1 / 28

Open source and Linux Technology

Open source and Linux Technology. อุทัย คูหาพงศ์. กำเนิดแนวความคิด. ในอดีต โปรแกรมต่างๆมีการพัฒนาโดยนักพัฒนาและแลกเปลี่ยนกันโดยเสรี เริ่มมีการพัฒนาทางการค้าของซอฟต์แวร์มากขึ้น

Télécharger la présentation

Open source and Linux Technology

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. Open sourceand Linux Technology อุทัย คูหาพงศ์

  2. กำเนิดแนวความคิด • ในอดีต โปรแกรมต่างๆมีการพัฒนาโดยนักพัฒนาและแลกเปลี่ยนกันโดยเสรี • เริ่มมีการพัฒนาทางการค้าของซอฟต์แวร์มากขึ้น • กลุ่มคนที่มองว่าซอฟต์แวร์เป็นสมบัติของมนุษยชาติได้ตั้งองค์การเรียกว่า The Free Software Foundation (FSF), ในปี 1985 • นำโดย Richard Stallman • ส่งเสริมให้มีการแลกเปลี่ยน ดัดแปลง ทำสำเนาซอฟต์แวร์อย่างเสรี เพื่อให้ผู้ใช้มี Solution ที่ไม่ขึ้นกับ Vendor • ตั้งโครงการ GNU เพื่อพัฒนาซอฟต์แวร์ต่างๆที่ทำให้คอมพิวเตอร์เหมือนระบบ Unix • สร้างลิขสิทธิ์แบบที่เรียกว่า GPL (Gnu public License) ขึ้น

  3. GPL (Gnu Public License) และ Open Source • ซอฟแวร์ส่วนใหญ่นั้นอยู่ใต้ Gnu Public License • อนุญาตให้มีการขาย ทำเพิ่มอย่างไรก็ได้แต่ • ต้องให้ซอร์สโปรแกรมไปด้วย • การแก้ไขทุกครั้งที่ใครทำถือว่าอยู่ใต้ Gnu Public License

  4. แนวคิด Opensource • FSF GPL ทำให้ทำการค้าได้ยากเนื่องจากซอฟต์ร์ทุกตัวต้องแจกฟรีหมด • Opensource เป็นแนวคิดที่เกิดในราว 1998 • Computer programs or operating systems for which the source code is publicly available are referred to as open-source software. Inherent in the open source philosophy is the freedom of a distributed community of programmers to modify and improve the code. The most widely known example of open-source software is the Linux operating system. • ต้องการให้ทำการค้าได้ง่ายขึ้น • ดู www.opensource.org

  5. ข้อดีของ Opensource • เข้าใจและแก้ไขได้เนื่องจากมี Source code ทำให้เราเป็นเจ้าของ technology • มี solution ให้เลือกมากมาย • มีพัฒนาการที่เร็ว • นักพัฒนากลุ่มใหญ่ใช้ Internet สร้างระบบพัฒนาแบบเปิด • มีการทดสอบและ fixed อย่างรวดเร็ว • ใช้งานในองค์กรต่างๆอย่างมากมายและสนับสนุนโดยบริษัทใหญ่ เช่น IBM, Sun Microsystem, Oracle

  6. ประวัติของระบบลีนุกซ์ประวัติของระบบลีนุกซ์ • คิดค้นขึ้นโดยนิสิตปริญญาโทที่มหาวิทยาลัย Helsinki ประเทศ Finland ชื่อ Linus Torvald (ไลนัส ทอร์วาล) ในราวปี 1991 • จุดเริ่มต้นเพื่อทดแทน ระบบ Minix ของ Andrew S. Tanenbaum ที่ใช้ในการเรียนการสอนอยู่ • ลีนุกซ์ถูกนำไปใช้ก่อนในการวิจัยในมหาวิทยาลัยต่างประเทศและในหมู่มือสมัครเล่น แล้วจึงแพร่หลายมาในทางธุรกิจ • ลีนุกซ์เป็นระบบที่เขียนขึ้นใหม่โดยสมบูรณ์จึงไม่มีปัญหาเรื่องลิขสิทธิ์ และแจกฟรีภายใต้ GPL License (GNU Public License)

  7. ทำไมลีนุกซ์กำลังดัง • เป็นระบบปฏิบัติการที่ทำงานแบบ UNIX ซึ่งมีขีดความสามารถสูง • กินฮาร์ดแวร์ต่ำมาก ทำงานได้บนเครื่องเก่าๆ เช่น PC 166, 300 Mhz • การใช้งานพบว่าลีนุกซ์มีความเสถียร (stable) ในการใช้งานสูงมาก ไม่ค่อยหยุดทำงาน (มีคนเปิดไว้ตลอดเวลาเป็นปีก็ไม่ตาย) • เป็นของฟรีที่ ดาวน์โหลดได้จากอินเตอร์เน็ต • ftp.sunsite.unc.edu/pub/linux หรือ จากftp.nectec.or.th

  8. ขีดความสามารถเด่นๆของลีนุกซ์ขีดความสามารถเด่นๆของลีนุกซ์ • เป็นระบบที่ทำงานได้ตามมาตรฐาน UNIX ของ IEEE ที่เรียกว่า POSIX • สนับสนุนการทำงานแบบ Multitask, และ Multiusers เต็มรูปแบบ • สนับสนุนการทำงาน Multiprocessors แบบ SMP • มีทั้ง 32 และ 64 บิต (Intel itanium, AMD Opteron) • ทำงานได้หลายแพลตฟอร์ม เช่น บน Intel, DEC Alpha, MIPS และ PowerPC

  9. ขีดความสามารถเด่นๆของลีนุกซ์ขีดความสามารถเด่นๆของลีนุกซ์ • สนับสนุนการทำงานแบบ Multithreading • สนับสนุนการทำงานแบบ Multimedia มีเสียงและภาพ • มีระบบ Windows คือ X Windows และมี Desktop ที่มีประสิทธิภาพสูงและใช้งานง่าย เช่นเดียวกับ Windows 98 • สนับสนุนเครือข่ายแบบ TCP/IP, Apple Talk, Netware IPX • มีความสามารถเป็น WebServer, Web Proxy, Internet server, ftp server ได้ทันที

  10. Linux Scalability Supercomputer Server Desktop Embeded

  11. โปรแกรมประยุกต์ โปรแกรมประยุกต์ โปรแกรมประยุกต์ เครื่องมือระบบ Shell, Complier, utilities เคอร์แนลระบบลีนุกซ์ โครงสร้างของลีนุกซ์

  12. Linux Distribution • ลีนุกซ์ที่แท้จริง คือ Kernel • แต่การใช้งานจริงต้องการซอฟแวร์มากมาย • มีผู้รวบรวมระบบลีนุกซ์และโปรแกรมประกอบมาทำให้ติดตั้งได้เรียกว่า Distribution • Distribution ที่ใช้งานมาก • RedHat , Slackware, Debian , SuSe

  13. สาเหตุที่ระบบลีนุกซ์ก้าวหน้าไปอย่างรวดเร็วสาเหตุที่ระบบลีนุกซ์ก้าวหน้าไปอย่างรวดเร็ว • มีการเปิดเผย Code ทั้งหมดทำให้มีคนจำนวนมากเข้ามาพัฒนา • มีระบบการจัดการเป็นโครงการโดยมีหัวหน้าเป็นคนทดสอบและรวบรวมซอร์สหลักทำให้การพัฒนาไม่แตกกระจาย • มีผู้ช่วยทดสอบและแจ้ง Bug และ Fix นับล้านคนจึงได้โปรแกรมที่มีคุณภาพสูงมาก • ได้คนเก่งๆจากทั่วโลกมาทำเพราะความท้าทาย • ระบบลีนุกซ์ได้สร้างแนวคิดการพัฒนาโปรแกรมแบบใหม่ขึ้น!!!

  14. การใช้งานบนระบบลีนุกซ์การใช้งานบนระบบลีนุกซ์ • Internet/ Intranet Server • เป็นระบบ Desktop • ใช้ในการพัฒนาโปรแกรม • ใช้ในการเรียนการสอนทางคอมพิวเตอร์

  15. การใช้ลีนุกซ์เป็นระบบอินเตอร์เน็ตเซอร์ฟเวอร์การใช้ลีนุกซ์เป็นระบบอินเตอร์เน็ตเซอร์ฟเวอร์ • สนับสนุนการเชื่อมต่อแบบ Dialup, LAN ทุกแบบ เช่น Ethernet, Fast Ethernet, ATM, Myrinet, Gigabit Ethernet, ISDN • ใน package มาตรฐานจะให้ • WEB Server Apache ที่นิยมใช้สูงสุดและมีประสิทธิภาพสูง • ftp server, news server, mail server, domain name server, telnet server • เป็น Multiuser เปิดให้ผู้ใช้หลายคนใช้งานได้ทันที • ใช้งานเป็น Firewall ได้ มีซอฟแวร์มากมาย

  16. การใช้ลีนุกซ์เป็นระบบอินทราเน็ตเซอร์ฟเวอร์การใช้ลีนุกซ์เป็นระบบอินทราเน็ตเซอร์ฟเวอร์ • ตั้งระบบลีนุกซ์เพื่อเป็นตัวกลางแลกข้อมูลในองค์กร • ส่งจดหมายเวียนผ่านระบบ email • ส่งประกาศ ข่าวสาร ต่างๆทาง Web page และ Web board • เก็บบทเรียนเป็นรูปอิเลคทรอนิคส์เพื่อให้นักเรียนค้นคว้าได้เอง • เก็บแบบฟอร์มมาตรฐานในรูปไฟล์ที่แก้ไขได้เพื่อให้มีการดาวน์โหลดมาใช้งานโดยไม่ต้องพิมพ์ใหม่ • ประหยัดกระดาษในแนว Paperless office

  17. ลีนุกซ์สำหรับระบบอินเตอร์เน็ตเซอร์ฟเวอร์ลีนุกซ์สำหรับระบบอินเตอร์เน็ตเซอร์ฟเวอร์ Internet Firewall, Gateway Web, Mail Server

  18. OSM WEB Server

  19. OSM FTP Server

  20. OSM FTP Server

  21. OSM FTP Server

  22. OSM SSH

  23. OSM SSH

  24. OSM SSH

  25. OSM SSH

  26. OSM FTP

  27. OSM FTP

  28. จบแล้วครับ มีคำถามก็ขอเชิญได้เลยครับ

More Related