1.68k likes | 2.85k Vues
อนันต์ ภูพันคำ โทร : 085-9008051 E-mail : anan_poopankam@yahoo.com. QCC. Anan Poopankam. ( QCC ) Quality Control circle. กลุ่มสร้างคุณภาพ. QCC. Anan Poopankam. คิวซีซี คืออะไร ?. Q C C Q uality C ontrol C ircle คิวซีซี หมายถึง กลุ่มย่อย (Small Group) กลุ่มหนึ่ง
E N D
อนันต์ ภูพันคำ โทร : 085-9008051 E-mail : anan_poopankam@yahoo.com
QCC Anan Poopankam ( QCC ) Quality Control circle กลุ่มสร้างคุณภาพ
QCC Anan Poopankam คิวซีซี คืออะไร ? QCC Quality Control Circle คิวซีซีหมายถึง • กลุ่มย่อย (Small Group) กลุ่มหนึ่ง • ที่ดำเนินกิจกรรมควบคุมคุณภาพภายในสถานที่ทำงานเดียวกันโดยสมัครใจ • เพื่อปรับปรุงงานที่ตนเองรับผิดชอบ อย่างเป็นอิสระ • และกระทำอย่างต่อเนื่อง
QCC CONCEPT Service/Product Customer PDCA Standard Fact Mgt. Process Improvement แนวคิด VEHICLES Small Group Activity, Task Team, Problem Solving Team ช่องทาง TECHNIQUES 7QC Tools New 7 QC Tools Brainstorming Statistical Tech. เทคนิค Anan Poopankam สิ่งที่ผู้ที่มีหน้าที่ในการแก้ไขปัญหาควรทราบ
QCC A A P P C C D D การปรับปรุงงาน การปรับปรุงงาน A A A S S S C C C D D D การรักษามาตรฐาน Anan Poopankam KAIZEN การปฏิบัติงานประจำวัน
QCC งาน งาน งาน Anan Poopankam แนวคิดของการปรับปรุงงานอย่างต่อเนื่อง Continuous Improvement High Quality มาตรฐานการปฏิบัติงาน Low Quality
QCC Anan Poopankam Facility Parameter P - ProductivityQ - QualityC - CostD - DeliveryS - SafetyM - MoralE - EnvironmentE - Ethic
QCC Anan Poopankam ขั้นตอนการแก้ปัญหา และปรับปรุงงาน QC Story
QCC Anan Poopankam Management system-Top-down system-Two way system (QCC)
QCC Anan Poopankam รูปแบบการบริหารแบบเดิม1 พนักงานมีโอกาสร่วมในการบริหารน้อย2 พนักงานทำงานตามคำสั่งเท่านั้น 3 ไม่ได้แสดงความสามารถอย่างเต็มที่รูปแบบการบริหารแบบใหม่1 พนักงานมีโอกาสร่วมกิจกรรมมาก QCC2 พนักงานปฏิบัติงานด้วยความสุข มีความภูมิใจ3 ได้ใช้ความรู้ความสามารถอย่างเต็มที่
QCC Anan Poopankam วัตถุประสงค์ในการจัดทำ QCC1 ส่งเสริมด้านสังคมของพนักงาน2 ตรวจสอบคุณภาพในการทำงานต่างๆ3 ยกระดับจิตใจของพนักงาน รู้สำนึกหน้าที่ และเคารพความคิดเห็นคนอื่น4 ส่งเสริมความเป็นผู้นำ5 มีนโยบายในการทำงาน6 ก่อให้เกิดระบบคุณภาพทั้งบริษัท7 สร้างความเจริญให้กับตนเองและองค์กร
QCC Anan Poopankam วิธีการกลุ่มพนักงานในหน่วยงานเดียวกันรวมตัวกันขึ้นเพื่อศึกษาและแก้ไขปัญหาในงานที่ทำอยู่ โดยใช้วิธีการทางการควบคุมคุณภาพ( QC: Quality Control ) และเทคนิคต่าง ๆโดยสมาชิกทุกคนในกลุ่มจะต้องมีส่วนร่วมในการใช้ความคิดหรือสติปัญญาเพื่อแก้ไขปัญหา และการปรับปรุงงานในหน้าที่ของตนเอง
QCC Anan Poopankam ขั้นตอนการจัดตั้งทีม1 กำหนดจำนวนคน2 จัดตั้งหัวหน้ากลุ่ม3 กำหนดคำขวัญกลุ่ม4 กำหนดตัวชี้วัด และระยะเวลา
QCC P A D C ( ได้ผล / ไม่ได้ผล ) Anan Poopankam ขั้นตอนการทำกิจกรรมกลุ่ม QCC 1 ค้นหาปัญหาและเลือกหัวข้อเรื่อง - กำหนดเป้าหมาย - จดทะเบียนกิจกรร2 สำรวจสภาพปัจจุบัน3 วิเคราะห์สาเหตุของปัญหาและวางมาตรการแก้ไข4 ลงมือปฏิบัติตามมาตรการแก้ไข5 ตรวจสอบผล6 กำหนดมาตรฐาน7 สรุปผล/วางแผน/เสนอผลงาน PLAN DO CHECK ACTION
QCC Anan Poopankam หน้าที่ของสมาชิกในกลุ่ม1 ศึกษาแนวความคิด ขั้นตอนและเทคนิค2 พัฒนาตนเองให้มีคุณภาพ ทำงานเป็นทีมได้3 ปฏิบัติตามกฎการทำงาน 3 ข้อ - กล้าแสดงออกซึ่งความคิดเห็นของตนเอง - เคารพความคิดเห็นของตนอื่น - ยอมรับมติของกลุ่ม4 ปฏิบัติงานตามที่ได้รับมอบหมาย
QCC Anan Poopankam การเลือกหัวข้อในการจัดทำ QCC1 เกี่ยวกับคุณภาพ - ลดของเสีย , ลดความผิดพลาด , ลดการReject2 ลดการจ่ายต้นทุนต่าง ๆ - เพิ่มผลผลิต , เพิ่มอัตราการใช้เครื่องจักร , ลด การทำงานที่ซ้ำซ้อน3 เพิ่มประสิทธิภาพในการผลิต - เพิ่มอัตราการผลิตต่อหน่วย , ลดอัตราการ สูญเสียเวลา หรืการซ่อมแซมเครื่องจักร
QCC Anan Poopankam การเลือกหัวข้อในการจัดทำ QCC4 เพิ่มความสำนึกในเรื่องคุณภาพ - เข้มงวด คุณภาพ ปลอดภัย สะอาด5 ปรับปรุงมาตรฐานการทำงาน - ให้ทันสมัยอยู่เสมอ , ป้องกันการทำงาน ผิดพลาด6 หัวข้ออื่น ๆ - ให้การศึกษาและอบรม , ขยายความรู้ พื้นฐาน
QCC Anan Poopankam เทคนิคเสริมสร้างการทำกิจกรรม QCC1 เทคนิคการสร้างทีมงาน2 เทคนิคการสร้างความคิดสร้างสรรค์3 เทคนิคการประชุมอย่างมีประสิทธิภาพ4 เทคนิคการนำเสนอผลงาน
QCC Anan Poopankam 1. หลักการทำงานเป็นทีม • มีอุดมการณ์เดียวกัน • ปฏิบัติตามกฎอย่างเคร่งครัด • มีน้ำใจ ช่วยเหลือซึ่งกันและกัน • รู้หน้าที่ของตนเองและเคารพในหน้าที่ของคนอื่น • ยอดรับผิดเมื่อทำผิด และให้อภัยซึ่งกันและกัน • ถือการขัดแย้งว่าเป็นการมองปัญหาคนละด้าน • เมื่อมีความไม่เข้าใจกัน ควรหันหน้าเข้าพูดคุยกัน อย่าพูดจาลับหลัง
QCC Anan Poopankam 2. เทคนิคการสร้างความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ • อุปสรรคที่คอยขัดขวางพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ • การสร้างความคิดสร้างสรรค์ • สิ่งที่จะช่วยเพิ่มประสิทธิภาพให้มีความคิดสร้างสรรค์
QCC Anan Poopankam 3 เทคนิคการประชุมอย่างมีประสิทธิภาพ มีการระดมสมอง • กำหนดหัวข้อปัญหา • รวบรวมความคิดของทุกคนให้มากที่สุด • ประเมินความคิดที่ได้ทั้งหมด • ศึกษารายละเอียดถึงวิธีการที่จะนำความคิดนั้นไปปฏิบัติ • มีการมอบหมายงานหลังการประชุม
QCC Anan Poopankam 4 เทคนิคการเสนอผลงาน ขั้นตอนการนำเสนอผลงาน • แนะนำตนเอง • แนะนำกลุ่ม • หัวข้อการนำเสนอ แรงจูงใจ • แผนการดำเนินงาน • ขั้นตอนการดำเนินงาน • ผลประโยชน์ Before & After • อุปสรรค
QCC Anan Poopankam คัดเลือกหัวข้อเรื่อง การวิเคราะห์สภาพก่อนการแก้ไข การตั้งเป้าหมาย การวิเคราะห์หาสาเหตุของปัญหา กำหนดแผนการแก้ไข PLAN ลงมือปฏิบัติตามแผนการแก้ไข DO การตรวจสอบผลกับเป้าหมาย CHECK การตั้งมาตรฐาน สรุปผลการดำเนินกิจกรรม / ติดตามผล กำหนดกิจกรรมเรื่องต่อไป ACTION
QCC Anan Poopankam คัดเลือกหัวข้อเรื่อง การวิเคราะห์สภาพก่อนการแก้ไข การตั้งเป้าหมาย การวิเคราะห์หาสาเหตุของปัญหา กำหนดแผนการแก้ไข ทุกข์ สมุทัย ลงมือปฏิบัติตามแผนการแก้ไข นิโรธ การตรวจสอบผลกับเป้าหมาย การตั้งมาตรฐาน สรุปผลการดำเนินกิจกรรม / ติดตามผล กำหนดกิจกรรมเรื่องต่อไป มรรค
QCC Anan Poopankam ลักษณะพิเศษของการใช้คิวซี สตอรี่ 1. ทีมงานและการระดมสมอง 2. บนพื้นฐานของข้อเท็จจริง 3. คิดและปฏิบัติอย่างเป็นระบบ
QCC Anan Poopankam รูปแบบในเชิงกระบวนการของ QC Story 1. แบบมุ่งแก้ไขปัญหา (Problem Solving) 2. แบบมุ่งหัวข้อเป้าหมายงาน (Theme Achievement) ปัญหา สาเหตุ การแก้ไข ตรวจสอบผล มาตรฐาน กำหนด MODEL งาน ปฏิบัติ ประเมินผล มาตรฐาน
QCC Anan Poopankam Problem-Solving Theme Achievement กำหนดปัญหา / ค้นหาหัวข้อกิจกรรม สำรวจสภาพปัญหา กำหนดเป้าหมาย กำหนดงานให้ชัดเจน กำหนดเป้าหมาย วิเคราะห์หาสาเหตุค้นคิดมาตรการในทางปฏิบัติ กำหนดแผนการแก้ไขคัดเลือกมาตรการที่เหมาะสม ดำเนินการปฏิบัติและตรวจสอบผล กำหนดมาตรฐานการปฏิบัติ วางแผนการทำกิจกรรมต่อไป
QCC Anan Poopankam อดีต ปัจจุบันอนาคต • ปัญหาที่เกิดขึ้นมาแล้ว • ปัญหาหลุดเกณฑ์ • ปัญหายังไม่บรรลุเป้าหมาย • ปัญหาที่ต้องค้นหา • เรื่องที่ต้องปรับปรุง • เรื่องที่ต้องเสริมสร้าง • ปัญหาที่ต้องกำหนดขึ้นมา • เรื่องที่ต้องพัฒนา • เรื่องที่ต้องหาทางหลีกเลี่ยง
QCC Anan Poopankam ธรรมชาติของกระบวนการผลิต และหลักการในการแก้ไขปัญหาคุณภาพ
QCC Anan Poopankam • ไม่มีชิ้นงานใดที่มีคุณสมบัติ • เหมือนกันทุกประการ ในกระบวนการทำงานของเรานี้มีจุดที่เกิด ความบกพร่องได้มากมาย เกินกว่าที่เราจะเข้าไปควบคุมได้ทุกจุด
QCC Anan Poopankam คำถาม : อะไรคือสาเหตุของของเสีย ? • คำตอบ : ความบกพร่อง (Defect) ของที่ได้จากการผลิต ของดี ของเสีย คุณภาพได้ตามมาตรฐานคุณภาพไม่ได้ตามมาตรฐาน ของทุกชิ้นมีการผันแปร (Variation) แต่จะอยู่ในข้อกำหนดทางเทคนิค (Specification) หรือไม่ ?
QCC Anan Poopankam ประเภทของความผันแปร 1.ความผันแปรที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ CHANCE CAUSE (ควบคุมไม่ได้) เป็นความผันแปรที่ไม่รุนแรง และ ไม่มีผลต่อคุณภาพ ของผลิตภัณฑ์ เป็นความแตกต่างเล็ก ๆ น้อย ๆ ความ แตกต่างนี้ จะอยู่ในพิสัยที่กำหนดให้อยู่แล้ว (SPEC) จึงเป็นความผันแปรที่ยอมรับได้ ข้อมูลที่ได้จะกระจาย อยู่รอบ ๆ ค่ากลาง หรือค่าที่ควรจะเป็น เรียกว่าเป็นการ แจกแจงแบบปกติ (NORMAL DISTRIBUTION)
QCC วันพฤหัสบดี วันพุธ วันอังคาร วันจันทร์ Anan Poopankam ลักษณะของข้อมูลที่มีการควบคุม กระบวนการอยู่ภายใต้การควบคุม
QCC Anan Poopankam ประเภทของความผันแปร 2.ความผันแปรที่เกิดจากสิ่งที่ควบคุมได้แต่ไม่ควบคุม ASSIGNABLE CAUSE การกระจายจะมีพิสัยมาก ไม่กระจายอยู่รอบค่ากลาง จากสิ่งผิดปกติเหล่านี้จำเป็นต้องได้รับการแก้ไข - การแจกแจงข้อมูลไม่มีรูปแบบที่แน่นอน - ความแตกต่างที่เกิดขึ้นไม่สามารถคาดเดาได้ - ข้อมูลไม่กระจายรอบค่าที่ควรเป็น
QCC วันพฤหัสบดี วันพุธ วันอังคาร วันจันทร์ Anan Poopankam ลักษณะของข้อมูลที่ขาดการควบคุม กระบวนการไม่อยู่ภายใต้การควบคุม
QCC Anan Poopankam Variation เป็นสาเหตุสากลของทุกการผลิต • เกิดจากปัจจัยสำคัญ 4 ตัว • 1. Material - วัตถุดิบที่ใช้ • 2. Machine - เครื่องจักรที่ผลิต • 3. Method - วิธีการทำงาน • 4. Man-Made Error - ความบกพร่องจากคน
QCC Anan Poopankam Diagnosis of Process • จำแนกตามสาเหตุของความบกพร่องได้ 2 แบบ • 1. ประเภทจำนวนไม่มากแต่ส่งผลรุนแรง • 2. ประเภทมีจำนวนมากแต่ส่งผลเล็กน้อย • (Principle of Pareto) • The Vital Few - The Trivial Many
QCC Anan Poopankam วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล (Collection of Data) • ข้อมูลคือแนวทางสู่การแก้ปัญหา • ข้อมูลจะบอกปรากฏการณ์/พฤติกรรม/คุณสมบัติที่เราต้องการทราบ • ในเชิงคุณภาพ วัตถุประสงค์ของการเก็บรวบรวมข้อมูลคือ • 1. เพื่อควบคุมและติดตามดูผลการดำเนินการผลิต • 2. เพื่อวิเคราะห์หาสาเหตุของความไม่สอดคล้อง • 3. เพื่อการตรวจเช็ค
QCC Anan Poopankam การศึกษาข้อมูล เพื่อดำเนินกิจกรรมปรับปรุงคุณภาพ
QCC Anan Poopankam ขั้นตอนการศึกษาข้อมูล 1 วางแผนการศึกษาข้อมูล 2 เก็บรวบรวมข้อมูลตามแผน 3 นำเสนอข้อมูล 4 วิเคราะห์ข้อมูล 5 นำผลการวิเคราะห์ไปใช้ประโยชน์
QCC Anan Poopankam ขั้นตอนที่ 1 : การวางแผนการศึกษาข้อมูล • อาจทำได้โดยการตอบคำถามเหล่านี้ :- • จะเก็บข้อมูลเพื่ออะไร ? • จะเก็บข้อมูลอะไร ? แยกประเภทข้อมูลหรือไม่ ? • จะเก็บข้อมูลนานแค่ไหน ? จำนวนเท่าไร ? • จะเก็บข้อมูลได้จากไหน ? • ใครเป็นคนเก็บข้อมูล ? • จะเก็บข้อมูลอย่างไร ?
QCC Anan Poopankam ขั้นตอนที่ 2 : เก็บรวบรวมข้อมูลตามแผน เพียงเก็บรวบรวมข้อมูลตามแผน ที่ได้กำหนดไว้แล้ว ขั้นตอนที่ 3 : นำเสนอข้อมูล โดยใช้แผนภูมิ หรือ แผนภาพ เพื่อให้ง่ายต่อการวิเคราะห์ หรือ อธิบายผล
QCC Anan Poopankam ขั้นตอนที่ 4 : วิเคราะห์ข้อมูล • วิเคราะห์ด้วยตา • ตอบคำถามจากแผนภูมิว่า • เกิดสภาพอย่างไร ? • วิเคราะห์ด้วยสมอง • ตอบคำถามว่าทำไม • จึงเกิดสภาพอย่างนั้น ?
QCC Anan Poopankam วงจรการศึกษาข้อมูล กำหนดสมมุติฐานที่สนใจศึกษา ศึกษาข้อมูลเพื่อทดสอบ/ยืนยันความคิด สมมุติฐานเป็นจริง สมมุติฐานไม่เป็นจริง นำผลที่ได้ไปใช้ประโยชน์
QCC Anan Poopankam การใช้FACT CONTROLกับการบริหารคุณภาพ ข้อเท็จจริง ตัวเลข คำพูด/ความคิด 7 Tools New 7 Tools จัดระบบ เห็นได้ชัดเจนvisible วิเคราะห์แก้ไขปัญหา
7 QC Tools QCC Anan Poopankam • แผนภูมิก้างปลา ( Cause & Effect Diagram ) • แผนตรวจสอบ ( Check Sheet ) • พาเรโต ( Pareto ) • กราฟ ( Graph ) • แผนภูมิแสดงความสัมพันธ์ ( Scatter Diagram ) • ฮิสโตรแกรม ( Histogram ) • แผนควบคุม ( Control Chart )
QCC Anan Poopankam 1.ตารางตรวจสอบ(CHECK SHEET) รูปแบบตารางที่ออกแบบสร้างขึ้นมาเพื่อใช้เก็บรวบ รวมข้อมูล มาทำการศึกษาหรือวิเคราะห์ในการ ดำเนินการปรับปรุงหรือแก้ปัญหาด้วยกระบวนการ ปรับปรุงงานแบบต่าง ๆ
QCC Anan Poopankam ตารางตรวจสอบ (Check Sheet) • แผนผัง/ตาราง/แบบฟอร์มที่มีการออกแบบไว้ล่วงหน้า เพื่อ • 1. จัดเก็บรวบรวมข้อมูลได้ง่ายและถูกต้อง • 2. มองดูเข้าใจง่าย • 3. นำไปใช้ประโยชน์ต่อได้ง่าย • ควรออกแบบตารางตรวจสอบโดยใช้เครื่องหมายขีดจะสะดวก • และมีโอกาสผิดพลาดน้อยกว่าการบันทึกตัวเลขที่วัดได้
QCC 1 2 3 Anan Poopankam แผ่นตรวจสอบเพื่อการตรวจสอบยืนยัน รายละเอียดการตรวจสอบ ผลตรวจ ส่วนที่ 1 1.1ปริมาณน้ำหล่อเย็นและการรั่วไหล 1.2 ปริมาณน้ำมันเบรกและคลัตช์ ส่วนที่ 2 2.1 สภาพสีของไอเสีย 2.2 สภาพแถบสะท้อนแสง(ขับขี่ตอนกลางคืน) ส่วนที่ 3 3.1 แรงดันของยางรถยนต์
QCC Anan Poopankam แผ่นตรวจสอบสำหรับบันทึกของเสีย วันที่.…..…….…….……………….... แผนก……………………………….. ชื่อผู้ตรวจสอบ………………………. ล็อตที่…………..………...………… ใบสั่งเลขที่…………………………... สินค้า.…..…….…….…. ขั้นตอนการผลิต : ตรวจสอบขั้นสุดท้าย ชนิดของความบกพร่อง ตำหนิที่ผิวชิ้นงาน รอยแตก ฉีดไม่เต็มชิ้น รูปร่างบิดเบี้ยว จำนวนชิ้นงานที่ตรวจสอบ : 1525 หมายเหตุ ตรวจทุกชิ้น ผลรวมแต่ละ ชนิดของความบกพร่อง ชนิดของความบกพร่อง 17 11 26 3 5 ตำหนิที่ผิวชิ้นงาน รอยแตก ฉีดไม่เต็มชิ้น รูปร่างบิดเบี้ยว อื่นๆ 62 จุดบกพร่อง รวมจำนวนความบกพร่อง จำนวนชิ้นงานที่เป็น ของเสีย 42 ชิ้น