1 / 45

Influenza vaccine cost-effectiveness in elderly with chronic illness

Influenza vaccine cost-effectiveness in elderly with chronic illness. Potjaman Siriarayapon*, Jongkol Lertiendumrong**, Benjawan Raluek*, Vichan Pawan* * FETP, ** IHPP. Backgrounds.

garvey
Télécharger la présentation

Influenza vaccine cost-effectiveness in elderly with chronic illness

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. Influenza vaccine cost-effectiveness in elderly with chronic illness Potjaman Siriarayapon*, Jongkol Lertiendumrong**, Benjawan Raluek*, Vichan Pawan* *FETP, ** IHPP

  2. Backgrounds • In 2008, National Health Security Office (NHSO) and EPI Thailand plan to implement influenza vaccine in elderly with chronic illness : COPD, asthma, heart disease, CRF, stroke, DM, and cancer patients currently on chemotherapy • Due to insufficient vaccine supply, this year was started with about 120,000 doses of the influenza vaccine • Plan to implement during 1-30 June 2008, nationwide in patients with history of hospitalization with these 7 chronic illness during 2007-2008

  3. Backgrounds • There is a request from NHSO to have a study to evaluate the cost-effectiveness of this policy • There were 3-4 components in this study • Cost- effectiveness study • KAP • Side effect of influenza vaccine

  4. Effect of influenza vaccine in different groups (1) • General elderly: reduce influenza incidence, hospitalized from influenza, pneumonia and reduce mortality from all causes • COPD*: reduce influenza incidence, hospitalized from influenza & pneumonia, exacerbation of COPD and reduce mortality from all causes (strong effect compare to other diseases) * Has RCT in Bangkok and result showed cost-effectiveness of the vaccine

  5. Effect of influenza vaccine in different group (2) • Coronary artery disease: reduce re-infarction, re-hospitalization and reduce cardiovascular death but some study reported negative finding of reduce risk for recurrent MI or cardiovascular death • Controversy reported in DM, CRF, stroke, asthma, cancer who is on chemotherapy

  6. General objective To assess influenza vaccine effectiveness for preventing confirmed influenza infectionin elderly people with 7 chronic diseases listed in the plan of influenza vaccination

  7. Specific objectives • Study influenza vaccine effectiveness in elderly people that have 6 chronic diseases to reduce • ILI and pneumonia • Hospitalization from influenza and other medical conditions • Death from all cause • Study influenza vaccine effectiveness in elderly people with acute MI to reduce • Re-infarction • Re-hospitalization from coronary diseases and all heart condition • Death from CAD

  8. Methodology • Study design: prospective cohort study to compare between vaccinated and unvaccinated population • Study sites: Pitsanulok and Udonthani provincial hospitals • Hospitals large enough to have necessary tool to assess disease status at enrolment i.e. spirometer • Not have large medical school • Have doctor that willing to participate the study

  9. Study population* • People age >65 years who stayed in Muang district and was diagnosed by doctor as • COPD • Asthma • DM • CRF • Stroke • Cancer with chemotherapy • Elderly >65 years who was diagnosed by doctor with acute MI

  10. Exclusion criteria • Refuse to participate • Not allow to collect blood at enrollment • Can not come to hospital for physical and laboratory examination at enrollment • Can not communicate in Thai (self and close relative) • Monk or nun

  11. Sampling of study population • Sampling frame: • Vaccinated group: list of patient who already received vaccine in June 2008 • Unvaccinated group: patients with target diseases who had history of hospitalization in the past 3-5 years* but did not get influenza vaccine in 2008 * Will prioritize those admitted in 2007-2008

  12. Sample size • Divided to 2 subgroups • Acute MI • Other 6 diseases

  13. Sample size of 6 diseases • The other 6 diseases • Confidence interval 95% power 80% • Incidence of influenza 7.2%* • Relative risk 0.55** • Unvaccinated : vaccinated = 1.5:1 • Sample size two arms = 1160 • Adjusted for 20% loss F/U = 1400 • * Rungnirand Praditsuwan, et al., J Med Assoc Thai, 2005 • **MMWR: Prevention and Control of Influenza, 2006, p. 7 * RCT among elderly in Thailand urban community in 2005,

  14. Sample size of acute MI • Specified value • Confidence interval 95% power 80% • Incidence of death, re-infarction, re-hospitalization about 23%* (19%)** • Relative risk 0.42* (50%)** • Unvaccinated : vaccinated = 1.5:1 • Sample size two arms= 493 • Adjusted for 20% loss F/U= 600 * RCT in Argentina in 2001 (FLUVACS study) ** In the case that could not have enough ac. MI, include recurrent & chronic MI

  15. Total sample size and each subgroup • Total = 2000 • Ac MI = 600 • Other 6 chronic diseases = 1400 • COPD • DM • Asthma • CRF • Stroke • Cancer with chemotherapy

  16. Case definition • 7 target diseases: doctor diagnosis • ILI: fever with cough or sore throat in the absence of a known cause other than influenza • Confirmed influenza: PCR from throat swab or 4 fold rising of HItiter

  17. Data collection • Variables • Tool • Methods

  18. Variables (1) • Exposure: Influenza vaccine, from document and interview • Outcome data • Influenza incidence • Hospitalization from all medical conditions • Death from all cause

  19. Variables (2) • Potential confounders: Influenza • Number of household member • Number of children in household • Previous influenza vaccination (self & household member) • Immunocompromised host (HIV or steroid)

  20. Variables (3) • Potential confounders: all 7 diseases • Demographic data: age, gender, address, socioeconomic status (wealth index) • Severity of each disease* • Co-morbidity: History of the other chronic diseases such as hypertension, rheumatologic disease (use CCI**) • History of smoking (including in family), alcoholic, drug addicted * See next slide ** Charlson Comorbidity Index

  21. Severity of target diseases • COPD: FEV1 percent predicted • Acute MI: New York heart classification • Asthma: GINA score • Stroke: functional status (ADL) • DM: with or without complication • CRF: creatinine, creatinine clearance • Cancer: type and stage of the disease

  22. Variables (4) • Potential confounders: Acute MI • Hyperlipidemia • Physical inactivity • Family history of CAD • Cardiac medication & other important medication (antihypertention, lipid lowering, ASA, multivitamin (B6, folic,) ,NSAID

  23. Variables (5) • Potential confounders: COPD • Severity of COPD (FEV1) • Steroid used (systemic, inhale) • Long acting-inhale β2 agonist

  24. Data collection tool • Data collection form • Structured questionnaire to interview participants at enrollment and during F/U • Data abstraction form to review medical records of the participants • Basic laboratory at enrollment • COPD: FEV1 if not measure in previous 1 year

  25. Laboratory confirm of influenza • At enrollment:collect serum to see the baseline immunity level before infection (should be at least 1 months after vaccination) • During follow up • Indicator: All cases with ILI or suspected influenza complications (exacerbation of the chronic diseases, and pneumonia) • Test • If can collect specimen within 7 days after onset of ILI: throat swab for RT-PCR • If longer than 7 days: pair serum for HI

  26. Data collection methods • Enrollment • Place: at health center • Period: 1-2 months • F/U of participants • Telephone every 2 weeks • If loss F/U > 4 weeks, research assistant will visit their house, will exclude if can not contact for > 6 weeks

  27. Data entry & analysis • Internet fax to data management team • Validate at central level by data management team (Trop. Med.) • X2 and t-test to compare groups of discrete and continuous variables • Cox proportional hazard models will use for calculation of hazard ratios and 95%CI

  28. Budget estimation ~ 10 million baht

  29. ภาพรวมของสถานการณ์และข้อจำกัดของการศึกษาภาพรวมของสถานการณ์และข้อจำกัดของการศึกษา • การศึกษานี้แยกออกจากกระบวนการในการให้วัคซีนในผู้สูงอายุ ผู้ศึกษาไม่ได้มีส่วนในการกำหนดว่าจะฉีดหรือไม่ฉีดวัคซีนในประชากรกลุ่มไหน • เนื่องจากการให้วัคซีน ต้องเป็นสายพันธ์ที่เป็นปัจจุบันของปี 2551 จึงไม่สามารถดำเนินการได้ก่อนเดือนมิถุนายน • การคัดกรองอาสาสมัครเพื่อเข้าร่วมการศึกษา ต้องทำให้เร็วที่สุดเพื่อให้ทันกับฤดูการระบาดของไข้หวัดใหญ่ในหน้าฝน

  30. ปัญหาที่พบในขณะเตรียมงาน (1) • การดึงฐานข้อมูลเพื่อคาดประมาณจำนวนประชากรเป้าหมาย • คาดจำนวนประชากรเป้าหมายคลาดเคลื่อน ทั้งในส่วนของการดำเนินการฉีดวัคซีน และในส่วนที่เป็นเป้าหมายของการศึกษา • การหาพื้นที่ศึกษาและทีมงานในพื้นที่ • การติดต่อพื้นที่ศึกษา 2 แห่ง ไม่ได้ใช้คนเดียวกัน ทำให้มีความเข้าคลาดเคลื่อนกันในเรื่องการบริหารจัดการโครงการ • การหาทีมงานที่เป็นผู้ประสานงานที่สามารถทำงานแบบเต็มเวลาค่อนข้างจะหายาก โดยเฉพาะในสถานการณ์ที่มีเวลาเตรียมการน้อย

  31. ปัญหาที่พบในขณะเตรียมงาน (2) • การเตรียมงานในสถานการณ์ที่มีเวลาน้อย แต่มีหลายหัวข้อในชุดการเก็บข้อมูลเดียวกัน • ติดต่อพื้นที่ทั้งๆที่โครงร่างการวิจัยยังไม่นิ่ง ทำให้มีความลำบากในการหาพื้นที่ศึกษา • มีการตั้งเงินเดือนของทีมงานในพื้นที่ในบางตำแหน่งสูงเกินความจำเป็น • การสำรองเงินในการเก็บข้อมูล และการเก็บหลักฐานการใช้จ่าย • ไม่ได้ลงรายละเอียดในบางหัวข้อ รวมถึงปัญหาเรื่องเวลาไม่พอในการทำ pilot study

  32. ปัญหาที่พบในขณะเตรียมงาน (3) • ปัญหาของการให้วัคซีน • ประชากรเป้าหมายในแต่ละจังหวัดน้อยกว่าที่ตั้งไว้ และเสียชีวิตไปเป็นจำนวนมาก (ประมาณ 30-40%) • แพทย์หลายส่วนไม่เห็นต้วย/ ไม่แน่ใจในความปลอดภัยของวัคซีน • ไม่มีการประชาสัมพันธ์ในวงกว้าง • ไม่มีผู้นำมารับวัคซีน โดยเฉพาะในผู้ที่เดินไม่สะดวก (ทำให้ต้องตัดการศึกษาย่อยที่ต้องการดูผลของวัคซีนในกลุ่มคนไข้โรคหัวใจ รวมถึงขยายกลุ่ม ประชากรที่ศึกษาให้ครอบคลุมกลุ่มผู้ป่วยนอก และอายุ 60-64 ปี)

  33. ปัญหาที่พบในขณะเตรียมงาน (4) • การเก็บข้อมูลช่วงคัดกรองตรงกับฤดูทำนา • ประชาชนไม่มีเวลามาเข้าร่วมกระบวนการคัดกรอง • การให้ค่าตอบแทนในการให้ความร่วมมือมาเข้าร่วมการศึกษาต้องใช้อัตราที่สูงพอที่จะใกล้เคียงกับการขาดรายได้จากการทำนา รวมทั้งผู้ที่มารับฟังการอธิบายโครงการแต่ขอไม่เข้าร่วม

  34. ปัญหาในช่วงที่ดำเนินการเก็บข้อมูลปัญหาในช่วงที่ดำเนินการเก็บข้อมูล • การทำงานแบบ multi-center • ผู้รับผิดชอบในการเก็บข้อมูลของแต่ละพื้นที่ตัดสินใจปรับเปลี่ยนการทำงานบางส่วนโดยไม่แจ้งให้รู้ทั่วกัน • การเก็บตัวอย่างส่งตรวจให้ได้ครบถ้วนและมีประสิทธิภาพ ในกลุ่มผู้สูงอายุที่มีโรคประจำตัวซึ่งมักไม่สะดวกในการมาโรงพยาบาลด้วยตัวเอง • ในพื้นที่ศึกษาที่มีผู้ประสานงานแบบเต็มเวลา ผู้ประสานงานไปใช้เวลาส่วนใหญ่ในการออกเก็บตัวอย่างส่งตรวจ • ในพื้นที่ศึกษาที่มีผู้ประสานงานแบบไม่เต็มเวลา อัตราการเก็บ throat swab ค่อนข้างน้อย (รวมทั้งปัญหาเรื่องการไม่รู้ข้อมูลการป่วยที่ทันเวลา)

  35. ปัญหาในช่วงที่ดำเนินการเก็บข้อมูลปัญหาในช่วงที่ดำเนินการเก็บข้อมูล • ปัญหาของฐานข้อมูลและCCI • ฐานข้อมูลในคอมพิวเตอร์มีข้อมูลโรคไม่ครบถ้วน ต้องมีการดึง OPD card เพื่อเก็บข้อมูลเพิ่มเติม • CCI มีความไวต่อความครบถ้วน และถูกต้องของฐานข้อมูลพอสมควร> • Datafax และ scanner

  36. ผลการศึกษาเบื้องต้นข้อมูลทั่วไปผลการศึกษาเบื้องต้นข้อมูลทั่วไป

  37. ความรุนแรงของการป่วย แยกตามพื้นที่ศึกษา * เคยนอนโรงพยาบาลในช่วงปี 2550-2551

  38. ผลลัพธ์ที่เป็นเป้าหมายของการศึกษา (ILI) * พิษณุโลกทำ throat swab 92 ราย (64.8%) พบเชื้อไข้หวัดใหญ่ 13 ราย อุดรธานีทำ throat swab 16 ราย (66.7%) พบเชื้อไข้หวัดใหญ่ 2 ราย

  39. ผลลัพธ์ที่เป็นเป้าหมายของการศึกษา (การนอนโรงพยาบาลเนื่องจาก 7 กลุ่มโรค)

  40. การถอนตัวออกจากการศึกษา และการเสียชีวิต

  41. สิ่งที่คิดว่าจะทำถ้าต้องทำการศึกษาครั้งหน้า (1) • ในกรณีที่มีเวลาเตรียมงานน้อย และอยู่ในสถานการณ์ที่มีความไม่แน่นอนสูง เช่น ยังไม่รู้จำนวนที่แท้จริงของกลุ่มเป้าหมาย รวมทั้งไม่ทราบสถานการณ์การมารับวัคซีน • วางแผนโดยสมมุติสถานการณ์ที่เลวร้ายที่สุดที่อาจจะเกิดขึ้นได้ (Worst case scenario) เช่น ในการคำนวณขนาดตัวอย่าง ให้ใช้อัตราส่วนระหว่างกลุ่มได้รับและไม่ได้รับวัคซีนเป็น 1:4-1:5 • เตรียมแผนสำรอง ร่วมกับประเมินสถานการณ์อย่างใกล้ชิด เช่น การปรับแผนโดยการขยายให้ครอบคลุมกลุ่มผู้ป่วยนอก หรือการจัดทีมเพื่อออกให้วัคซีนตามสถานีอนามัย

  42. สิ่งที่คิดว่าจะทำถ้าต้องทำการศึกษาครั้งหน้า (2) • ปัญหาของงานที่ซับซ้อน และมีเวลาเตรียมงานน้อย ร่วมกับเป็นงานที่ไม่ถนัดมากนัก • ถ้าเป็นไปได้ หลีกเลี่ยงการรับงานที่มีเวลาเตรียมตัวน้อย • ถ้าจำเป็นต้องทำ พยายามลดความซับซ้อนของงาน อย่าให้มีงานฝากมากนัก เพื่อสามารถใช้เวลาเตรียมงานในแต่ละส่วนได้ดีขึ้น • หาความช่วยเหลือจากผู้เชี่ยวชาญ เช่น จัดประชุมการปรึกษาหารือแพทย์เฉพาะทางของโรคนั้นๆ การจ้างมืออาชีพในการบริหารจัดการข้อมูล

  43. สิ่งที่คิดว่าจะทำถ้าต้องทำการศึกษาครั้งหน้า (3) • การศึกษาในประชากรสูงอายุมีความซับซ้อนกว่าประชากรวัยอื่นๆ เนื่องจากมีโรคประจำตัวหลายอย่าง รวมทั้งมีผลของยาหลายชนิด • ต้องใช้เวลาในการเตรียมความรู้ และการดำเนินการมากกว่าปกติ • ให้ความสำคัญกับการเก็บข้อมูลโรคร่วม (co-morbidity) ในการควบคุมตัวแปรกวน โดยใช้ co-morbidity index • ควรหลีกเลี่ยงสถานการณ์ที่มีกลุ่มเป้าหมายหลายโรคร่วมกัน

  44. สิ่งที่คิดว่าจะทำถ้าต้องทำการศึกษาครั้งหน้า (4) • การเก็บข้อมูลในหน้าฝน ซึ่งเป็นฤดูทำนา • เตรียมงบประมาณเพิ่มกว่าปกติ • หาทางเลือกที่ไม่เสียเวลาของกลุ่มเป้าหมายมากนัก • การเก็บตัวอย่างแบบไปข้างหน้าในกลุ่มเป้าหมายที่เดินทางด้วยตัวเองค่อนข้างลำบาก เช่น ผู้สูงอายุที่มีโรคเรื้อรัง • เตรียมการสำหรับหาคนที่สามารถทำงานแบบเต็มเวลา แยกต่างหากจากผู้ประสานงาน (งบประมาณ การหาคนทำงานที่เหมาะสม) • ถ้าเป็นไปได้ เลือกจังหวัดที่เป็นที่ตั้งของเครือข่ายของกรมเดียวกัน เช่น สคร. สามารถขอความร่วมมือได้ในหลายส่วน • เตรียมงบประมาณให้เพียงพอสำหรับค่าเช่ารถในพื้นที่ และค่าน้ำมัน

  45. ขอบคุณค่ะ

More Related