1 / 77

สารละลาย ( Solution)

สารละลาย ( Solution). สาขาวิทยาศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์และวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดสกลนคร. เนื้อหา. • ชนิดของสารละลาย • ความเข้มข้นของสารละลาย • การละลายได้ • ขั้นตอนการเกิดสารละลาย • สภาพการละลายได้ • สารละลายอุดมคติ • กฏของราอูลท์

eshe
Télécharger la présentation

สารละลาย ( Solution)

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. สารละลาย (Solution) สาขาวิทยาศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์และวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดสกลนคร

  2. เนื้อหา • ชนิดของสารละลาย • ความเข้มข้นของสารละลาย • การละลายได้ •ขั้นตอนการเกิดสารละลาย • สภาพการละลายได้ • สารละลายอุดมคติ •กฏของราอูลท์ • สมบัติคอลลิเกตีฟของสารละลาย

  3. Dissolve K2Cr2O7(aq) K2Cr2O7(s) สารละลาย (Solution) คือ สารเนื้อเดียวที่มีสารตั้งแต่ 2 ชนิดเป็นองค์ประกอบ - ตัวละลายหรือตัวถูกละลาย (Solute) คือสารที่มีปริมาณน้อยกว่า - ตัวทำละลาย (Solvent) คือสารที่มีปริมาณมากกว่า • - สารละลายที่มีน้ำเป็นตัวทำละลาย เรียกว่า • aqueous solution (aq)

  4. การเรียกชนิดสารละลาย ชนิดของสารละลายเรียกตามจำนวนองค์ประกอบ ตัวอย่างเช่น 1. สารละลายทวิภาค (Binary Solution) คือ สารละลายที่มี 2 องค์ประกอบ เช่น น้ำเชื่อม 2. สารละลายไตรภาค (Ternary Solution) คือ สารละลายที่มี 3 องค์ประกอบ เช่น น้ำหวานโซดา (น้ำ + น้ำตาล + โซดา)

  5. ชนิดของสารละลาย

  6. ความเข้มข้นของสารละลายความเข้มข้นของสารละลาย ความเข้มข้น (Concentration) ของสารละลาย คือ ปริมาณของตัวละลายต่อปริมาณตัวทำละลายหรือสารละลาย มี 6 หน่วย ดังนี้ 1. ร้อยละของตัวละลาย - ร้อยละโดยน้ำหนัก (Percent by weight, %w/w) - ร้อยละโดยปริมาตร (Percent by volume, %v/v) • ร้อยละโดยน้ำหนักต่อปริมาตร • (Percent weight by volume, %w/v)

  7. ความเข้มข้นของสารละลายความเข้มข้นของสารละลาย 2. โมลาริตี (Molarity, M, mol/dm3, mol/L) 3. โมแลลลิตี (molality, m, molal, mol/kg) 4. ฟอร์มาลิตี (Formality,F) 5. นอร์มาลิตี (Normality, N) 6. เศษส่วนโมล (mole fraction )

  8. Meniscus(ท้องน้ำ) ขีดปรับระดับ อุปกรณ์เตรียมสารละลาย * ขวดวัดปริมาตร (Volumetric Flask) ใช้เพื่อปรับปริมาตรของสารละลายรวมให้ได้ปริมาตรที่ต้องการ - ใส่ตัวถูกละลายตามปริมาณที่ต้องการในขวดเชิงปริมาตร (ถ้าเป็นของแข็ง ให้ละลายตัวถูกละลายก่อนใส่ในขวด) - เติมตัวทำละลายจนได้ปริมาตรของสารละลายเท่าที่ต้องการ

  9. มวลตัวถูกละลาย (g) มวลสารละลาย (g) x 100% % W/W = ปริมาตรตัวถูกละลาย (mL) ปริมาตรสารละลาย (mL) มวลตัวถูกละลาย (g) ปริมาตรสารละลาย (mL) x 100% x 100% %V/V = %W/V = 1. ร้อยละของตัวละลาย • ร้อยละโดยมวล (% by weight) • ร้อยละโดยปริมาตร (% by volume) • ร้อยละโดยมวลต่อปริมาตร (% weight by volume)

  10. 1. ร้อยละของตัวละลาย NaOH เข้มข้น 5% โดยมวล • - ในสารละลาย 100 กรัม มี NaOH ละลายอยู่ 5 กรัม • - การเตรียม ชั่ง NaOH 5 กรัม ละลายน้ำ 95 กรัม (ได้สลล.100 g) สารละลายเอทานอลเข้มข้น 30% โดยปริมาตร • - ในสารละลาย 100 cm3 มีเอทานอลละลายอยู่ 30 cm3 • - การเตรียมตวงเอทานอล 30 cm3เติมน้ำจนได้ สลล. 100 cm3 สารละลาย NaCl เข้มข้น 15% โดยมวลต่อปริมาตร • - ในสารละลาย 100 cm3 มีตัวถูกละลาย NaCl อยู่ 15 g • - การเตรียมชั่ง NaCl 15 g เติมน้ำจนได้สารละลาย 100 cm3

  11. Examples • จะเตรียมสารละลาย NaOH 2.5 % w/w ปริมาณ 750 gได้อย่างไร

  12. Examples (ต่อ) • จงคำนวณเปอร์เซ็นต์ของ K2CO3ในสารละลาย โดย • การละลาย K2CO3 15 g ในน้ำ 60 g

  13. Examples 3. จะต้องใช้ CaCl2 กี่กรัม ละลายน้ำ 80 กรัมเพื่อให้ได้สารละลายเข้มข้น 5 % โดยมวล

  14. จำนวนโมลของตัวถูกละลาย จำนวนโมลของตัวถูกละลาย M = ปริมาตรของสารละลาย (dm3) 2. โมลาริตี (Molarity, M, mol/dm3, mol/L) โมลาริตี หมายถึง จำนวนโมลของตัวถูกละลายที่ละลายอยู่ในสารละลาย 1 ลูกบาศก์เดซิเมตร (dm3) ใช้หน่วยเป็น mol/dm3หรือ mol/L, M 1 dm3 = 1 L = 1000 mL = 1000 cm3 Molar 1 M (โมลาร์) = 1 mol/dm3 = 1 mol/L สารละลาย Ca(OH)2 เข้มข้น 0.05 mol/dm3 หมายถึง ในสารละลาย 1 L มี Ca(OH)2 0.05 mol

  15. จำนวนโมลของตัวละลาย mol/kg = น้ำหนักของตัวทำละลาย (kg) W1 x 1000 W2 x MW mol/kg = 3. โมแลลลิตี (molality, m, molal, mol/kg) โมแลลลิตี หมายถึง จำนวนโมลของตัวถูกละลายที่ละลายอยู่ในตัวทำละลาย 1 กิโลกรัม (kg) ใช้หน่วยเป็น mol/kg, m W1 = มวลของตัวถูกละลาย (g) MW = มวลโมเลกุลของ ตัวถูกละลาย W2 = มวลของตัวทำละลาย (g)

  16. โมลาริตี จำนวนโมลของตัวละลาย M = ปริมาตรของสารละลาย (dm3) โมแลลลิตี จำนวนโมลของตัวละลาย m = น้ำหนักของตัวทำละลาย (kg)

  17. Examples 4. จงหาความเข้มข้นของสารละลายในหน่วยโมลาริตี และโมแลลลิตี ที่เกิดจากการละลาย NaOH 2.0 g ในน้ำ 100 g

  18. Examples (ต่อ) 5. จงหาความเข้มข้นของสารละลาย H2SO42.0 ลิตรที่มีกรด H2SO4ละลายอยู่ 49 กรัม (MW ของ H2SO4 = 98)

  19. Examples (ต่อ) 6. น้ำตาลซึ่งมีสูตร C12H22O11หนัก 10 g ละลายน้ำ 125 จะมีความเข้มข้นกี่โมแลล (C=12,H=1,O=16)

  20. Examples (ต่อ) 7. KF 18.46 g ละลายน้ำ 200 g มีความเข้มข้นกี่ m (K = 39, F = 19)

  21. โมลของตัวละลาย โมลของตัวละลาย ปริมาตรสารละลาย (dm3) ปริมาตรสารละลาย (dm3) 4. ฟอร์มาลิตี (Formality, F) ฟอร์มาลิตี หมายถึง จำนวนกรัมสูตรของตัวละลายที่ละลายอยู่ในสารละลาย 1 dm3ใช้หน่วยเป็น formal, F ฟอร์มาลิตี โมลาริตี สารประกอบไอออนิก สารประกอบที่มีสูตรโมเลกุล

  22. จำนวนสมมูลของตัวถูกละลาย (eq) N = ปริมาตรสารละลาย (dm3) นน.ของตัวละลาย จำนวนสมมูล (Equivalent, eq) = นน.สมมูลของตัวละลาย มวลโมเลกุล มวลโมเลกุล = นน.สมมูล (eq.wt) = H+หรือ OH- ประจุ 5. นอร์มาลิตี (Normality, N) นอร์มาลิตี หมายถึง จำนวนสมมูลของตัวถูกละลายที่ละลายอยู่ในสารละลาย 1 dm3ใช้หน่วยเป็น นอร์มาล (normal, N)

  23. Examples 8. จงคำนวณหานอร์มาลิตีของสารละลายต่อไปนี้ ก) HNO3 7.88 g ในสารละลาย 1 dm3 ข) Na2CO3 26.5 g ในสารละลาย 500 cm3

  24. ก) ข)

  25. n1 n2 X1 = และ X2 = n1 + n2 n1 + n2 6. เศษส่วนโมล (mole fraction) เศษส่วนโมล หมายถึง จำนวนโมลของสารองค์ประกอบนั้น หารด้วยจำนวนโมลขององค์ประกอบทั้งหมดใน สารละลาย ให้ X คือ เศษส่วนโมล ;n คือ จำนวนโมล ถ้าในสารละลายมี 2 องค์ประกอบ จะได้

  26. ผลบวกของเศษส่วนโมลของสารองค์ประกอบทั้งหมดเท่ากับ 1 เสมอ X1 + X2 = 1 6. เศษส่วนโมล (mole fraction) (ต่อ) ถ้าต้องการทราบโมลเปอร์เซ็นต์ หาได้จาก โมลเปอร์เซ็นต์ = เศษส่วนโมล x 100

  27. Examples 9. สารละลายประกอบด้วยน้ำ 36.0 g และกลีเซอรีน [C3H5(OH)3] 46.0 g จงคำนวณหาเศษส่วนโมลของน้ำและกลีเซอรีน (C = 12, H = 1)

  28. Examples (ต่อ) 10. จงหาสัดส่วนโมลของน้ำตาล C12H22O11 ในสารละลายที่ได้จากการละลายน้ำตาล 17.1 g ในน้ำ 89.0 g (C12H22O11 = 342, H2O = 18)

  29. แบบฝึกหัด 1. เตรียมสารละลายโดย เติม NaCl 5.0 g ในขวดวัดปริมาตร เติมน้ำจนได้ปริมาตร 100 mL น้ำหนักรวมของสารละลาย เท่ากับ 104.8 g จงคำนวณหาความเข้มข้น - Molar - Molal - %W/V - %W/W - Mol fraction

  30. แบบฝึกหัด 2. เมื่อเติมเบนซีนจำนวน 25 cm3ลงในเฮกเซน วัดปริมาตรของสารละลายเบนซีนในเฮกเซนได้ 620 cm3อยากทราบว่าสารละลายนี้มีความเข้มข้นคิดเป็นร้อยละโดยปริมาตรเท่าใด 3. จงเตรียมสารละลาย NaCl เข้มข้น 25% โดยน้ำหนักต่อปริมาตร จำนวน 250 cm3 4. เมื่อละลาย KNO3หนัก 75 กรัม ในน้ำจำนวนหนึ่ง หลังจากปรับปริมาตรของสารละลายให้เป็น 1250 cm3แล้ว สารละลายนี้จะมีความเข้มข้นในหน่วยร้อยละโดยน้ำหนักต่อปริมาตรเท่าใด

  31. แบบฝึกหัด 5. ถ้าต้องการเตรียมสารละลาย BaCl2เข้มข้น 12.0% โดยน้ำหนัก จำนวน 50 กรัม จากเกลือ BaCl2.2H2O และน้ำบริสุทธิ์ จะเตรียมได้อย่างไร (Ba = 137.3, Cl = 35.5, H = 1, O = 16) 6. สารละลาย H2SO4เข้มข้น 27% โดยน้ำหนัก และมีความหนาแน่น 1.198 g cm-3จะมีความเข้มข้นกี่โมลาร์ (H = 1, S = 32, O = 16) 7. น้ำตาลซึ่งมีสูตร C12H22O11หนัก 10 กรัม ละลายน้ำ 125 กรัม จะมีความเข้มข้นกี่โมแลล (C = 12, H = 1, O = 16)

  32. แบบฝึกหัด 8. ผสมแก๊ส M หนัก 0.153 กรัม กับแก๊ส N หนัก 0.084 กรัม ในหลอดทดลองปริมาตร 100 cm3 ถ้ามวลโมเลกุลของแก๊ส M และ N เป็น 32 และ 28 ตามลำดับจงหาเศษส่วนโมล และโมลเปอร์เซ็นต์ของแก๊สแต่ละชนิด 9. เตรียมสารละลาย KMnO4เข้มข้น 0.1 N จำนวน 500 cm3เพื่อใช้เป็นตัวออกซิไดส์ในสารละลายกรด จะต้องชั่ง KMnO4หนักเท่าใด (MW ของ KMnO4 = 158) 10. จงหานอร์มาลิตีของสารละลายซึ่งมี K2Cr2O7 41.7 กรัม ในสารละลาย 600 cm3เมื่อ K2Cr2O7ทำปฏิกิริยาจะให้ Cr3+

  33. เติมตัวทำละลาย แบ่งมา 250 ml 50 ml 250 ml 2 M  50 ml= M2  250 ml 2 M  50 ml 250 ml M2 = = 0.4 M การเจือจางสารละลาย (Dilution) การเจือจางสารละลายคือการทำให้ความเข้มข้นของสาร ละลายลดลงโดยการเพิ่มตัวทำละลาย การเจือจางทำให้ความเข้มข้นลดลงแต่จำนวนโมลเท่าเดิม ?M 2.0 M 2.0 M M1V1 = M2V2

  34. Solvent Solution Solute การละลายได้ (Solubility) สารละลายเกิดขึ้นได้อย่างไร ? การที่อนุภาคของตัวถูกละลายเข้าไปแทนที่อนุภาคของ ตัวทำละลาย เกิดขึ้นได้เมื่อ - ทำลายแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลของตัวทำละลาย - ทำลายแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลของตัวถูกละลาย - สร้างแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลของตัวทำละลายและตัวถูกละลาย solvation

  35. ความร้อนของการละลาย (HSoln) - กระบวนการละลายของตัวถูกละลายในตัวทำละลาย ประกอบด้วย  การทำลายแรงยึดเหนี่ยวSolvent-SolventและSolute-Solute  Hdissมีค่าบวก ดูดพลังงาน  การเกิดแรงยึดเหนี่ยวSolvent-Solute  Hbindมีค่าลบ คายพลังงาน ความร้อนของการละลาย Hsoln = Hdiss + Hbind - Hsoln เป็นบวก  ดูดความร้อน - Hsoln เป็นลบ  คายความร้อน

  36. Hdiss1 Solute Solvent Hbind Hdiss2 Solution ขั้นตอนการเกิดสารละลาย Hdiss1 Endothermic (+) Hdiss2 Endothermic (+) Hbind Exothermic (-) NaCl(s) + H2O(l)  NaCl(aq) Hsoln= Hdiss(NaCl) + Hdiss(H2O) + Hbind(NaCl)

  37. สภาพการละลายได้ (Solubility) สภาพการละลายได้คือ จำนวนกรัมของตัวถูกละลายที่ มากที่สุดที่ละลายได้ในตัวทำละลาย 100 กรัม ในสภาวะสมดุล - สภาพการละลายได้ขึ้นกับ ชนิดของตัวทำละลาย ชนิดของตัวถูกละลาย อุณหภูมิ และ ความดัน

  38. สภาพการละลายได้ (Solubility) - สำหรับสารละลายน้ำ (aqueous)

  39. NaCl(s) Na+(aq) + Cl-(aq) สารละลายอิ่มตัว (Saturated Solution) สารละลายอิ่มตัวคือ สารละลายที่มีปริมาณตัวถูกละลาย ละลายอยู่มากที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้ที่อุณหภูมินั้นๆ - สมดุลระหว่างตัวถูกละลายในสภาวะของแข็ง และ aqueous - ถ้าตัวถูกละลายตกตะกอนแสดงว่าสารละลายอิ่มตัวแล้ว  ความเข้มข้นของตัวถูกละลาย < สภาพละลายได้  ตัวถูกละลายสามารถละลายเพิ่มได้อีก  ความเข้มข้นของตัวถูกละลาย = สภาพละลายได้  สารละลายอิ่มตัว ไม่มีตะกอน  ความเข้มข้นของตัวถูกละลาย > สภาพละลายได้  สารละลายอิ่มตัวมีตะกอน

  40. การเกิดผลึก (crystallization) ของสารละลาย supersaturated sodium acetate เมื่อใส่ผลึก sodium acetate (seeding)ในสารละลาย สารละลายอิ่มตัวยวดยิ่ง (Supersaturated Solution) สารละลายอิ่มตัวยวดยิ่งคือ สารละลายที่มีความเข้มข้น ของตัวถูกละลายสูงกว่าสภาพการละลายได้ - อยู่ในสภาวะกึ่งเสถียร - เมื่อสารละลายอิ่มตัวยวดยิ่งถูกรบกวน ตัวถูกละลาย จะตกตะกอนและเปลี่ยนเป็นสารละลายอิ่มตัว

  41. * *H2O 100 mL = 100 g สภาพละลายได้และอุณหภูมิ - การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิมีผลโดยตรงต่อสภาพละลายได้และการตกตะกอนของสารละลาย

  42. ปัจจัยที่มีผลต่อสภาพการละลายปัจจัยที่มีผลต่อสภาพการละลาย 1. ชนิดของตัวถูกละลายและตัวทำละลาย แรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาคขึ้นอยู่กับชนิดของสาร - สารมีขั้ว ดึงดูดกันด้วย แรงแบบมีขั้ว (มีค่าสูง) - สารไม่มีขั้ว ดึงดูดกันด้วย แรงแบบไม่มีขั้ว (มีค่าต่ำ) ถ้าแรงดึงดูดระหว่างตัวทำละลายและแรงดึงดูดระหว่าง ตัวถูกละลายเป็นชนิดเดียวกัน หรือ มีค่าใกล้เคียงกัน สารทั้งสอง จะละลายกันได้ แรงระหว่างสารมีขั้วด้วยกัน คือ dipole – dipole interaction, Hydrogen bond และ Electrostatic interaction

  43. ปัจจัยที่มีผลต่อสภาพการละลายปัจจัยที่มีผลต่อสภาพการละลาย แรงระหว่างสารไม่มีขั้วด้วยกันคือ Van der Waals interaction “Like dissolve like”

  44. การละลายของสารประกอบไอออนิกการละลายของสารประกอบไอออนิก สารประกอบไอออนิกส่วนใหญ่ละลายน้ำได้ (น้ำมีขั้ว) เนื่องจากแรงดึงดูดระหว่างน้ำและไอออน - ขั้วลบของน้ำ : ไอออนบวก - ขั้วบวกของน้ำ : ไอออนลบ  เกลือไอออนิกบางชนิดละลายน้ำได้น้อยหรือไม่ละลาย เนื่องจากแรงดึงดูดระหว่างไอออนบวกและไอออนลบ มีค่าสูงมาก เช่น AgCl, Hg2Cl2, PbCl2, BaSO4, PbSO4, SrSO4 (AgCl 0.0018 g / น้ำ 1 ลิตร ที่ 25 oC)

  45. การละลายของสารประกอบไอออนิกการละลายของสารประกอบไอออนิก

  46. การละลายของสารประกอบไอออนิกการละลายของสารประกอบไอออนิก มีพลังงานเกี่ยวข้อง 2 ขั้นตอน ดังนี้ 1. พลังงานแลตทิช (Lattice energy, ΔHlatt) คือ พลังงานที่ใช้ทำลายแรงดึงดูดระหว่างไอออนบวกและไอออนลบในโครงผลึกของแข็งให้แยกออกจากกันเป็นไอออนอิสระ เช่น KCl(s)  K+(g) + Cl-(g) ΔHlatt = +690 kJ/mol 2. พลังงานไฮเดรชัน (Hydration energy, ΔHhyd) คือ พลังงานที่คายออกมาเมื่อโมเลกุลของน้ำเข้าไปห้อมล้อมไอออนบวกและไอออนลบ เช่น H2O K+(g) + Cl-(g)  K+(H2O)x + Cl-(H2O)yΔHhyd = -686 kJ/mol

  47. การละลายของสารประกอบไอออนิกการละลายของสารประกอบไอออนิก เมื่อนำพลังงานทั้ง 2 ขั้นตอนรวมกัน จะได้ ΔHsoln KCl(s)  K+(g) + Cl-(g) ΔHlatt = +690 kJ/mol H2O K+(g) + Cl-(g)  K+(H2O)x + Cl-(H2O)y ΔHlatt = -686 kJ/mol KCl(s)  K+(H2O)x + Cl-(H2O)y 1) + 2) = ΔHsoln = ΔHlatt+ΔHhyd = 690 – 686 = +4 kJ/mol ดูดความร้อน

  48. การละลายของสารประกอบไอออนิกการละลายของสารประกอบไอออนิก ΔHsoln = ΔHlatt+ΔHhyd ΔHlatt>ΔHhyd;ΔHsolnเป็น + ดูดความร้อน ΔHlatt<ΔHhyd;ΔHsolnเป็น - คายความร้อน

  49. Solubility (g solute / 100 g H2O) ปัจจัยที่มีผลต่อสภาพการละลาย 2. อุณหภูมิ เมื่ออุณหภูมิเปลี่ยน สารจะละลายมากขึ้นหรือน้อยลง ขึ้นกับว่าเป็นกระบวนการดูดหรือคายความร้อน - ปฏิกิริยาดูดความร้อน (H=+)เพิ่ม T สารละลายมากขึ้น - ปฏิกิริยาคายความร้อน (H=-)เพิ่ม T สารละลายน้อยลง

  50. สารละลายสมบูรณ์แบบ (Ideal Solution) ถ้าพลังงานที่ใช้ในการแยกตัวถูกละลายและแยกตัว ทำละลาย (Hdiss) มีขนาดเท่ากับพลังงานที่คายออกมา เมื่อตัวถูกละลายและตัวทำละลายดึงดูดกัน (Hbind) Hsoln= Hdiss + Hbind = 0 สารละลายที่ได้เรียกว่า สารละลายสมบูรณ์แบบ หรือสารละลายอุดมคติ (Ideal Solution)  Hsoln = 0  ideal solution  Hsoln  0  non-ideal solution

More Related