570 likes | 1.56k Vues
สาระสำคัญของ. พ.ร.บ.การส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน (ฉบับที่ 2 ) พ.ศ. 2550. โดย กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน และ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. เนื้อหาการบรรยาย. ส่วนที่ 1 โครงสร้าง พ.ร.บ. การส่งเสริมการอนุรักษ์ พลังงาน พ.ศ. 2535.
E N D
สาระสำคัญของ พ.ร.บ.การส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2550 โดย กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน และ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
เนื้อหาการบรรยาย • ส่วนที่ 1โครงสร้าง พ.ร.บ. การส่งเสริมการอนุรักษ์ • พลังงานพ.ศ. 2535 • ส่วนที่ 2ปัญหาและอุปสรรคการดำเนินการของ พ.ร.บ. • การส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน พ.ศ. 2535 • ส่วนที่ 3การเปลี่ยนแก้ไข เพิ่มเติม และยกเลิกใน • พ.ร.บ. การส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน • พ.ศ. 2535
ส่วนที่ 3 • โครงสร้าง พ.ร.บ. การส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงานพ.ศ. 2535 พรบ.การส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน พ.ศ. 2535 พ.ร.ฎ. โรงงานควบคุม ส่วนที่ 2 พ.ร.ฎ. อาคารควบคุม กฎกระทรวง แต่งตั้ง ผชอ. แต่งตั้ง ผชร. เจ้าของโรงงานควบคุม/อาคารควบคุม ส่วนที่ 1 โครงสร้าง พรบ 2535 มาตรฐาน การอนุรักษ์พลังงาน (โรงงาน) เป้าหมาย /แผน อนุรักษ์พลังงาน มาตรฐาน การอนุรักษ์พลังงาน (อาคาร) จัดส่ง /เก็บข้อมูล
ส่วนที่ 3 เนื้อหา พ.ร.บ. การส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน 2535 ส่วนที่ 2 ส่วนที่ 1 โครงสร้าง พรบ 2535
ส่วนที่ 3 ปัญหาและอุปสรรคของ พ.ร.บ. ปี 2535 แบ่งออกเป็น 5 ด้าน คือ (1) ด้านกฎระเบียบและวิธีปฏิบัติ (2) ด้านบุคลากร (3) ด้านความรู้และเทคโนโลยี (4) ด้านการสนับสนุน (5) ด้านกองทุนอนุรักษ์พลังงาน ส่วนที่ 2 ปัญหาการดำเนินการ พรบ 2535 ส่วนที่ 1
ส่วนที่ 3 (1) ปัญหาด้านกฎระเบียบและวิธีปฏิบัติ 1.1 ไม่มีกฎหมายรับรองครบทุกภาคส่วน 1.2 มีขั้นตอนการดำเนินการมาก 1.3 ไม่มีการจัดประเภทอาคาร 1.4 ไม่มีความชัดเจนของระเบียบ ขั้นตอนบางส่วน 1.5 เปลี่ยนแปลงแก้ไขข้อกำหนดด้านเทคนิคได้ยาก ส่วนที่ 2 ปัญหาการดำเนินการ พรบ 2535 ส่วนที่ 1
ส่วนที่ 3 (2) ด้านบุคลากร 2.1 มีบุคลากรไม่เพียงพอกับการดำเนินการ 2.2 ขาดบุคลากรที่เชี่ยวชาญด้านอนุรักษ์พลังงาน 2.3 เกิดปัญหาด้านคุณสมบัติและภาระของ ผชร/ผชอ 2.4 เกิดปัญหาการมีส่วนร่วมของเจ้าของ ส่วนที่ 2 ปัญหาการดำเนินการ พรบ 2535 ส่วนที่ 1
ส่วนที่ 3 (3) ด้านความรู้และเทคโนโลยี 3.1 มีค่าใช้จ่ายในการปรับปรุงและดำเนินการด้าน อนุรักษ์พลังงานสูง 3.2 ขาดความเชื่อมั่นต่อเทคโนโลยีด้านพลังงาน 3.3 ไม่มีการสนับสนุนในการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยี อย่างเพียงพอ ส่วนที่ 2 ปัญหาการดำเนินการ พรบ 2535 ส่วนที่ 1
ส่วนที่ 3 (4) ด้านการสนับสนุน ส่วนที่ 2 ปัญหาการดำเนินการ พรบ 2535 ส่วนที่ 1
ส่วนที่ 3 (5) ด้านกองทุนอนุรักษ์พลังงาน • 5.1 การนำเงินส่งกองทุนและการขอคืนเงินส่วนเกิน • 5.2 การบริหารจัดการกองทุนและขั้นตอนการดำเนินงาน • ล่าช้า ส่วนที่ 2 ปัญหาการดำเนินการ พรบ 2535 ส่วนที่ 1
ส่วนที่ 3 การแก้ไข เพิ่มเติม ยกเลิก แ เนื้อหาหลักของ ส่วนที่ 2 พ.ร.บ.การส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน พ.ศ. 2535ที่ได้รับการแก้ไขในพ.ร.บ.การส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2550 ส่วนที่ 1
ส่วนที่ 3 การแก้ไข เพิ่มเติม ยกเลิก ประเด็นสำคัญที่มีการแก้ไข เพิ่มเติม และยกเลิก • รัฐมนตรีสามารถออกประกาศกระทรวง แก้ไขปัญหาข้อกำหนดด้านเทคนิคได้ ส่วนที่ 2 • การใช้ระบบการจัดการพลังงาน เป็นการสร้างการมีส่วนร่วม การสร้างความเชื่อมั่น การลดค่าใช้จ่าย และการลดขั้นตอนการดำเนินการด้านอนุรักษ์พลังงานและความยั่งยืนของระบบการจัดการพลังงาน • การก่อสร้างอาคารใหม่ต้องได้รับการออกแบบตามมาตรฐาน ส่วนที่ 1 • การกำหนดมาตรฐานขั้นต่ำของเครื่องจักร วัสดุและอุปกรณ์ การสนับสนุนการวิจัยด้านเทคโนโลยี และการขยายขอบข่ายการสนับสนุนทุกภาคส่วน
ส่วนที่ 3 การแก้ไข เพิ่มเติม ยกเลิก ประเด็นสำคัญที่มีการแก้ไข เพิ่มเติม และยกเลิก • การโอนกองทุนเพื่อส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงานมาอยู่ภายใต้กระทรวงพลังงาน ส่วนที่ 2 • การแก้ไขและปรับหลักเกณฑ์ ขั้นตอน วิธีการ และระยะเวลาในการเบิกจ่าย • การแก้ไขปัญหาด้านการส่งเงินเข้ากองทุน (การส่งเงินล่าช้า/การส่งเงินไม่ครบตามจำนวน) ส่วนที่ 1 • ระบบตรวจสอบและรับรองจะทำให้สามารถแก้ปัญหาด้านบุคลากร ทั้งภาครัฐและเอกชนได้
มาตราที่มีการแก้ไข เพิ่มเติม และยกเลิก ส่วนที่ 3 การแก้ไข เพิ่มเติม ยกเลิก ส่วนที่ 2 ส่วนที่ 1
มาตราที่มีการเปลี่ยนแปลงเพิ่มเติม และยกเลิก มาตรา ๑ มาตรา ๒ มาตรา ๖ มาตรา ๔(๓) มาตรา ๒ พ.ร.บ. 2535 พ.ร.บ. 2550 มีผลบังคับในวันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา มีผลบังคับใช้ 1มิถุนายน 2551
ประเด็นสำคัญที่มีการแก้ไข เพิ่มเติม และยกเลิก มาตรา ๑ มาตรา ๒ มาตรา ๖ มาตรา ๔ (๓) มาตรา ๖ พ.ร.บ. 2535 พ.ร.บ. 2550 ให้นายกรัฐมนตรี รัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและการพลังงาน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยรักษาการตาม พ.ร.บ. นี้ ทั้งนี้ในส่วนที่เกี่ยวกับอำนาจหน้าที่ของตน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและการพลังงาน มีอำนาจแต่งตั้งพนักงาน เจ้าหน้าที่กับออกกฎกระทรวงและกำหนดกิจการอื่น เพื่อปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้ กฎกระทรวงนั้น เมื่อได้ประกาศในราชกิจจานุเบกษาแล้วให้ใช้บังคับได้ ให้นายกรัฐมนตรี รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพลังงาน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยรักษาการตาม พ.ร.บ. นี้ ทั้งนี้ในส่วนที่เกี่ยวกับอำนาจหน้าที่ของตน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพลังงาน มีอำนาจแต่งตั้งพนักงานเจ้าหน้าที่กับออกกฎกระทรวงหรือประกาศตลอดจนมีอำนาจกำหนดกิจการอื่น เพื่อปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้ กฎกระทรวงและประกาศนั้น เมื่อได้ประกาศในราชกิจจานุเบกษาแล้วให้ใช้บังคับได้
ส่วนที่ 3 การแก้ไข เพิ่มเติม ยกเลิก หมวด ๑ การอนุรักษ์พลังงานในโรงงาน แก้ไขมาตรา ๙ ส่วนที่ 2 ส่วนที่ 1
ส่วนที่ 3 การแก้ไข เพิ่มเติม ยกเลิก หมวด ๑ การอนุรักษ์พลังงานในโรงงาน ยกเลิกมาตรา๑๑-๑๖ ส่วนที่ 2 ส่วนที่ 1
ส่วนที่ 3 การแก้ไข เพิ่มเติม ยกเลิก หมวด ๒ การอนุรักษ์พลังงานในอาคาร แก้ไขมาตรา ๑๙ ส่วนที่ 2 ส่วนที่ 1
ส่วนที่ 3 การแก้ไข เพิ่มเติม ยกเลิก หมวด ๒ การอนุรักษ์พลังงานในอาคาร แก้ไขมาตรา ๒๑ ส่วนที่ 2 ส่วนที่ 1
ส่วนที่ 3 การแก้ไข เพิ่มเติม ยกเลิก หมวด ๒ การอนุรักษ์พลังงานในอาคาร ยกเลิกมาตรา๒๒ ส่วนที่ 2 ส่วนที่ 1
ส่วนที่ 3 การแก้ไข เพิ่มเติม ยกเลิก หมวด ๓ การอนุรักษ์พลังงานในเครื่องจักร… แก้ไขมาตรา๒๓ ส่วนที่ 2 ส่วนที่ 1
ส่วนที่ 3 การแก้ไข เพิ่มเติม ยกเลิก หมวด ๔ กองทุนเพื่อส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน มาตรา๒๔ และ ๒๔/๑ ส่วนที่ 2 ส่วนที่ 1
ส่วนที่ 3 การแก้ไข เพิ่มเติม ยกเลิก หมวด ๔ กองทุนเพื่อส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน แก้ไขมาตรา๒๗ ส่วนที่ 2 ส่วนที่ 1
ส่วนที่ 3 การแก้ไข เพิ่มเติม ยกเลิก ประเด็นสำคัญที่มีการแก้ไข เพิ่มเติม และยกเลิก หมวด ๔ กองทุนเพื่อส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน ส่วนที่ 2 มาตรา ๓๔ พ.ร.บ. 2535 พ.ร.บ. 2550 ให้คณะกรรมการมีอำนาจแต่งตั้งคณะอนุกรรมการเพื่อพิจารณาหรือปฏิบัติการตามที่คณะกรรมการมอบหมาย ตลอดจนเชิญบุคคลใดๆ มาให้ข้อเท็จจริง คำอธิบาย คำแนะนำหรือความเห็นได้ ให้คณะกรรมการมีอำนาจตาม พ.ร.บ. เดิม (พ.ศ.2535) พร้อมทั้งเพิ่มเติมให้คณะอนุกรรมการมีอำนาจในการอนุมัติการขอเปลี่ยนแปลงการจัดสรรเงินกองทุนให้แก่กิจการ แผนงานหรือโครงการได้เท่าที่ไม่เกินจากวงเงินที่คณะกรรมการกองทุนจัดสรรให้... ส่วนที่ 1
ประเด็นสำคัญที่มีการแก้ไข เพิ่มเติม และยกเลิก หมวด ๔ กองทุนเพื่อส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน มาตรา ๓๘ พ.ร.บ. 2535 พ.ร.บ. 2550 ในกรณีที่ผู้มีหน้าที่ส่งเงินกองทุน ไม่ส่งเงินเข้ากองทุนหรือส่งเงินเข้ากองทุนไม่ครบตามจำนวนที่ต้องส่งให้กรมสรรพสามิตสำหรับผู้ผลิตน้ำมันเชื้อเพลิง ณ โรงกลั่นและจำหน่ายเพื่อใช้ในราชอาณาจักร กรมศุลกากรสำหรับผู้นำเข้าน้ำมันเชื้อเพลิงหรือกรมทรัพยากรธรณีสำหรับผู้ที่ซื้อหรือได้มาซึ่งก๊าซจากผู้รับสัมปทานให้มีการดำเนินคดีตามมาตรา ๕๘ ในกรณีที่ผู้มีหน้าที่ส่งเงินกองทุน ไม่ส่งเงินเข้ากองทุนหรือส่งภายหลังระยะเวลาที่กำหนด นอกจากจะมีความผิดตามกฎหมายแล้ว ให้เสียเงินเพิ่มในอัตราร้อยละ ๓ ต่อเดือนของจำนวนเงินดังกล่าว... มีข้อยกเว้นเพิ่มเติมดังนี้ (๑) ในกรณีที่ผู้นั้นเห็นเองว่าตนมีกรณีดังกล่าว ให้ผู้นั้นส่งเงินตามจำนวนที่ต้องส่งหรือตามจำนวนที่ขาด พร้อมทั้งเงินเพิ่มในอัตราร้อยละ ๓ ต่อเดือนของจำนวนเงินดังกล่าว... (๒) ในกรณีที่กรมสรรพสามิต กรมศุลกากรหรือกรมเชื้อเพลิงธรรมชาติตรวจพบและแจ้งเป็นหนังสือให้ผู้มีหน้าที่ส่งเงินเข้ากองทุนในระยะเวลาที่กำหนด และผู้นั้นได้ส่งเงินตามจำนวนที่ต้องส่งหรือตามจำนวนที่ขาด พร้อมทั้งเงินเพิ่มในอัตราร้อยละ ๖ ต่อเดือนของจำนวนเงินดังกล่าว...
ประเด็นสำคัญที่มีการแก้ไข เพิ่มเติม และยกเลิก หมวด ๖ ค่าธรรมเนียมพิเศษ แก้ไขจาก มาตรา ๙ หรือ ๑๙ เป็นมาตรา ๙ (๑) หรือ ๒๑ (๑) มาตรา ๔๒ พ.ร.บ. 2550 พ.ร.บ. 2535 เมื่อพ้นกำหนด ๓ ปีนับแต่วันที่กฎ กระทรวงที่ออกตามมาตรา ๙ หรือ ๑๙ ใช้บังคับ ในกรณีที่เป็นโรงงานควบคุมหรืออาคารควบคุมก่อน...หรือนับตั้งแต่...หรือหลังวันที่กฎกระทรวงใช้บังคับ ถ้าเจ้าของโรงงานควบคุมหรืออาคารควบคุม จะต้องมีหน้าที่ชำระค่าธรรมเนียมพิเศษการใช้ไฟฟ้า... เมื่อพ้นกำหนด ๓ ปีนับแต่วันที่กฎกระทรวงที่ออกตามมาตรา ๙ (๑) หรือ ๒๑ (๑) ใช้บังคับ ในกรณีที่เป็นโรงงานควบคุมหรืออาคารควบคุมก่อน...หรือนับตั้งแต่...หรือหลังวันที่กฎกระทรวงใช้บังคับ ถ้าเจ้าของโรงงานควบคุมหรืออาคารควบคุม ผู้ใดไม่ปฏิบัติตามกฎกระทรวงดังกล่าวต้องชำระค่าธรรมเนียมพิเศษการใช้ไฟฟ้า...
ประเด็นสำคัญที่มีการแก้ไข เพิ่มเติม และยกเลิก หมวด ๕ ค่าธรรมเนียมพิเศษ มาตรา ๔๖
ประเด็นสำคัญที่มีการแก้ไข เพิ่มเติม และยกเลิก หมวด ๗ พนักงานเจ้าหน้าที่ มาตรา ๔๗ พ.ร.บ. 2535 พ.ร.บ. 2550 ให้พนักงานเจ้าหน้าที่มีอำนาจ ดังนี้ (๑) มีหนังสือเรียกเจ้าของโรงงานควบคุมหรืออาคาร ควบคุมมาให้ถ้อยคำหรือแจ้งข้อเท็จจริง หรือทำคำชี้แจงเป็น หนังสือ หรือส่งเอกสารหลักฐานใด ๆ เพื่อการตรวจสอบ หรือเพื่อประกอบการพิจารณา (๒) เข้าไปในโรงงานควบคุมหรืออาคารควบคุมใน ระหว่างเวลาพระอาทิตย์ขึ้นถึงพระอาทิตย์ตก...และให้มีอำนาจ ตรวจสอบเครื่องจักรและอุปกรณ์หรือวัสดุในปริมาณพอสมควร ที่เป็นไปได้ เพื่อเป็นตัวอย่างในการตรวจสอบได้ เพิ่มเติมอำนาจของพนักงานเจ้าหน้าที่อีก ๑ ข้อ คือ (๓) ตรวจสอบและรับรองการจัดการพลังงาน การใช้พลังงานในเครื่องจักรหรืออุปกรณ์ และคุณภาพวัสดุหรืออุปกรณ์เพื่อการอนุรักษ์พลังงาน...
ประเด็นสำคัญที่มีการแก้ไข เพิ่มเติม และยกเลิก หมวด ๗ พนักงานเจ้าหน้าที่ มาตรา ๔๘/๑
ประเด็นสำคัญที่มีการแก้ไข เพิ่มเติม และยกเลิก หมวด ๙ บทกำหนดโทษ มาตรา ๕๕ พ.ร.บ. 2535 พ.ร.บ. 2550 เจ้าของโรงงานควบคุมผู้ใดไม่ปฏิบัติตามมาตรา ๑๑ (๑) หรือเจ้าของอาคารควบคุมผู้ใดไม่ปฏิบัติตามมาตรา ๑๑ (๑) ซึ่งได้นำมาใช้โดยอนุโลมตามมาตรา ๒๒ ต้องระวางโทษปรับไม่เกิน 200,000 บาท เจ้าของโรงงานควบคุม เจ้าของอาคารควบคุมหรือผู้รับผิดชอบด้านพลังงานผู้ใดไม่ปฏิบัติตามกฎกระทรวงที่ออกตามความในมาตรา ๙ หรือมาตรา ๒๑ ต้องระวางโทษปรับไม่เกิน 200,000 บาท
ประเด็นสำคัญที่มีการแก้ไข เพิ่มเติม และยกเลิก หมวด ๙ บทกำหนดโทษ มาตรา ๕๖ พ.ร.บ. 2550 พ.ร.บ. 2535 ผู้รับใบอนุญาตตรวจสอบและรับรองการจัดการพลังงาน การใช้พลังงานในเครื่องจักรหรืออุปกรณ์ และคุณภาพวัสดุหรืออุปกรณ์เพื่อการอนุรักษ์พลังงานตามมาตรา ๔๘/๑ ผู้ใดรายงานผลการตรวจสอบและรับรองตามมาตรา ๔๗ (๓) อันเป็นเท็จ หรือไม่ตรงตามความเป็นจริง ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกิน 3 เดือนหรือปรับไม่เกิน 200,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ เจ้าของโรงงานควบคุมผู้ใดไม่ปฏิบัติตามมาตรา ๑๑ (๒) (๓) (๔) หรือ (๕) หรือมาตรา ๑๕ หรือเจ้าของอาคารควบคุมผู้ใดไม่ปฏิบัติตามมาตรา ๑๑ (๒) (๓) (๔) หรือ (๕) หรือมาตรา ๑๕ ซึ่งได้นำมาใช้โดยอนุโลมตามมาตรา ๒๒ ต้องระวางโทษปรับไม่เกิน 100,000 บาท
ขอขอบคุณ และ โปรดช่วยกันอนุรักษ์พลังงาน