1 / 28

พัฒนาการเด็กปฐมวัย ของประเทศไทย

พัฒนาการเด็กปฐมวัย ของประเทศไทย. นายแพทย์พนิต โล่เสถียรกิจ ศูนย์อนามัยที่ 3 ชลบุรี นางจินตนา พัฒนพงศ์ธร สำนักส่งเสริมสุขภาพ กรมอนามัย. ชุดโครงการวิจัย. สถานการณ์พัฒนาการเด็กปฐมวัยในปัจจุบัน และการพยากรณ์ผลกระทบในอนาคต ปัจจัยที่มีผลต่อพัฒนาการเด็กปฐมวัยไทย

Télécharger la présentation

พัฒนาการเด็กปฐมวัย ของประเทศไทย

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. พัฒนาการเด็กปฐมวัยของประเทศไทยพัฒนาการเด็กปฐมวัยของประเทศไทย นายแพทย์พนิต โล่เสถียรกิจ ศูนย์อนามัยที่ 3 ชลบุรี นางจินตนา พัฒนพงศ์ธร สำนักส่งเสริมสุขภาพ กรมอนามัย

  2. ชุดโครงการวิจัย • สถานการณ์พัฒนาการเด็กปฐมวัยในปัจจุบัน • และการพยากรณ์ผลกระทบในอนาคต • ปัจจัยที่มีผลต่อพัฒนาการเด็กปฐมวัยไทย • พฤติกรรมการเลี้ยงดูเด็กปฐมวัยของครอบครัวไทย • การมีส่วนร่วมชุมชน ท้องถิ่นต่อการพัฒนาการ • เด็กปฐมวัยไทย • คุณภาพบริการและการเข้าถึงบริการต่อพัฒนาการ • เด็กปฐมวัยไทย

  3. ปัจจัยที่มีผลต่อพัฒนาการเด็กปฐมวัยไทย ปัจจัยที่มีผลต่อพัฒนาการเด็กปฐมวัยไทย นายแพทย์พนิต โล่เสถียรกิจ ศูนย์อนามัยที่ 3 ชลบุรี

  4. ความสำคัญของปัญหา • ในประกำลังพัฒนาเด็กอายุต่ำกว่า 5 ปี มากกว่า 200 ล้านคนทั่วโลก มีพัฒนาการต่ำกว่าวัย • การสำรวจภาวะสุขภาพโดยการตรวจร่างกาย ครั้งที่ 2 (2539 – 2540) • - พัฒนาการช้ากว่าวัย ร้อยละ 20.1 • การสำรวจพัฒนาการเด็ก 1-5 ปี ของกรมอนามัย ในปี 2550 ด้วย DENVER II • - ภาพรวมของเด็กทุกกลุ่มอายุมีพัฒนาการรวมทุกด้านปกติ ร้อยละ 66.7 • การสำรวจภาวะสุขภาพโดยการตรวจร่างกาย ครั้งที่ 4 (2551 – 2552) • - พัฒนาการการทรงตัวและการเคลื่อนไหวสมอายุ ร้อยละ 90 • - ด้านสติปัญญาหรือทักษะความพร้อมในการเรียน มีพัฒนาการสมวัย • ร้อยละ 74

  5. วัตถุประสงค์การวิจัย • เพื่อศึกษาปัจจัยของแม่ที่มีผลต่อพัฒนาการของเด็ก • เพื่อศึกษาปัจจัยของเด็กที่มีผลต่อพัฒนาการ • เพื่อศึกษาปัจจัยแวดล้อมที่มีผลต่อพัฒนาการของ • เด็ก

  6. กรอบแนวคิดในการศึกษา • ปัจจัยด้านแม่ • ลักษณะทางประชากร • พฤติกรรมการดูแลสุขภาพระหว่างตั้งครรภ์ • ภาวะสุขภาพ • ภาวะโภชนาการ • ปัจจัยด้านเด็ก • ภาวะสุขภาพของเด็กแรกเกิด ,หลังคลอด • การเจ็บป่วยของเด็ก • ภาวะโภชนาการ • ปัจจัยแวดล้อม • ลักษณะทางประชากรของผู้ดูแลเด็ก • ที่อยู่อาศัย • การเลี้ยงดูเด็ก พัฒนาการเด็ก

  7. นิยามศัพท์ “พัฒนาการ” • การเปลี่ยนแปลงความสามารถในการทำหน้าที่ (Function) และวุฒิภาวะ (maturation) ของอวัยวะระบบต่าง ๆ • พฤติกรรมต่าง ๆ ที่แสดงถึงความก้าวหน้าตามลำดับทั้ง 4 ด้าน คือ - ด้านกล้ามเนื้อมัดใหญ่ - ด้านภาษา - ด้านกล้ามเนื้อมัดเล็ก - ด้านสังคม และการช่วยเหลือตัวเอง

  8. นิยามศัพท์ การแปลผลระดับพัฒนาการ โดยรวม(Denver II) • ปกติ (Normal) เด็กที่ทำการประเมินพัฒนาการเด็กโดยไม่มีข้อทดสอบ “ล่าช้า” และ / หรือ มีข้อทดสอบ “ควรระวัง” เพียง 1 ข้อเท่านั้น • สงสัย (Suspect) เด็กที่ทำการประเมินพัฒนาการเด็กมีข้อทดสอบ “ควรระวัง 2 ข้อขึ้นไป และ/หรือ มีข้อทดสอบ “ล่าช้า” 1 ข้อขึ้นไป

  9. นิยามศัพท์ ผู้เลี้ยงดูเด็ก พ่อ หรือแม่ หรือคู่สามี ภรรยาคนใหม่ หรือปู่ ย่า ตา ยาย ญาติ หรือ เจ้าหน้าที่ผู้ดูแลเด็กของศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ซึ่งดูแลเด็กต่อเนื่องอย่างน้อย ๖ เดือน

  10. ขอบเขตการวิจัย ประชากร - บิดา หรือ มารดา หรือผู้เลี้ยงดูเด็ก อย่างน้อย 6 เดือนอย่างต่อเนื่อง - เด็กปฐมวัย 4 กลุ่ม กลุ่มอายุ 9 – 12 เดือน กลุ่มอายุ 18 –24 เดือน กลุ่มอายุ 30 –36 เดือน กลุ่มอายุ 42– 48 เดือน

  11. การคำนวณตัวอย่าง k = 1.96 E’≤0.10 P = 0.5 Q = 1-P n = 10,400

  12. การสุ่มตัวอย่าง “Stratified Three-stage Sampling” • หน่วยตัวอย่างขั้นที่หนึ่ง • กรุงเทพมหานคร/เครือข่ายบริการสุขภาพ • หน่วยตัวอย่างขั้นที่สอง • จังหวัดในแต่ละเครือข่ายฯ/เขตใน กทม. • หน่วยตัวอย่างขั้นที่สาม • เด็กอายุ ๐-๕ ปี

  13. พื้นที่ตัวอย่าง

  14. จำนวนกลุ่มตัวอย่าง รายเขตบริการสุขภาพ

  15. จำนวนกลุ่มตัวอย่าง รายเขตบริการสุขภาพ

  16. จำนวนกลุ่มตัวอย่าง รายเขตบริการสุขภาพ

  17. จำนวนกลุ่มตัวอย่าง รายเขตบริการสุขภาพ

  18. จำนวนกลุ่มตัวอย่าง ใน กทม.

  19. พื้นที่ดำเนินการวิจัยพื้นที่ดำเนินการวิจัย • หมู่บ้าน • ศูนย์เด็กเล็ก • สถานบริการสาธารณสุขทุกระดับ

  20. การคัดเลือกอาสาสมัครเข้าร่วมโครงการ (Inclusion Criteria) • ต้องเป็นเด็กสัญชาติไทย อายุตั้งแต่ 9 เดือน ถึง 48 เดือน • ผู้ปกครองยินยอมที่จะเข้าร่วมงานวิจัย • ผู้ปกครองสามารถให้ประวัติได้ครบถ้วนและมีสมุดบันทึกสุขภาพแม่และเด็ก

  21. การแยกอาสาสมัครออกจากโครงการ (Exclusion criteria) • เด็กที่มีโรคหรือความพิการแต่กำเนิดที่มีผลต่อพัฒนาการเด็ก เช่น ภาวะ Down syndrome , ออทิสติก, ความพิการทางสมอง (cerebral palsy) เด็กที่มีประวัติชัก และได้รับยากันชัก • เด็กที่ไม่ให้ความร่วมมือในการตรวจพัฒนาการ • เด็กที่ไม่ทราบอายุ • เด็กที่อยู่กับครอบครัวที่ไม่มีความสัมพันธ์ทางสายโลหิต เครือญาติ

  22. ตรวจพัฒนาการ ด้วย DENVER II ตรวจไม่ได้ (สภาพเด็กไม่พร้อม, เด็กไม่ให้ความร่วมมือ) ตรวจ ได้ ผลการตรวจพัฒนาการเด็ก ส่งสัยล่าช้า ปกติ ยุติการเข้าร่วมโครงการวิจัย วิเคราะห์ความสัมพันธ์ สัมภาษณ์ พ่อ / แม่ / ผู้ดูแลเด็ก -ปัจจัยด้านแม่ • เด็ก • สิ่งแวดล้อม เด็กอายุ 0-5 ปี ที่มารับบริการ ในสถานบริการสาธารณสุข / ชุมชน ขั้นตอนการวิจัย ไม่มีโรคทางพันธุกรรมที่มีผลต่อพัฒนาการเด็ก * มีโรคทางพันธุกรรมและโรคอื่น ๆ ที่มีผลต่อพัฒนาการเด็ก (Exclude 1) (Exclude 2)

  23. เครื่องมือที่ใช้ • แบบสัมภาษณ์ • แบบประเมิน Denver II • สมุดสีชมพู

  24. สถิติที่ใช้ • สถิติเชิงพรรณนา ความถี่ ร้อยละ (Percentage) ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน • วิเคราะห์ความสัมพันธ์ โดยใช้วิธีวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณ (Multiple Regression analysis)

  25. ประโยชน์ของการวิจัย • เพื่อทราบสถานการณ์และปัจจัยที่มีผลต่อ พัฒนาการเด็กไทย ๒. เพื่อเป็นข้อมูลในการกำหนดนโยบาย ส่งเสริมพัฒนาการเด็ก ๓. เพื่อเป็นข้อมูลในการวางแผนพัฒนา รูปแบบการส่งเสริมพัฒนาการเด็กอย่างมี ประสิทธิผล

  26. แผนการดำเนินงาน

  27. เอกสารอ้างอิง • Grantham-McGreger S, Tin Bun Cheung, Santiago Cuato, et al. Early child development in developing countries. Laneet 2007.369,60-70 • J Bruce Tomblin, Henry L Recorels, Paula Buckhatter, et al. Prevalence of Specific Language Impairment in Kindergarton Children J Speech Language, and hearing research. 1997,40 : 1245-1260. • รัตโนทัย พลับรู้การ และคณะ . สุขภาวะของเด็ก และวัยรุ่นไทย พ.ศ. 2552 • นันทา อ่วมกุล และคณะ. สุขภาวะของเด็ก และวัยรุ่นไทย พ.ศ. 2552 • ปาณาบดี เอกะจัมปกะ และ นิธิศ วัฒนมะโน. สุขภาวะของเด็ก และวัยรุ่นไทย พ.ศ. 2552 • ดวงหทัย จันทร์เชื้อ และคณะ. ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพัฒนาการเด็ก 0-5 ปี. • กชกร วัชรสุนทรกิจ และ คณะ. การศึกษาสถานการณ์พัฒนาการและการเจริญเติบโตของเด็กอายุ 0-5 ปี ในเขต 17 • นิตยา คชภักดี. อรพินท์ เหล่าสุวรรณพงษ์. คู่มือการฝึกอบรมการทดสอบพัฒนาการเด็กปฐมวัย Denver II ฉบับภาษาไทย. • ศิริสรา ลิปิพันธ์. พัฒนาการเด็กตั้งแต่แรกเกิดถึง ๕ ปี และคุณลักษณะของผู้ดูแลใน สถานสงเคราะห์ เด็กอ่อนสังกัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ในเขตภาคกลาง.

  28. ขอขอบคุณ & สวัสดี

More Related