1 / 58

Oral Health Service Plan

Oral Health Service Plan. เครือข่ายบริการสุขภาพที่ 6. เครือข่ายบริการสุขภาพที่ 6. ผศ.พิเศษ ดร.นพ.ธวัชชัย กมลธรรม ผู้ตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข เครือข่ายบริการสุขภาพที่ 6. นพ. ธำรงค์ สมบุญ ตนนท์ สาธารณสุข นิเทศก์ เครือข่ายบริการสุขภาพที่ 6. นายประสิทธิ์ คงนิสัย ผู้ช่วยผู้ตรวจราชการฯ

favian
Télécharger la présentation

Oral Health Service Plan

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. Oral Health Service Plan เครือข่ายบริการสุขภาพที่ 6

  2. เครือข่ายบริการสุขภาพที่ 6

  3. ผศ.พิเศษ ดร.นพ.ธวัชชัย กมลธรรม ผู้ตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข เครือข่ายบริการสุขภาพที่ 6

  4. นพ.ธำรงค์ สมบุญตนนท์ สาธารณสุขนิเทศก์ เครือข่ายบริการสุขภาพที่ 6 นายประสิทธิ์ คงนิสัย ผู้ช่วยผู้ตรวจราชการฯ เครือข่ายบริการสุขภาพที่ 6

  5. ประธาน Service Plan สาขาทันตกรรม ทพ.อนุโรจน์ เล็กเจริญสุข ทันตแพทย์เชี่ยวชาญ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดปราจีนบุรี

  6. Main Activity ที่สำคัญ/จุดAttack ๑. ลดความแออัดของบริการทันตกรรมใน รพ.เขตเมือง ๒. เพิ่มการเข้าถึงบริการส่งเสริมป้องกันและรักษาพื้นฐาน (บริการปฐมภูมิ) ของประชาชนในชนบท ๓. การส่งต่อผู้ป่วยทันตกรรมที่มีความซับซ้อน

  7. สรุปเป้าหมายดำเนินงานปี ๒๕๖๐ • ลดอัตราป่วย • เด็กอายุ ๓ ปีมีฟันน้ำนมผุ ไม่เกินร้อยละ ๕๐ • ลดระยะเวลารอคอย (คิว) • ผู้สูงอายุรอคิวทำฟันเทียม ไม่เกิน ๖ เดือน • เพิ่มการเข้าถึงบริการสุขภาพช่องปาก • ประชาชนทุกกลุ่มเข้าถึงบริการฯ ร้อยละ ๒๐

  8. ข้อมูลทั่วไป

  9. ข้อมูลประชากรแยกตามสิทธิข้อมูลประชากรแยกตามสิทธิ

  10. จำนวนสถานบริการสาธารณสุขภาครัฐจำนวนสถานบริการสาธารณสุขภาครัฐ

  11. จำนวนทันตบุคลากรและยูนิตทันตกรรม เปรียบเทียบจำนวนตามเกณฑ์

  12. จำนวน รพ.สต.และศสม. ที่มีทันตาภิบาล ยูนิตทันตกรรม

  13. แสดงจำนวนทันตแพทย์เฉพาะสาขาทางทันตกรรม ของสถานบริการสุขภาพ

  14. สถานการณ์ทันตสุขภาพ

  15. ฟันผุในเด็กปฐมวัย เป้าหมาย <50% ในปี 2560

  16. ฟันผุในเด็กวัยเรียน เป้าหมาย <55%

  17. Oral cancer

  18. รายโรคที่สำคัญ ๑.ฟันผุในเด็กปฐมวัย ๒.การสูญเสียฟันผู้สูงอายุ ๓. มะเร็งช่องปาก ๔.ปากแหว่งเพดานโหว่ ๕. Trauma ในขากรรไกรและใบหน้า

  19. OHSP SRM

  20. SRM วิสัยทัศน์ : ประชาชนมีทันตสุขภาพดี ภาคีมีส่วนร่วม ด้วยเครือข่ายบริการสุขภาพที่เข้มแข็ง • เป้าประสงค์..ชุมชนมีแหล่งเรียนรู้ด้านการส่งเสริมทันตสุขภาพและป้องกันโรค • พัฒนาระบบเฝ้าระวังและคัดกรอง • พัฒนานวัตกรรม/เทคโนโลยีชุมชน • สร้างแกนนำทันตสุขภาพในชุมชน • เป้าประสงค์.เด็กปฐมวัยและวัยเรียนมีอัตราการเกิดฟันผุลดลง. • เร่งรัดการแก้ไขปัญหาการบริโภคอาหารเสี่ยงต่อการเกิดฟันผุ • ส่งเสริมให้เกิดนโยบายสาธารณะ/สิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อทันตสุขภาพ • สร้างกระแสการลดปัจจัยเสี่ยงต่อทันตสุขภาพในทุกระดับ ประชาชน เป้าประสงค์..แกนนำชุมชนมีส่วนร่วมแก้ไขปัญหาทันตฯ • พัฒนา อสม.ให้เป็นแกนนำด้านทันตฯ • พัฒนาชมรม ผสอ.ให้มีทักษะในการดูแลทันตฯเด็ก • สนับสนุนให้เอกชน/ภาคอื่นๆร่วมจัดบริการ เป้าประสงค์..ศูนย์วิชาการมีส่วนสนับสนุนการดำเนินงาน • สนับสนุนการพัฒนางานวิชาการ/วิจัย • ติดตามกำกับประเมินผล • พัฒนาศักยภาพ/องค์ความรู้ เป้าประสงค์..อปท.มีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาทันตสุขภาพ(ตำบลฟันดี สุขภาพดี ชีวีมีสุข • สนับสนุนให้เกิดแผนพัฒนาทันตฯระดับตำบล • สนับสนุนทรัพยากรในการจัดบริการปฐมภูมิร่วมกับ สธ • จัดระบบติดตามกำกับประเมินผล. เป้าประสงค์..โรงเรียนมีการจัดกิจกรรมส่งเสริมทันตฯ • พัฒนาการดำเนินงานในรูปแบบเครือข่าย รร. • บูรณาการ ทันตฯในการเรียนการสอน • กำหนดนโยบาย/สิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อทันตฯ • พัฒนาระบบเฝ้าระวังทันตฯและประเมินผล ภาคี • เป้าประสงค์.หน่วยบริการปฐมภูมิ/ทุติยภูมิ/ตติยภูมิมีศักยภาพในการจัดบริการทันตกรรมอย่างมีคุณภาพ • ขยายบริการปฐมภูมิ(ทันตกรรมป้องกันและอนุรักษ์ฟัน)ใน รพ.สต. และ ศสม.ให้ครอบคลุม • พัฒนามาตรฐาน/คุณภาพการจัดบริการปฐมภูมิ ทุติยภูมิ ตติยภูมิ • สนับอัตรากลัง และครุภัณฑ์และวัสดุอุปกรณ์ ตามมาตรฐานทุกระดับ • เป้าประสงค์.มีระบบติดตามกำกับและประเมินผล. • จัดทำมาตรฐานการดำเนินงานส่งเสริมป้องกันทันตฯในระดับปฐมภูมิ • พัฒนาทักษะบุคลากรในการกำกับติดตาม และประเมินผล • พัฒนาระบบติดตามกำกับประเมินผลในทุกระดับ กระบวนการ • เป้าประสงค์..มีฐานข้อมูลทันตสุขภาพ และปัจจัยกำหนดทันตสุขภาพ • จัดทำฐานข้อมูลทันตสุขภาพของเครือข่ายบริการ • ขยายระบบข้อมูลเฝ้าระวังทันตฯในระดับตำบล • พัฒนาช่องทางการเข้าถึงแหล่งข้อมูล • พัฒนาระบบการจัดการความรู้ในด้านทันตสุขภาพ • เป้าประสงค์.ทันตบุคลากรมีทักษะในการจัดการงานทันตสาธารณสุข • เร่งรัดในการพัฒนาให้มีทักษะในการบริหารจัดการเครือข่าย • พัฒนาทักษะในการดำเนินงานเชิงรุกร่วมกับชุมชน • พัฒนาทักษะในการจัดการองค์ความรู้ นวัตกรรม เทคโนโลยีด้านทันตสาธารณสุข รากฐาน

  21. รากฐาน

  22. เป้าประสงค์มีฐานข้อมูลทันตสุขภาพ และปัจจัยกำหนดทันตสุขภาพ • จัดทำฐานข้อมูลทันตสุขภาพของเครือข่ายบริการ • ขยายระบบข้อมูลเฝ้าระวังทันตฯในระดับตำบล • พัฒนาช่องทางการเข้าถึงแหล่งข้อมูล • พัฒนาระบบการจัดการความรู้ในด้านทันตสุขภาพ

  23. เป้าประสงค์ทันตบุคลากรมีทักษะในการจัดการงานทันตสาธารณสุขเป้าประสงค์ทันตบุคลากรมีทักษะในการจัดการงานทันตสาธารณสุข • เร่งรัดในการพัฒนาให้มีทักษะในการบริหารจัดการเครือข่าย • พัฒนาทักษะในการดำเนินงานเชิงรุกร่วมกับชุมชน • พัฒนาทักษะในการจัดการองค์ความรู้ นวัตกรรม เทคโนโลยีด้านทันตสาธารณสุข

  24. กระบวนการ

  25. เป้าประสงค์หน่วยบริการปฐมภูมิ/ทุติยภูมิ/ตติยภูมิมีศักยภาพในการจัดบริการทันตกรรมอย่างมีคุณภาพเป้าประสงค์หน่วยบริการปฐมภูมิ/ทุติยภูมิ/ตติยภูมิมีศักยภาพในการจัดบริการทันตกรรมอย่างมีคุณภาพ • ขยายบริการปฐมภูมิ(ทันตกรรมป้องกันและอนุรักษ์ฟัน)ใน รพ.สต. และ ศสม.ให้ครอบคลุม • พัฒนามาตรฐาน/คุณภาพการจัดบริการปฐมภูมิ ทุติยภูมิ ตติยภูมิ • สนับอัตรากลัง และครุภัณฑ์และวัสดุอุปกรณ์ ตามมาตรฐานทุกระดับ

  26. เป้าประสงค์มีระบบติดตามกำกับและประเมินผล.เป้าประสงค์มีระบบติดตามกำกับและประเมินผล. • จัดทำมาตรฐานการดำเนินงานส่งเสริมป้องกันทันตฯในระดับปฐมภูมิ • พัฒนาทักษะบุคลากรในการกำกับติดตาม และประเมินผล • พัฒนาระบบติดตามกำกับประเมินผลในทุกระดับ

  27. ภาคี

  28. เป้าประสงค์อปท.มีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาทันตสุขภาพ(ตำบลฟันดี สุขภาพดี ชีวีมีสุข • สนับสนุนให้เกิดแผนพัฒนาทันตฯระดับตำบล • สนับสนุนทรัพยากรในการจัดบริการปฐมภูมิร่วมกับ สธ • จัดระบบติดตามกำกับประเมินผล.

  29. เป้าประสงค์โรงเรียนมีการจัดกิจกรรมส่งเสริมทันตฯเป้าประสงค์โรงเรียนมีการจัดกิจกรรมส่งเสริมทันตฯ • พัฒนาการดำเนินงานในรูปแบบเครือข่าย รร. • บูรณาการ ทันตฯในการเรียนการสอน • กำหนดนโยบาย/สิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อทันตฯ • พัฒนาระบบเฝ้าระวังทันตฯและประเมินผล

  30. เป้าประสงค์แกนนำชุมชนมีส่วนร่วมแก้ไขปัญหาทันตฯเป้าประสงค์แกนนำชุมชนมีส่วนร่วมแก้ไขปัญหาทันตฯ • พัฒนา อสม.ให้เป็นแกนนำด้านทันตฯ • พัฒนาชมรม ผสอ.ให้มีทักษะในการดูแลทันตฯเด็ก • สนับสนุนให้เอกชน/ภาคอื่นๆร่วมจัดบริการ

  31. เป้าประสงค์ศูนย์วิชาการมีส่วนสนับสนุนการดำเนินงานเป้าประสงค์ศูนย์วิชาการมีส่วนสนับสนุนการดำเนินงาน • สนับสนุนการพัฒนางานวิชาการ/วิจัย • ติดตามกำกับประเมินผล • พัฒนาศักยภาพ/องค์ความรู้

  32. ประชาชน

  33. เป้าประสงค์เด็กปฐมวัยและวัยเรียนมีอัตราการเกิดฟันผุลดลง.เป้าประสงค์เด็กปฐมวัยและวัยเรียนมีอัตราการเกิดฟันผุลดลง. • เร่งรัดการแก้ไขปัญหาการบริโภคอาหารเสี่ยงต่อการเกิดฟันผุ • ส่งเสริมให้เกิดนโยบายสาธารณะ/สิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อทันตสุขภาพ • สร้างกระแสการลดปัจจัยเสี่ยงต่อทันตสุขภาพในทุกระดับ

  34. เป้าประสงค์ชุมชนมีแหล่งเรียนรู้ด้านการส่งเสริมทันตสุขภาพและป้องกันโรคเป้าประสงค์ชุมชนมีแหล่งเรียนรู้ด้านการส่งเสริมทันตสุขภาพและป้องกันโรค • พัฒนาระบบเฝ้าระวังและคัดกรอง • พัฒนานวัตกรรม/เทคโนโลยีชุมชน • สร้างแกนนำทันตสุขภาพในชุมชน

  35. SLM จุดหมายปลายทาง : เด็กปฐมวัย และเด็กวัยเรียนมีทันตสุขภาพดี • เป้าประสงค์..ชุมชนมีแหล่งเรียนรู้ด้านการส่งเสริมทันตสุขภาพและป้องกันโรค • พัฒนานวัตกรรม/เทคโนโลยีชุมชน • เป้าประสงค์.เด็กปฐมวัยและวัยเรียนมีอัตราการเกิดฟันผุลดลง. • สร้างกระแสการลดปัจจัยเสี่ยงต่อทันตสุขภาพในทุกระดับ ประชาชน เป้าประสงค์..อปท.มีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาทันตสุขภาพ(ตำบลฟันดี สุขภาพดี ชีวีมีสุข) เป้าประสงค์..โรงเรียนมีการจัดกิจกรรมส่งเสริมทันตฯ เป้าประสงค์..แกนนำชุมชนมีส่วนร่วมแก้ไขปัญหาทันตฯ ภาคี เป้าประสงค์..ศูนย์วิชาการมีส่วนสนับสนุนการดำเนินงาน เป้าประสงค์.หน่วยบริการปฐมภูมิมีศักยภาพในการจัดบริการส่งเสริมทันตสุขภาพและป้องกันโรคในช่องปากอย่างมีคุณภาพ • ขยายบริการฯใน รพ.สต.และ ศสม.ให้ครอบคลุม กระบวนการ เป้าประสงค์.มีระบบติดตามกำกับและประเมินผล. • จัดทำมาตรฐานการดำเนินงานส่งเสริมป้องกันทันตฯในระดับปฐมภูมิ. เป้าประสงค์.ทันตบุคลากรมีทักษะในการจัดการงานทันตสาธารณสุข • พัฒนาทักษะในการดำเนินงานเชิงรุกร่วมกับชุมชน • พัฒนาทักษะในการจัดการองค์ความรู้ นวัตกรรมเทคโนโลยีด้านทันตสาธารณสุข เป้าประสงค์..มีฐานข้อมูลทันตสุขภาพ และปัจจัยกำหนดทันตสุขภาพ • จัดทำฐานข้อมูลทันตสุขภาพของเครือข่ายบริการ • ขยายระบบข้อมูลเฝ้าระวังทันตฯในระดับตำบล รากฐาน

  36. ACTIONPLAN

  37. ๑. ลดความแออัดของบริการทันตกรรมใน รพ.เขตเมือง ๑. พัฒนา ศสม.ให้มีบริการทันตกรรมโดยทันตแพทย์ทุกแห่ง - จัดให้มีบริการทันตกรรมในเขตเมือง๑๐๐% - จัดให้มีทันตแพทย์บริการประจำทุกแห่ง

  38. ๒. ลดระยะเวลาการรอคอยฟันเทียมในผู้สูงอายุ - ระยะเวลาการรอคอยฟันเทียมเฉลี่ยไม่เกิน ๖ เดือน - ผู้สูงอายุมีฟันบดเคี้ยวได้เพิ่มขึ้นร้อยละ ๒

  39. ๒. เพิ่มการเข้าถึงบริการส่งเสริมป้องกันและรักษาพื้นฐานของประชาชนในชนบท (บริการปฐมภูมิ) ๑.ขยายบริการทันตสุขภาพโดยทันตบุคลากรใน รพ.สต. - ขยายบริการทันตสุขภาพโดยทันตบุคลากรใน รพ.สต. - ผลิตทันตาภิบาลเพิ่มขึ้น - จัดสรรครุภัณฑ์พร้อมใช้ใน รพ.สต.

  40. ๒. พัฒนาขีดความสามารถ รพ.สต.ที่ไม่มีทันตาภิบาลให้สามารถจัดบริการ ส่งเสริมป้องกันทันตสุขภาพได้ - รพ.สต.มีการจัดบริการส่งเสริมทันตสุขภาพเป็นไปตามมาตรฐาน > ๘๐% - ปชช.เข้าถึงบริการส่งเสริมป้องกันและรักษาพื้นฐานมากกว่าร้อยละ ๒๐

  41. ๓.ส่งเสริมให้มีบริการส่งเสริมทันตกรรมป้องกัน และป้องกันโรคโรคทุกกลุ่มวัย • - หญิงมีครรภ์ได้รับการตรวจสุขภาพช่องปาก ร้อยละ ๘๐ • เด็ก ๐ – ๒ ปี ได้รับการตรวจสุขภาพช่องปาก และผู้ปกครองได้รับการฝึกทักษะการแปรงฟันไม่น้อยกว่าร้อยละ ๗๐ • เด็ก ๐ – ๒ ปี ได้รับฟลูออไรด์วานิชไม่น้อยกว่าร้อยละ ๕๐ • - เด็ก ๓ – ๕ ปี ได้รับการส่งเสริมทันตสุขภาพ ร้อยละ ๘๐ • - เด็ก ป.๑ ได้รับการตรวจฟันร้อยละ ๘๕ • - เด็ก ป.๑ ได้รับการเคลือบหลุมร่องฟัน ร้อยละ ๓๐ • - เด็ก ป. ๑ได้รับ Comprehensive care ร้อยละ ๒๐ • - ผู้สูงอายุได้รับการตรวจสุขภาพช่องปาก ๑๐,๐๐๐ ราย • ผู้มีอายุ ๔๐ ปีขึ้นไปได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งช่องปาก ร้อยละ ๘๐ของผู้เข้ารับบริการ • ในคลีนิคทันตกรรม

  42. ๔. ทันตกรรมป้องกันในเด็ก Cleft Lip/Cleft Palate - จัดเครือข่ายบริการผู้ป่วย Cleft Lip/Cleft Palateได้รับการดูแลแบบองค์รวม ทุกจังหวัด

  43. ๕. พัฒนา ตำบลฟันดี สุขภาพดี ชีวีมีสุข -ตำบลฟันดี สุขภาพดี ชีวีมีสุข ๒ แห่งต่ออำเภอต่อจังหวัด

  44. ๓. การส่งต่อผู้ป่วยทันตกรรมที่มีความซับซ้อน กำหนด Node ความเชี่ยวชาญในการส่งต่อในเขต - การติดเชื้อและการบาดเจ็บ ๑ แห่ง - การแก้ไข Cleft Lip/Cleft Palate ๓ แห่ง - Oral Cancer ๓ แห่ง - Implant ๓ แห่ง

  45. ๔.การพัฒนาคุณภาพมาตรฐานบริการทันตกรรม๔.การพัฒนาคุณภาพมาตรฐานบริการทันตกรรม • สนับสนุนให้เกิดการพัฒนาคุณภาพบริการทันตกรรมในสถานบริการ • สถานบริการผ่านมาตรฐานบริการตาม Dental Quality Clinic ร้อยละ ๘๐ • - อุบัติการณ์การ้องเรียนลดลงร้อยละ ๑๐ • - ผู้รับบริการมีความพึงพอใจร้อยละ ๘๕

  46. Referal System

  47. ระดับการให้บริการ ระดับ ๑รักษาได้ทั้งหมด ระดับ ๒ รักษาได้บางส่วนหรือกรณีที่ไม่ซับซ้อนมากและส่งต่อรวมถึงรับกลับรักษาต่อเนื่อง ระดับ ๓ ตรวจและให้คำแนะนำและส่งต่อ

  48. - Oro- facialinfection- Maxillofacialtrauma

More Related