทยากรได้อย่างใกล้ชิด

  40. การประชุมกลุ่ม การประชุมกลุ่ม คือ การที่บุคคลกลุ่มใดกลุ่มหนึ่งมาพบปะกัน เพื่อปรึกษาหารือแลกเปลี่ยนปัญหาและประสบการณ์ร่วมกัน หรือการประชุมกลุ่มออกมาจัดในรูปแบบการอภิปรายกลุ่ม

  41. ประเภทของการประชุม 1. การประชุมแบบ Convention 2. การประชุมแบบ Conference 3. การประชุมแบบ Sydicate 4. การประชุมแบบ Workshop

  42. การประชุมแบบ Convention สร้างกฎเกณฑ์ใหม่ทางด้านวิชาการและด้านการเมือง เพื่อปรึกษาหารือปรับปรุงแนวทางใหม่ เช่น - การประชุมของผู้อำนวยการโรเรียนต่างๆ เกี่ยวกับการกำหนด ขอบเขตและหน้าที่ความรับผิดชอบในการปฏิบัติหน้าที่ของครู ในโรงเรียน - การประชุมการเมืองของพรรคการเมืองเพื่อหาเสียง

  43. การประชุมแบบ Conference การประชุมเรื่องใดเรื่องหนึ่งที่ผู้ประชุมสนใจ ในปัญหาร่วมกันขนาดการประชุมจะเป็นกลุ่มเล็ก หรือกลุ่มใหญ่แล้วแต่จำนวนสมาชิก อาจเชิญวิทยากรมาอภิปรายและจัดการประชุมเป็นห้องเล็ก เช่น การประชุมวิชาการ เรื่อง การพัฒนานวัตกรรมการเรียนรู้

  44. การประชุมแบบ Sydicate การประชุมแถลงปัญหาข้อมูลของแต่ละหน่วย โดยมีผู้แทนจากหน่วยงานต่างๆ นำเอาปัญหา มาประชุมร่วมกัน และแบ่งกลุ่มย่อย เพื่อแก้ปัญหาร่วมกัน

  45. การประชุมแบบ Workshop การประชุมวิชาการและการทำงานร่วมกัน โดยสมาชิกเป็นกลุ่มที่สนใจปัญหาที่คล้ายกัน มาร่วมกันปรึกษาหาวิธีการแก้ไขปัญหา ด้วยการลงมือปฏิบัติด้วยกัน เช่น การประชุมครูเพื่อทำโครงการสอน

  46. เทคนิคการประชุม 1. วิธีระดมสมอง (Brainstroming) 2. วิธีวนรอบ (Circular Response) 3. วิธีเสียงหึ่ง 6-6 (Buzz-Session or Philip Six-six)

  47. วิธีระดมสมอง (Brainstroming) “การระดมปัญญา หรือ ระดมความคิด” • ประธานกระตุ้นสมาชิกมีการแสดงความคิดเห็นหรือข้อเสนอแนะในที่ประชุมเพื่อแก้ปัญหาร่วมกัน • ปัญหามักเป็นปัญหาที่ซับซ้อน • เป็นวิธีการแนวคิด “หลายหัว(สมอง)ดีกว่าหัว(สมอง)เดียว” • เช่น การผลิตให้นักเรียนมีคุณภาพควรทำอย่างไร

  48. การจัดการโต๊ะอภิปราย X x x x x xแบบเส้นตรง x x x x xแบบตัวที x x x x x x x x x X x x x x x x ครึ่งวงกลม x x x x x x x แบบตัวยู

  49. วิธีวนรอบ (Circular Response) • ยึดตามความต้องการสมาชิกทุกคน • ทุกคนแสดงความคิดเห็นเรียงตามลำดับกันเป็นวงกลมเพื่อให้สมาชิกทุกคนมีโอกาสแสดงความคิดเห็นร่วมกันอย่างทั่วถึง • เริ่มต้นจากประธานแล้ววนรอบจนครบทุกคน • มีความเป็นอิสระในการออกความคิดเห็น

  50. วิธีเสียงหึ่ง 6-6 (Buzz-Session or Philip Six-six) • เป็นการประชุม 1 นาทีต่อ 1 คน • ต้องให้ทุกคนมีส่วนรวมในการแสดงความคิดเห็นอย่างทั่วถึง • เป็นปัญหาที่สั้นๆ ไม่ยุ่งยาก ไม่ซับซ้อน • ใช้เวลาแก้ปัญหาโดยไม่ต้องเสียเวลา • เป็นปัญหาย่อยของปัญหาใหญ่ได้คำตอบหรือวิธีแก้ปัญหาอย่างรวดเร็ว • สมาชิกควรมี 6 คน

More Related