1 / 40

บทที่ 4 การจัดองค์การ ( Organizing)

บทที่ 4 การจัดองค์การ ( Organizing). เพิ่มขีดความสามารถ. วัฒนธรรมการเรียนรู้. การนำเสนอความคิดเห็น. ประสิทธิภาพองค์กร. การสื่อสาร. ประสิทธิภาพกลุ่ม. ความคิดเชิงระบบ. ประสิทธิภาพตน. การสร้างกลยุทธ์. หัวใจการเปลี่ยนแปลง. การจัดองค์การ . ความหมายและความสำคัญของการจัดองค์การ

elan
Télécharger la présentation

บทที่ 4 การจัดองค์การ ( Organizing)

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. บทที่ 4 การจัดองค์การ (Organizing)

  2. เพิ่มขีดความสามารถ วัฒนธรรมการเรียนรู้ การนำเสนอความคิดเห็น ประสิทธิภาพองค์กร การสื่อสาร ประสิทธิภาพกลุ่ม ความคิดเชิงระบบ ประสิทธิภาพตน การสร้างกลยุทธ์ หัวใจการเปลี่ยนแปลง

  3. การจัดองค์การ • ความหมายและความสำคัญของการจัดองค์การ • รูปแบบและโครงสร้างองค์การ • การแบ่งงานและการจัดแผนงาน • การกำหนดอำนาจหน้าที่และความรับผิดชอบ

  4. องค์กร & องค์การ • ในพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542 กล่าวไว้ว่า • องค์กร น. บุคคล คณะบุคคล หรือสถาบันซึ่งเป็นส่วนประกอบของหน่วยงานใหญ่ที่ทำหน้าที่สัมพันธ์กันหรือขึ้นต่อกัน เช่น คณะรัฐมนตรีเป็นองค์กรบริหารของรัฐ สภาผู้แทนราษฎรเป็นองค์กรของรัฐสภา ในบางกรณี องค์กร หมายความรวมถึงองค์การด้วย (อ. organ) • องค์การ น. ศูนย์รวมกลุ่มบุคคลหรือกิจการที่ประกอบกันขึ้นเป็นหน่วยงานเดียวกัน เพื่อดำเนินกิจการตามวัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้ในกฎหมาย หรือตราสารจัดตั้ง ซึ่งอาจเป็นหน่วยงานของรัฐ เช่น องค์การของรัฐบาล หน่วยงานเอกชน เช่น บริษัทจำกัด สมาคม หรือหน่วยงานระหว่างประเทศ เช่น องค์การสหประชาชาติ (อ. Organization)

  5. ความหมาย การจัดการองค์การความหมาย การจัดการองค์การ คือโครงสร้างที่ได้ตั้งขึ้นตามกระบวนการ โดยมี • บุคคลตั้งแต่ 2 คนขึ้นไป • บุคคลที่อยู่ในองค์การเกี่ยวข้องกัน • มีความสัมพันธ์ในการทำงานร่วมกันและองค์การต้องระบุไว้ในโครงสร้างขององค์การ

  6. 4. บุคคลทุกคนในองค์การต่างก็มีวัตถุประสงค์ส่วนตัว • 5. ความสัมพันธ์ในการทำงานร่วมกัน จะช่วยให้ประสบผลสำเร็จตามวัตถุประสงค์ส่วนรวมที่เห็นพ้องต้องกัน ถึงแม้ว่า วัตถุประสงค์ส่วนรวมจะแตกต่างไปจากวัตถุประสงค์ส่วนตัวก็ตาม

  7. วัตถุประสงค์ขององค์การวัตถุประสงค์ขององค์การ • จะเกิดขึ้นได้จากการรวมตัวของวัตถุประสงค์ของหลาย ๆ ฝ่าย และมีผลตอบแทนร่วมกัน • ดังนั้น ทุกองค์การ ต่าง ก็มีความพยายามที่จะปฏิบัติงานให้บรรลุวัตถุประสงค์ • ทุกองค์การ จะต้องกำหนดวัตถุประสงค์ให้ชัดเจน เพื่อป้องกันการหลงทาง

  8. ประเภทขององค์การ • องค์การที่เป็นทางการ : ตามสายบังคับบัญชา • และองค์การที่ไม่เป็นทางการ : เน้นความสัมพันธ์ส่วนตัว • องค์การรูปนัย : หน่วยงานตามกฏหมาย • องค์การอรูปนัย : การรวมตัวของสมาชิกด้วยความสมัครใจ • องค์การปฐมภูมิ : เกิดขึ้นด้วยอุดมการณ์ จากจิตใจสมาชิก ครอบครัว • องค์การทุติยภูมิ : รวมกันที่เป็นเหตุผล ตามระเบียบ รับผิดชอบร่วมกัน

  9. ความหมายของการจัดองค์การ (เพิ่มเติม) • หมายถึง ความพยายามของผู้บริหารในการหาบุคลากรที่มีความรู้ความสามารถ เพื่อที่จะมอบหมายงาน และอำนาจหน้าที่ในการปฏิบัติ โดยมีการใช้ทรัพยากรเพื่อให้บรรลุตามวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ในการผลิตสินค้าหรือบริหารเพื่อให้ประสบความสำเร็จ

  10. ความสำคัญของการจัดองค์การความสำคัญของการจัดองค์การ • ทำให้ทราบแนวทางปฏิบัติงาน • ทำให้เราไม่ทำงานซ้ำซ้อน หรือ ขัดแย้งกันในหน้าที่ • ช่วยให้พนักงานได้ทราบขอบเขตของงาน • การติดต่อประสานงานกันจะได้สะดวกขึ้น • ผู้บริหารสามารถที่จะตัดสินใจ ได้อย่างถูกต้องและรวดเร็ว

  11. กระบวนการจัดองค์การ • การให้รายละเอียดงานทุกอย่างที่จะต้องกระทำ • การแบ่งปริมาณงานทั้งหมดเป็นกิจกรรมต่าง ๆ เพื่อจัดแบ่งให้แต่ละฝ่ายดูแล • การกำหนดกลไกอย่างใดอย่างหนึ่งสำหรับการประสานงาน เช่นจัดกิจกรรมละลายพฤติกรรม แข่งกีฬา เพื่อลดข้อขัดแย้ง การสร้างทีมงาน มีจุดมุ่งหมายเดียวกัน

  12. 4.2 รูปแบบและโครงสร้างองค์การ • มีการเขียนออกมาในรูปของแผนผัง เพื่อให้เกิดความเข้าใจ ซึ่งมักเรียกว่า โครงสร้างขององค์การ Organization Chart

  13. โครงสร้างขององค์การ สามารถจัดทำได้เป็นหลายแบบด้วยกัน แต่ที่เป็นที่นิยม อาจจัดได้ 3 แบบ คือ • การจัดโครงสร้างแบบแบ่งแยกตามหน้าที่ เป็นแผนกต่าง ๆ • จัดโครงสร้างองค์การแบบแบ่งส่วนงานเป็นหน่วยต่างหาก เป็นหน่วยงานอิสระ เช่น แบ่งตามผลิตภัณฑ์ ตามพื้นที่ สาขา ฯลฯ • การจัดโครงสร้างแบบผสม

  14. การจัดโครงสร้างองค์การโดยเน้นจุดสนใจที่โครงการการจัดโครงสร้างองค์การโดยเน้นจุดสนใจที่โครงการ • กระทำขึ้นชั่วคราว เพื่อให้มีโครงสร้างพิเศษเกิดขึ้นตามวัตถุประสงค์ของโครงการต่าง ๆ ที่แทรกซ้อนขึ้นมาในระบบงาน • และจะมีการใช้เฉพาะตามอายุเวลาของ โครงการนั้น ๆ

  15. Matrix Organization • การจัดโครงการในองค์การ แต่ละโครงการจะต้องมี • ผู้จัดการโครงการ • มีการขอยืมตัวผู้เชี่ยวชาญและพนักงานจากแผนกต่าง ๆให้เข้ามาปฏิบัติงานตามโครงการ และอยู่ภายใต้ผู้จัดการโครงการนั้น ๆ จนกว่างานโครงการจะแล้วเสร็จ

  16. การจัดโครงสร้างองค์การที่เหมาะสมกับสถานะการณ์การจัดโครงสร้างองค์การที่เหมาะสมกับสถานะการณ์ • ไม่มีโครงสร้างองค์การแบบใดที่จะสามารถใช้ได้กับทุกสถานการณ์ • การออกแบบโครงสร้างองค์การ จะต้องคำนึงถึงสภาพของเหตุการณ์และสถานการณ์ • ผุ้บริหารต้องมีการวิเคราะห์และประเมินถึงความเหมาะสมของโครงสร้างองค์การเป็นระยะ ๆ

  17. 4.3 การแบ่งงานและการจัดแผนกงาน • องค์การที่มีขนาดใหญ่ บุคคลคนเดียวไม่สามารถทำงานให้บรรลุวัตถุประสงค์ขององค์การได้ จึงต้องแบ่งงานกันทำออกเป็นแผนกงานต่าง ๆ โดยพิจารณาจากกลุ่มกิจกรรมต่าง ๆ ที่มีลักษณะคล้ายกันไว้ด้วยกัน เรียกว่า “การจัดแผนงาน”

  18. วัตถุประสงค์การจัดแผนกงานวัตถุประสงค์การจัดแผนกงาน • นำกิจกรรมที่มีลักษณะเฉพาะมารวมกัน • เพื่อความสะดวกในการบริหารงาน • เพื่อให้มีการควบคุมบริหารงานในแผนก

  19. ประโยชน์ของการจัดแผนกงานประโยชน์ของการจัดแผนกงาน • เพิ่มประสิทธิภาพการจัดการในหน่วยงานธุรกิจ • กำหนดภาระผูกพันที่แน่นอนในงานนั้น • ประเมินผลการปฏิบัติงานได้ง่าย • พัฒนาทักษะการบริหาร • สามารถควบคุมได้ เพราะงานมีการกำหนดอย่างชัดเจน

  20. หลักเกณฑ์สำหรับการแบ่งแผนกงานหลักเกณฑ์สำหรับการแบ่งแผนกงาน • การแบ่งคนงานออกเท่า ๆ กัน • การใช้หน้าที่ เป็นเกณฑ์ • การใช้ผลิตภัณฑ์เป็นเกณฑ์ • การใช้พื้นที่เป็นเกณฑ์ • การใช้ลูกค้าเป็นเกณฑ์

  21. 1. การแบ่งคนงานออกเท่า ๆ กัน • แบ่งคนงานออกเป็นจำนวนที่เท่ากัน ให้กับหน่วยงานต่าง ๆ ภายในองค์การ • คนเหล่านั้นมีลักษณะไม่ต่างกันนัก • ส่วนมากใช้ในการแบ่งคนเพื่อทำงานง่าย ๆ • ความสำเร็จของงานนั้นขึ้นอยู่กับจำนวนกำลังคนเท่านั้น

  22. 2. การใช้หน้าที่เป็นเกณฑ์ • การจัดแผนกงานจะกระทำโดยแบ่งแยกตามหน้าที่ หรือตามลักษณะงานที่ทำ เช่น • แผนกการผลิต • แผนกการขายหรือการตลาด • แผนกการเงิน

  23. 3. การใช้ผลิตภัณฑ์ เป็นเกณฑ์ • แบ่งตามผลิตภัณฑ์หรือประเภทสินค้า นิยมใช้ในองค์การที่มีขนาดใหญ่ขึ้น • ช่วยให้ผู้บริหารสูงสุด สามารถมอบหมายอำนาจหน้าที่ในการทำงานตามหน้าที่ต่าง ๆ เช่น งานผลิต งานขาย การให้บริการและงานด้านวิศวกรรม

  24. 4. การใช้พื้นที่ เป็นเกณฑ์ • จัดแผนกงานโดยแบ่งออกตามพื้นที่ทางภูมิศาสตร์ • ใช้ในกรณีที่การปฏิบัติการขององค์การธุรกิจ กระจายออกไปในพื้นที่ส่วนต่าง ๆ • กิจกรรมทุกอย่างในเขตใดเขตหนึ่งจะถูกรวมกัน และมอบหมายให้แก่ผู้บริหารคนหนึ่ง

  25. 5. การใช้ลูกค้าเป็นเกณฑ์ • เหมาะสมกับธุรกิจที่ประสงค์จะขายสินค้าหรือให้บริการแก่ลูกค้าแต่ละกลุ่ม ภายใต้การบริหารงานของผู้จัดการคนใดคนหนึ่ง • อาจจะแบ่งแผนกออกตามประเภทของลูกค้าดังนี้ คือ • ตามลูกค้าที่เป็นผู้ค้าส่ง • ผู้ค้าปลีก • ลูกค้ารายย่อยที่ใช้ส่วนตัว

  26. 4.4 การกำหนดอำนาจหน้าที่และความรับผิดชอบ • อำนาจหน้าที่ คือ..อำนาจสิทธิที่จะสั่งการ ให้ผู้อื่นปฏิบัติงานและ ใช้จ่ายทรัพยากรต่าง ๆ • มีหลายแนวคิด..

  27. นักวิชาการกลุ่มแรก • หมายถึง อำนาจหน้าที่ ที่เป็นทางการ ของผู้บังคับบัญชาที่จะสั่งให้ผู้อยู่ใต้บังคับบัญชา ให้ปฏิบัติตามคำสั่งของตนได้

  28. นักวิชาการกลุ่มที่สองนักวิชาการกลุ่มที่สอง • กลุ่มแนวความคิดว่าด้วย การยอกรับ • เชื่อว่า อำนาจหน้าที่ หมายถึง ความสามารถของผู้บริหาร ในการที่จะใช้ความสามารถใน • การชักจูง • แนะนำ • การเจรจาอื่น ๆ ให้มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมของผู้อยู่ใต้บังคับบัญชาได้

  29. นักวิชาการในกลุ่มที่สาม นักวิชาการในกลุ่มที่สาม • กลุ่มแนวความคิดว่าด้วย ความสามารถ • เชื่อว่า อำนาจหน้าที่ เกิดขึ้นจากความสามารถส่วนตัวบุคคลของผู้บังคับบัญชา ทั้งทางความรู้ ความเชี่ยวชาญด้าน ต่าง ๆ • ด้วยความสามารถนี้เอง ที่ทำให้บุคคลผู้อยู่ใต้บังคับบัญชายอมรับความมีอำนาจของบุคคลดังกล่าว • อาจมิใช่อำนาจที่แท้จริง เกิดจากความสามารถพิเศษประจักษ์เป็นที่ยอมรับ

  30. การพิจารณากำหนดอำนาจหน้าที่ให้เป็นที่ยอมรับการพิจารณากำหนดอำนาจหน้าที่ให้เป็นที่ยอมรับ • ใช้วัฒนธรรมกำหนด และช่วยทำให้มีการยอมรับ..เด็กเชื่อฟังผู้ใหญ่ • ใช้วิธีการใช้รางวัล และ การลงโทษ • เสริมสร้างความสามารถส่วนตัวและความเป็นผู้นำ การฝึกฝน บุคลิกภาพ • ใช้ประโยชน์จากการพยายามหลีกเลี่ยงความรับผิดชอบของผู้อยู่ใต้บังคับบัญชา..ไม่อยากตัดสินใจ ไม่ยากรับผิดชอบ ทำตามสั่ง.. • การใช้อำนาจหน้าที่ให้ถูกต้องตามทำนอง ครองธรรม หากใช้ผิด จะเกิดการประท้วง ไม่ยอมรับ

  31. หลักที่เกี่ยวกับอำนาจหน้าที่หลักที่เกี่ยวกับอำนาจหน้าที่ • หลักของความมีขนาดเท่ากัน ระหว่าง อำนาจหน้าที่ กับ ความรับผิดชอบ.. มอบอำนาจหน้าที่ ให้เขาสามารถปฏิบัติและรับผิดชอบได้ 2. หลักของการบริหารให้แตกต่าง ..กล้าตัดสินใจ ผลงานของลูกน้อง..ทำดีได้ดี ทำไม่ดีถูกลงโทษ

  32. ความรับผิดชอบ • หมายถึง ข้อผูกพัน ของผู้ใต้บังคับบัญชาที่มีต่อผู้บังคับบัญชา อันเนื่องมาจากการได้รับมอบหมายให้กระทำการอย่างใดอย่างหนึ่ง • เมื่อได้รับมอบหมายงาแล้ว..นอกจากทำงานเสร็จสิ้นแล้ว ติดตามผลงานให้มีความสมบูรณ์ เหมาะสมด้วย

  33. งานเดี่ยวที่ 3 • ให้นักศึกษา เขียนโครงสร้างองค์การ ในหน่วยงานของท่าน • แล้ววิเคราะห์ว่า.. • เป็นแบบใด • ท่านอยู่ตรงไหน • มีข้อดี ข้อเสียอย่างไร • หรือท่านไปหาตัวอย่างองค์การที่ท่านสนใจ และ อธิบาย พร้อมแสดงความเห็น

  34. Q & A

  35. รายงานกลุ่มกลุ่มละ 5 คน ทำรายงาน Present by Powerpoint • การจัดองค์การ start 27/4/08 • การจัดคนเข้าทำงาน • การควบคุม • การรับรู้ 4/5/08 • การจูงใจ • พฤติกรรมการทำงานของกลุ่ม/การทำงานเป็นทีม • ภาวะผู้นำ 11/5/08 • การติดต่อสื่อสาร • การตัดสินใจ • สอบปลายภาค.....18/5/08

  36. Email:jumpotkan@yahoo.com link เนื้อหาบรรยาย..... http://web.bsru.ac.th/~jumpot/

  37. Thankyou

More Related