1 / 158

การเขียนโปรแกรมบนระบบปฏิบัติการ GUI

การเขียนโปรแกรมบนระบบปฏิบัติการ GUI. รหัส 2201-2412 ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ สาขางานคอมพิวเตอร์ธุรกิจ. หน่วยการเรียนรู้ที่ 1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเขียนโปรแกรม GUI. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเขียนโปรแกรม GUI. ความเป็นมาของ Visual Basic จุดเด่นของ Visual Basic

elewa
Télécharger la présentation

การเขียนโปรแกรมบนระบบปฏิบัติการ GUI

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การเขียนโปรแกรมบนระบบปฏิบัติการ GUI รหัส 2201-2412 ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ สาขางานคอมพิวเตอร์ธุรกิจ

  2. หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเขียนโปรแกรม GUI

  3. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเขียนโปรแกรม GUI • ความเป็นมาของ Visual Basic • จุดเด่นของ Visual Basic • ความหมายของการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ • การติดตั้ง Visual Basic

  4. ความเป็นมาของ Visual Basic ภาษาเบสิค (BASIC) สร้างขึ้นในปีค.ศ. 1963 โดย Horn Keneny และ Thomus Kurtz ที่วิทยาลัย Dartmouth มีจุดมุ่งหมายในการพัฒนาภาษาเบสิคขึ้นเพื่อใช้สอนหลักการเขียนโปรแกรมเท่านั้นต่อมาได้พัฒนาขึ้นใหม่ให้ชื่อว่า “วิชวลเบสิค” (Visual Basic) โดยเริ่มต้นจาก Visual Basic 1.0 และได้มีการพัฒนามาเป็นลำดับทั้งจากบริษัทไมโครซอฟต์ซึ่งเป็นผู้ให้กำเนิดและบริษัทผู้ผลิตซอฟต์แวร์ต่างๆทั่วโลกจนกระทั่งเป็น Visual Basic 6.0 ดังเช่นในปัจจุบัน

  5. จุดเด่นของ Visual Basic คือความเรียบง่ายในการพัฒนาโปรแกรมเนื่องจากถูกออกแบบมาให้สะดวกและง่ายต่อการใช้งานของนักเขียนโปรแกรมสมัยใหม่ทำให้ประหยัดเวลาในการพัฒนาโปรแกรมลงมากเมื่อเทียบกับโปรแกรมอื่นๆ

  6. ความหมายของการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุความหมายของการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ (Object Oriented Programming :OOP)คือการเขียนโปรแกรมโดยอาศัยเครื่องมือพิเศษซึ่งเรียกว่า คอนโทรล(Control) เข้ามาช่วยในการพัฒนาโปรแกรมโดยหลักการทำงานที่สำคัญคือการกำหนดคุณสมบัติให้กับคอนโทรลได้โดยตรงเช่นกำหนดขนาดของตัวอักษรสีตัวอักษรสีพื้นหลังเป็นต้นทำให้เกิดความสะดวกและรวดเร็วในการพัฒนาโปรแกรม

  7. การติดตั้ง Visual Basic การติดตั้งโปรแกรมวิชวลเบสิคปัจจุบันทางบริษัทไมโครซอฟต์ได้จัดไว้เป็นส่วนหนึ่งของชุดโปรแกรม Microsoft Visual Studio 98 ประกอบไปด้วยโปรแกรม Visual C++, Visual J++, Visual FoxPro, Visual Interdev, Visual Basic 6.0 เป็นต้นดังนั้นในการติดตั้งโปรแกรมอาจเลือกติดตั้งเฉพาะโปรแกรม Visual Basic 6.0 เพียงอย่างเดียวก็ได้โดยจะต้องเตรียมพร้อมในด้านความต้องการของระบบ (System Requirement) ดังนี้

  8. ด้านฮาร์ดแวร์ (Hardware)

  9. ด้านซอฟต์แวร์ (Software)

  10. หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ Visual Basic 6.0

  11. การเข้าสู่โปรแกรม Visual Basic 6.0 • คลิกเมนู Start > Program >Microsoft Visual Studio 6.0 > Visual Basic 6.0

  12. การเริ่มต้นกับ Visual Basic 6.0

  13. การเริ่มต้นกับ Visual Basic 6.0

  14. การเริ่มต้นกับ Visual Basic 6.0

  15. ส่วนประกอบต่าง ๆ ของโปรแกรม Visual Basic 6.0 Toolbar Project Explorer Window Properties Window Form Layout Window Toolbox Form

  16. ส่วนประกอบต่าง ๆ ของโปรแกรม

  17. Toolbar 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23

  18. หน้าที่การทำงานของไอคอนแต่ละตัวบน Toolbar

  19. หน้าที่การทำงานของไอคอนแต่ละตัวบน Toolbar

  20. หน้าที่การทำงานของไอคอนแต่ละตัวบน Toolbar

  21. การวาดคอนโทรลลงบนฟอร์มการวาดคอนโทรลลงบนฟอร์ม

  22. Project Explorer

  23. Properties Window AlphabeticCategorized

  24. Form Layout Window

  25. ขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรมขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรม • ขั้นตอนการออกแบบ • ขั้นตอนการสร้างฟอร์ม หรือหน้าจอโปรแกรม • ขั้นตอนการกำหนดคุณสมบัติ • ขั้นตอนการเขียนโปรแกรม • ขั้นตอนการคอมไพล์และการรันโปรแกรม • ขั้นตอนการบันทึกและการจัดเก็บไฟล์

  26. ข้อจำกัดของโปรแกรมวิชวลเบสิกข้อจำกัดของโปรแกรมวิชวลเบสิก • แต่ละโปรเจ็คสามารถกำหนดค่าแทนชื่อข้อมูลต่างๆได้รวม 32,000 คำและจะต้องเป็นคำที่ไม่ซ้ำกับคำสงวน (Reserved Word) • กำหนดชื่อขงอตัวแปร (Variable) ได้ไม่เกิน 255 ตัวอักษร • กำหนดชื่อ Form, Controls, Modules และ Class ได้ไม่เกิน 40 ตัวอักษร

  27. หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 ฟอร์ม (Form)

  28. ฟอร์ม คือส่วนที่ใช้แสดงผลหน้าจอของโปรแกรมที่ต้องการพัฒนาขึ้นมาโดยในหนึ่ง Project สามารถสร้างฟอร์มได้หลายฟอร์ม

  29. คุณสมบัติ (Properties) ที่สำคัญของ Form

  30. วิธีกำหนดคุณสมบัติให้กับฟอร์ม หรือคอนโทรล (Control) • คลิกเมาส์ซ้ายบริเวณฟอร์มหรือคอนโทรลที่ต้องการกำหนดคุณสมบัติ (สังเกตคอนโทรลที่ใช้เมาส์คลิกจะมีจุดสี่เหลี่ยมล้อมรอบ) • คลิกเมาส์เลือกกำหนดคุณสมบัติของฟอร์มหรือคอนโทรลที่หน้าต่าง Properties Window • เลือกกำหนดค่าตามคุณสมบัติที่ต้องการ

  31. การใช้รูปภาพกำหนดเป็นพื้นหลังของฟอร์มการใช้รูปภาพกำหนดเป็นพื้นหลังของฟอร์ม

  32. การ Run และเลิกงาน Project การ Run คลิกเมาส์ไอคอน หรือคลิกเมนู Run > Start หรือกดปุ่ม F5 การยกเลิกการ Run คลิกเมาส์ไอคอน หรือคลิกเมนู Run > End

  33. การเลือก Run Form ที่ต้องการ

  34. การปรับแต่งขนาดของฟอร์มการปรับแต่งขนาดของฟอร์ม

  35. การเพิ่มฟอร์ม (Form ) • คลิกเมาส์เลือกเมนู Project > Add Form 2. คลิกเมาส์ปุ่มคำสั่ง Open เพื่อเปิดฟอร์ม

  36. การบันทึก Form และ Project 1. คลิกเมาส์ที่เมนู File > Save Project 2. คลิกปุ่ม Save ฟอร์มแต่ละฟอร์ม

  37. การลบฟอร์ม

  38. หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 แถบอักษร (Label)

  39. การสร้าง Label บน Form 1. คลิกเมาส์เลือก Control Label จาก ToolBox 2. คลิกเมาส์ซ้ายค้างไว้แล้วลากจากมุมบนซ้ายลงมายังมุมล่างขวา

  40. การเคลื่อนย้าย Label บน Form 1. คลิกเมาส์ซ้ายค้างไว้ที่ Label แล้วลากเมาส์ไปวางตรงตำแหน่งที่ต้องการ

  41. การเคลื่อนย้าย Label บน Form 2. หรือคลิกเมาส์ซ้ายลากคลุมทุก Label ที่ต้องการเคลื่อนย้ายหรือกดปุ่ม Ctrl + A

  42. การกำหนดคุณสมบัติของ Label

  43. หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 กรอบข้อความ

  44. กรอบข้อความ (TextBox) คือ Control ที่ใช้สำหรับเพิ่มเติมหรือแก้ไขข้อความที่อยู่ภายในได้ • คุณสมบัติ (Properties) ที่สำคัญของ TextBox

  45. คุณสมบัติ (Properties) ที่สำคัญของ TextBox

  46. คุณสมบัติ (Properties) ที่สำคัญของ TextBox

  47. การสร้าง TextBox บน Form

  48. หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 ตัวเลือก (OptionButton, CheckBox)

  49. ตัวเลือกที่เลือกได้เพียงตัวเดียว (OptionButton) คือ Control ที่ใช้สำหรับเป็นตัวเลือกให้ผู้ใช้งานสามารถเลือกตอบได้โดยการใช้เมาส์คลิกหน้าตัวเลือกที่ต้องการ

  50. คุณสมบัติ

More Related