1 / 49

ฝ่ายการพยาบาล โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

(ร่าง). เตรียม Surveillance Survey วันศุกร์ที่ 20 สิงหาคม 2553. ฝ่ายการพยาบาล โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. การจัดการสารสนเทศและความรู้. ตอนที่ IV. ตอนที่ I. การมุ่งเน้น พนักงาน. การวางแผน กลยุทธ์. ด้านคลินิก ด้านผู้ป่วยและลูกค้า ด้านการเงิน

Télécharger la présentation

ฝ่ายการพยาบาล โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. (ร่าง) เตรียม Surveillance Survey วันศุกร์ที่ 20 สิงหาคม 2553 ฝ่ายการพยาบาล โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

  2. การจัดการสารสนเทศและความรู้การจัดการสารสนเทศและความรู้ ตอนที่ IV ตอนที่ I การมุ่งเน้น พนักงาน การวางแผน กลยุทธ์ ด้านคลินิก ด้านผู้ป่วยและลูกค้า ด้านการเงิน ด้านพนักงานและระบบงาน ด้านประสิทธิผลองค์กร ด้านการนำและสังคม ด้านสร้างเสริมสุขภาพ การนำ ผลลัพธ์ การมุ่งเน้นผู้ป่วย และสิทธิผู้ป่วย การจัดการ กระบวนการ MBNQA/TQA Model ตอนที่ II ตอนที่ III ระบบงานสำคัญของ รพ. โครงสร้างมาตรฐาน HA/HPH 2549 กระบวนการดูแลผู้ป่วย ความเสี่ยง ความปลอดภัย คุณภาพ การกำกับดูแลวิชาชีพ โครงสร้างภาพและสิ่งแวดล้อม การป้องกันการติดเชื้อ ระบบเวชระเบียน ระบบยา ห้องปฏิบัติการทางการแพทย์ การทำงานกับชุมชน กระบวนการดูแลผู้ป่วย Entry Patient Assessment Planning (Care & Discharge) Care Delivery Health Education Patient & Family Empowerment Continuity of Care

  3. สิ่งที่ได้ทำมาแล้วและต่อยอดสิ่งที่ได้ทำมาแล้วและต่อยอด Safety PCT IT รอต้นไม้คุณภาพต้นใหม่ที่กำลังจะdesign ENV Strategic Management IC TQC KM R2R/Mini research HRM SPA Palliative care Humanized care Ethic Clinical tracer Trigger tool Proxy disease C3THER Lean-seamless Health promotion Service profile RM-QA-CQI 3C-3P PDCA กิจกรรมทบทวน สุขลักษณะ สร้างนิสัย สะดวก สะอาด สะสาง Plan Do Check Act วางแผน ปฏิบัติ ตรวจสอบ แก้ไข

  4. ปี 2553 สรพ.เน้นการพัฒนาที่ยืดหยุ่นและยั่งยืน กิจกรรมหลักของการพัฒนาสู่ความยั่งยืน Sustainable Healthcare Organization (Quality, Safety, Efficiency, Moral) Wisdom(การพัฒนาบนฐานปัญญาความรู้) Spirituality Management System • 3C - PDSA • Health promotion • Humanized Healthcare • Living Organization • การเยียวยาด้วยเรื่องเล่า(Narrative medicine) • จิตปัญญาศึกษา (เน้นการพัฒนาด้านใน ลดอคติ) • สุนทรียภาพ (dialog) • EBP • KM • R2R/ Mini-research • Lean-seamless • การบริหารจัดการโดยใช้แนวคิดhuman factor engineering • Review • Monitoring • Scoring • SPA / Gap analysis • Tracer( การตามรอย) • Self inquiry(การสืบค้นด้วยตนเอง)

  5. การเตรียมความพร้อมสำหรับ Survey หอผู้ป่วย องค์กรพยาบาล ทีม PCT ทบทวน service profile กิจกรรมทบทวน/ร่วมกับ PCT ติดตามการพัฒนาคุณภาพของหน่วยงาน - Unit optimization - Patient safety - Clinical population - Standard implementation - Self assessment - Strategic management risk profile, risk management ระบบหลัก/ระบบที่สำคัญ - ความเสี่ยง ความปลอดภัย คุณภาพ - การกำกับดูแลวิชาชีพ - โครงสร้างภาพและสิ่งแวดล้อม - การป้องกันการติดเชื้อ - ระบบเวชระเบียน - ระบบยา - ห้องปฏิบัติการทางการแพทย์ - การทำงานกับชุมชน - กระบวนการดูแลผู้ป่วย กระบวนการดูแลผู้ป่วย - Entry - Patient Assessment - Planning (Care & Discharge) - Care Delivery - Health Education - Patient & Family Empowerment - Continuity of Care

  6. ฝ่ายการพยาบาล/องค์กรพยาบาลฝ่ายการพยาบาล/องค์กรพยาบาล ทำอะไรบ้าง?

  7. พัฒนาต่อเนื่องและต่อยอดพัฒนาต่อเนื่องและต่อยอด • ข้อเสนอแนะของ ส.ร.พ. (Surveillance ปี 2552) • พัฒนาตามเข็มมุ่งของ คณะฯ และโรงพยาบาล • พัฒนาตามการขยาย scopeการให้การดูแลรักษาทางการแพทย์ • พัฒนาสู่ความเป็นเลิศทางการพยาบาล • พัฒนาและแก้ปัญหาตามอุบัติการณ์และความเสี่ยงที่เกิดขึ้น • ติดตามข้อมูลตัวชี้วัด/ผลงานหลัก/ตามแผนกลยุทธ์ ของหอผู้ป่วย/งาน/ฝ่าย

  8. ด้านการบริหาร(การนำองค์กร และกลยุทธ์) 1. ส่งเสริมการปฏิบัติด้านจริยธรรมและจรรยาวิชาชีพ ของบุคลากร 1.1 รณรงค์และให้ความรู้เรื่องจริยธรรมและจรรยาวิชาชีพ 1.2 คัดเลือกคนต้นแบบด้าน “บุคลิกดี-วจีไพเราะ” 1.3 Mini-research สิทธิของผู้ป่วย 2. ปรับปรุงเรื่องการเข้าถึงข้อมูลในระบบคอมพิวเตอร์ 2.1 จัดให้บุคลากรเข้าอบรมเรื่องกฎหมายกับระบบ IT 2.2 จัดให้มีการสื่อสาร การเรียนรู้ ที่เข้าถึงได้ง่ายผ่านระบบ Intranet ของฝ่ายการพยาบาล เช่น โปรแกรมโต๊ะสื่อสาร, แนวทางปฏิบัติที่ได้จาก CoP, ข้อมูลตัวชี้วัด ฯลฯ 3. ผลการปรับปรุงที่เป็นผลจากการทำ leadership walkround 3.1 แก้ไขปัญหาเครื่องมืออุปกรณ์ไม่พอเพียง/ชำรุด, สิ่งแวดล้อมแออัด 3.2 สื่อสารนโยบายต่างๆที่กำหนดจากฝ่ายฯ สนับสนุนการพัฒนาคุณภาพต่อยอด เน้นความปลอดภัย จูงใจให้สร้างผลงานที่ดีด้วยเรื่องเล่า

  9. 4. พัฒนาบุคลากรให้มีความรู้ความสามารถและมีขวัญกำลังใจในการทำงาน 4.1 ปรับปรุงแผนพัฒนาบุคลากรครอบคลุมถึงระดับหอผู้ป่วย และจัดสรรงบประมาณอย่างเพียงพอ 4.2 กำหนดนโยบายและวิธีประเมิน competencies รวมทั้งใช้ประโยชน์จากการประเมิน - Core Competency - Functional and Specific Competency 4.3 ดำเนินการเรื่องTalent และแผนพัฒนา talent “ต่อ” 4.4 จัดเตรียมบุคลากรเตรียมเข้าสู่ตำแหน่ง (Succession plan) และประเมินเข้า สู่ตำแหน่ง 4.5 จัดทำ career pathway และ ดำเนินการตามแผนปฏิบัติ 4.6 จัดทำแผนนิเทศสู่ความเป็นเลิศทางการพยาบาล 4.7 สนับสนุนช่วยเหลือการทำผลงานเพื่อเป็นพยาบาลชำนาญการ(specialist) 4.8 สนับสนุนช่วยเหลือการเข้าสู่พยาบาลผู้เชี่ยวชาญทางคลินิก (APN) และ การทำบทบาทหน้าที่ของ APN 4.9 สร้างแรงจูงใจในการคงอยู่และเพิ่มค่าตอบแทนต่างๆ(การศึกษาต่อ/อบรม/การได้บรรจุพงม.ประจำ) 4.10 ประเมินความพึงพอใจของบุคลากรประจำปี 2552 4.11 วิจัยความผูกพันของบุคลากร ประจำปี 2552

  10. ด้านการปฏิบัติ พัฒนาและปรับปรุงตามโปรแกรมความเสี่ยงของ ร.พ. Specific อุบัติการณ์/ความเสี่ยงทางคลินิค IC / การกำจัดของเสีย General โปรแกรม ความเสี่ยง อัคคีภัย ข้อร้องเรียน สิ่งแวดล้อมความปลอดภัย อาชีวอนามัย

  11. ความเสี่ยง/อุบัติการณ์ความเสี่ยง/อุบัติการณ์ 1. ดำเนินการตามนโยบาย Patient safety goals – ICT ของโรงพยาบาล และSIMPLE ของสรพ. 2. ค้นหาความเสี่ยงเชิงรุก 3. จัดทำบัญชีความเสี่ยง ระดับงานการพยาบาล และระดับฝ่ายฯ/องค์กรพยาบาล 4. จัดลำดับความสำคัญความเสี่ยงและวิเคราะห์แนวโน้ม 5. บริหารจัดการความเสี่ยงและอุบัติการณ์ที่เกิดขึ้น 6. สร้างวัฒนธรรมความปลอดภัยในการทำงาน(สนับสนุนให้มีระบบรายงาน, สนับสนุนให้ส่งเวรในประเด็นความปลอดภัย, สนับสนุนให้ทำ nursing alarm sign, มี RRT,SBAR, leadership walkround…)

  12. IC 1. เฝ้าระวังและลดอุบัติการณ์การติดเชื้อที่เป็นปัญหา ได้แก่ VAP, CAUTI, CR_BSI, SSI, HAIต่อเนื่อง 2. ส่งเสริมและสนับสนุนการล้างมือ 3. คัดกรองและเฝ้าระวังการระบาดอุบัติใหม่/อุบัติซ้ำH1N1, BirdFlu. 4. จัดการเรื่องโรคติดต่อที่เป็นปัญหา คือ วัณโรค 5. ปรับปรุงอุปกรณ์และเครื่องมือปราศจากเชื้อ (ปรับปรุงมาตรฐานการใส่ internal indicators) 6. ควบคุมดูแลสิ่งแวดล้อมเพื่อลดการแพร่กระจายเชื้อ 7. ป้องกันและลดความเสี่ยงของบุคลากรในการสัมผัสโรค

  13. ระบบการบริหารยา 1. เฝ้าระวังและลดอัตรา Med. Error 1.1 ใช้กระบวนการ KM, CoP 1.2 ใช้ R to R 2. ประเมินการใช้ระบบ MAR • พัฒนาระบบบริหารยาแบบ electronic- medication • ดำเนินการตามนโยบาย “ต่อ” - HAD - Drug reconcilation - การแพ้ยาซ้ำ

  14. การบริหารข้อร้องเรียนการบริหารข้อร้องเรียน 1. ตอบสนองและแก้ไขปัญหาตามข้อร้องเรียน (ระดับหอผู้ป่วย/งาน/ฝ่าย) 2. ประเมินความพึงพอใจของผู้ป่วยปี 2552 3. ทำ Mini-research สิทธิผู้ป่วยปี 2552 4. รณรงค์-ประเมินจริยธรรมและพฤติกรรมของบุคลากร(ปี 2552-2553) 5. Tracer ค้นหาละเมิดด้านสิทธิผู้ป่วยทุกขั้นตอนการดูแลผู้ป่วย (ตั้งแต่ EntryDischarge) 6. สำรวจปัญหาความต้องการของผู้ป่วยระยะสุดท้าย(กรรมการpalliative care) 7. สำรวจปัญหาความต้องการของผู้ป่วยที่ต้องแยก ผู้ป่วยถูกผูกยึด(กรรมการ QA)

  15. การรายงานตอบกลับของงานการพยาบาลการรายงานตอบกลับของงานการพยาบาล

  16. อัตราการติดเชื้อฯ

  17. Hospital acquired Infections

  18. อัตราความชุกของการติดเชื้อในโรงพยาบาล 2546 – 2552 (Point prevalence)

  19. KPI ของ University hospital network

  20. การปฏิบัติตามมาตรฐานการใส่เครื่องป้องกัน ขณะปฏิบัติงานและการล้างมือ ในปี 2550-2552 มีการรณรงค์การใช้แอลกอฮอล์ rub มากขึ้นทุกหอผู้ป่วย

  21. http://www.med.cmu.ac.th/etc/icc/main/index.php

  22. การจัดการกับH1N1 pandemic

  23. ใบสั่งยา เพื่อบอกข้อบ่งชี้

  24. โปสเตอร์และสติกเกอร์ส่งเสริมการล้างมือโปสเตอร์และสติกเกอร์ส่งเสริมการล้างมือ

  25. อุบัติการณ์ต่างๆ

  26. ผลลัพธ์ตามตัวชี้วัด Suandok’s Patient Safety Goal :ICT ปี 2552

  27. Health promotion (ก) บูรณาการHealth promotionในผู้ป่วยและญาติ 1. ดำเนินการ Pain management ต่อเนื่อง 2. ดำเนินการ Palliative care ต่อเนื่อง 3. ดำเนินโครงการ Empowerment & Motivation ในผู้ป่วยกลุ่มโรคต่างๆ 4. พัฒนาHealth education & Health literacy เพื่อการ รักษาสุขภาพของตนให้ดีอยู่เสมอของผู้ป่วยและครอบครัว ให้เกิดความแตกฉานด้านสุขภาพ และมีพฤติกรรมสุขภาพที่ดีและเป็นแบบอย่างต่อไปในชุมชน เช่น กลุ่มผู้ป่วยมะเร็งเต้านม ผู้ป่วย stroke ผู้ป่วโรคหัวใจ และผู้ป่วยมะเร็งระบบอื่นๆ เป็นต้น 5. มีกิจกรรม HP ร่วมกับ PCT เช่น คลินิกนมแม่ ดนตรีบำบัด เด็กautistic มะเร็งเต้านม มะเร็งกล่องเสียง ….

  28. Health promotion (ข) Health promotionในบุคลากร 1. คัดกรองและประเมินการเจ็บป่วยจากการทำงาน 2. ส่งเสริมการดูแลสุขภาพและการป้องกันโรคในบุคลากร 3. จัดการความเสี่ยงต่อสุขภาพหรือการปฏิบัติที่ expose ต่อความเสี่ยง เช่น เคมีบำบัด แก๊สดมยาสลบ เข็มฉีดยา/ของมีคมบาด การดูแลผู้ป่วยโรคติดต่อ เป็นต้น 4. ประเมินผลการดูแลสุขภาพของบุคลากรทั้งด้านพฤติกรรมสุขภาพ และผลลัพธ์สุขภาพ

  29. พัฒนามาตรฐานวิชาชีพ 1.พัฒนาและปรับปรุงระบบบันทึกทางการพยาบาล 1.1 SIPA 1.2 ........... 1.3 พัฒนาระบบ ICNP เพื่อรองรับระบบบันทึกที่ทันสมัยและเป็นมาตรฐานสากล 2. พัฒนาและปรับปรุงระบบการบริหารยา(Drug Administration) 2.1 นำร่องระบบบริหารยาแบบ electronic- medication 3. พัฒนาขีดความสามารถและมาตรฐานในการปฏิบัติการพยาบาลเพื่อสอดคล้องกับการ พัฒนา Excellence Centers ทางการดูแลรักษาผู้ป่วย 4.พัฒนาระบบการนิเทศเพื่อสู่ความเป็นเลิศฯ

  30. สุ่มตรวจสอบการปฏิบัติในเรื่องต่างๆ โดยการทำ mini-research • การวางแผนจำหน่าย • I-Identification ตามรอยของ ICT/SIMPLE • การเปลี่ยน Set IV, respirator circuits • การส่งเครื่องมือ calibrate & validate • การ Key order ให้แพทย์

  31. สรุปผลการดำเนินการของฝ่ายการพยาบาลสรุปผลการดำเนินการของฝ่ายการพยาบาล • ผลลัพธ์ด้านการดูแลผู้ป่วย(IC,pressure sore, falling, Med. Error, pain mgnt., Pt. satisfaction, ประสิทธิภาพการวางแผนจำหน่าย) • ผลลัพธ์ด้านการบริหาร (HR,engagement, staff satisfaction, การลงทุนเพื่อการพัฒนา, benchmarking …..) • ผลลัพธ์ด้านสร้างเสริมสุขภาพและช่วยเหลือชุมชน • ผลสำเร็จตามแผนกลยุทธ์

  32. (ตัวอย่าง) หอผู้ป่วย/หน่วย เตรียมอะไรบ้าง? 1. ปรับปรุง/เพิ่มเติม service profile 2. อย่าลืมเรื่องเล่าที่ดีๆหรือสิ่งที่ภาคภูมิใจในหน่วยงาน/ทีมของเรา 3. กิจกรรมหลักของการพัฒนาสู่ความยั่งยืน “ต่อยอด” 4. ระบบบริหารความเสี่ยง 5. กิจกรรมทบทวน 6. แผนพัฒนาบุคลากร ทั้งของงานและหอผู้ป่วย/หน่วย

  33. กิจกรรมของการพัฒนาสู่ความยั่งยืนกิจกรรมของการพัฒนาสู่ความยั่งยืน Sustainable Healthcare Organization (Quality, Safety, Efficiency, Moral) Wisdom(การพัฒนาบนฐานปัญญาความรู้) Spirituality Management System • 3C - PDSA • Health promotion • Humanized Healthcare • Living Organization • การเยียวยาด้วยเรื่องเล่า(Narrative medicine) • จิตปัญญาศึกษา (เน้นการพัฒนาด้านใน ลดอคติ) • สุนทรียภาพ (dialog) • EBP • KM • R2R/ Mini-research • Lean-seamless • การบริหารจัดการโดยใช้แนวคิดhuman factor engineering • Review • Monitoring • Scoring • SPA / Gap analysis • Tracer( การตามรอย) • Self inquiry(การสืบค้นด้วยตนเอง)

  34. Quality Improvement Tract กิจกรรมร่วมกับ PCTในหน่วยงาน - Unit optimization - Patient safety - Clinical population - Standard implementation - Self assessment - Strategic management

  35. เน้นกระบวนการ • เน้นกลุ่มผู้ป่วย • เน้นผู้ป่วยเป็นศูนย์กลาง

  36. Risk matrix RCA / FMEA การทบทวน แก้ไข การจัดทำคู่มือ

  37. สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาลสถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล การทบทวนคุณภาพกับความเสี่ยงทางคลินิก การทบทวนความสมบูรณ์เวชระเบียน ประเมินผู้ป่วย Assessment จำหน่าย Discharge รับเข้า Entry วางแผน Planning ดูแลตามแผน Implementation ประเมินผล Evaluation การทบทวนขณะดูแลผู้ป่วย การทบทวนอื่นๆ C3THER Care & Risk Communication Continuity & D/C plan Team work HRD Environment & Equipment - การทบทวนคำร้องเรียนของผู้ป่วย - การทบทวนเหตุการณ์สำคัญ (เสียชีวิต ภาวะแทรกซ้อน) - การทบทวนการตรวจรักษาโดยผู้ชำนาญกว่า - การค้นหาและป้องกันความเสี่ยง - การทบทวนการใช้ความรู้ทางวิชาการ - การทบทวนศักยภาพ (การส่งต่อ การตรวจรักษา) - การป้องกันและเฝ้าระวังการติดเชื้อในโรงพยาบาล - การป้องกันและเฝ้าระวังความคลาดเคลื่อนทางยา - การทบทวนการใช้ทรัพยากร - การติดตามตัวชี้วัด การทบทวนขณะดูแลผู้ป่วย Holistic Empowerment Lifestyle Prevention 49

More Related