631 likes | 1.85k Vues
ระบบความปลอดภัยทางชีวภาพ (Biosecurity system). จัดทำ โดย สถาบันวิจัยสุขภาพสัตว์น้ำชายฝั่ง สงขลา 130/2 ถ. ติณสูลานนท์ หมู่ 8 ตำบลพะวง อำเภอเมือง จังหวัดสงขลา 90100 โทร. 0-7433-4516-18 โทรสาร 0-7433-4515 พิกัด GPS : 100.582/7.16173. เอกสาร เวอร์ชั่น 1.0 ใช้ ฟอนต์ TH SarabunPSK ในการทำ.
E N D
ระบบความปลอดภัยทางชีวภาพ (Biosecurity system) จัดทำ โดย สถาบันวิจัยสุขภาพสัตว์น้ำชายฝั่ง สงขลา 130/2 ถ. ติณสูลานนท์ หมู่ 8 ตำบลพะวง อำเภอเมือง จังหวัดสงขลา 90100 โทร. 0-7433-4516-18 โทรสาร 0-7433-4515พิกัด GPS : 100.582/7.16173 เอกสาร เวอร์ชั่น 1.0 ใช้ ฟอนต์ TH SarabunPSK ในการทำ
ระบบความปลอดภัยทางชีวภาพ (Biosecurity system) กับการเลี้ยงกุ้ง • หรือ ระบบ Bio-secure • เป็นระบบหรือมาตรการป้องกัน หรือลดโอกาส • ในการนำเชื้อโรคเข้าหรือออกจากระบบเพาะเลี้ยงกุ้ง • (โรงเพาะฟัก ฟาร์มเลี้ยงกุ้ง) • ใช้เป็นแนวทางในการป้องกันการระบาดของโรคได้ อย่างมีประสิทธิภาพ
ระบบความปลอดภัยทางชีวภาพ (Biosecurity system) กับการเลี้ยงกุ้ง • หลักการของระบบความปลอดภัยทางชีวภาพ • ประเมินหาจุดเสี่ยงที่อาจทำให้เกิดการติดเชื้อโรค และหาทางแก้ไข • กำหนดมาตรการป้องกันหรือสกัดไม่ให้เชื้อเข้าสู่ระบบฟาร์มทั้งทาง • พื้นดิน ทางน้ำ และทางอากาศ เพื่อให้ฟาร์มคงสภาวะปลอดเชื้อไว้ได้ • 3. การนำไปปฏิบัติอย่างจริงจัง และใช้ระบบป้องกันอย่างมีประสิทธิภาพ • 4. การตรวจสอบ กำกับ และดูแลระบบความปลอดภัย เช่น การสุ่มตรวจหา • เชื้ออย่างสม่ำเสมอ • 5. การแก้ไขปัญหากรณีฉุกเฉินเกิดโรคขึ้น โดยการกำจัดและสกัดการแพร่ • ของเชื้อโรคทั้งในฟาร์มและระหว่างฟาร์ม • 6. การสร้างระบบบันทึก ให้มีข้อมูลที่สามารถตรวจสอบย้อนกลับได้ และ • เพื่อทบทวนและปรับปรุงระบบให้เหมาะสมอยู่เสมอ
ระบบความปลอดภัยทางชีวภาพ (Biosecurity system) กับการเลี้ยงกุ้ง • แนวทางการปฏิบัติ • 1. สภาพทั่วไปของฟาร์ม • มีการวางผังฟาร์มเลี้ยงที่ถูกต้อง • แบ่งเขตระหว่างที่พักอาศัยและเขตพื้นที่การเลี้ยง • กำหนดเส้นทางการเดินรถและเขตห้ามเข้าที่เหมาะสม • ควรมีทางเข้าออกทางเดียว • ทางเข้าฟาร์มมีอุปกรณ์สำหรับฆ่าเชื้อยานพาหนะ • ถนนภายในฟาร์มต้องสามารถใช้งานได้ทุกฤดูกาล และ • ระบายน้ำได้ดีไม่มีน้ำท่วมขัง
ระบบความปลอดภัยทางชีวภาพ (Biosecurity system) กับการเลี้ยงกุ้ง • 2. ระบบการเลี้ยง • ระบบการเลี้ยงควรเป็นระบบปิด • มีบ่อพักน้ำ มีมาตรการป้องกันการปนเปื้อนของเชื้อโรค • และพาหะที่อาจติดมาจากแหล่งน้ำธรรมชาติ • มีการบำบัดน้ำก่อนนำเข้าบ่อเลี้ยงกุ้งและปล่อยจาก • ฟาร์มเลี้ยง
ระบบความปลอดภัยทางชีวภาพ (Biosecurity system) กับการเลี้ยงกุ้ง • 3. มาตรการป้องกันก่อนเข้าฟาร์ม • มีการควบคุมการเข้า-ออกของคน สัตว์ และ ยานพาหนะ • ที่เข้ามาในฟาร์ม • จะต้องทำความสะอาดยานพาหนะด้วยน้ำยาฆ่าเชื้อที่ • เหมาะสม ในกรณีที่ต้องนำเข้าฟาร์ม
4. มาตรการป้องกันภายในฟาร์ม • ควรใช้น้ำยาฆ่าเชื้อที่ออกฤทธิ์ได้ดีและเปลี่ยนเป็นประจำ และ • ควรล้างมือก่อนเข้าปฏิบัติงานในบ่อเลี้ยง • ทำความสะอาดและฆ่าเชื้ออุปกรณ์ที่ใช้ภายในฟาร์มทั้งก่อน • และหลังการใช้งาน • ใช้น้ำยาฆ่าเชื้อที่ออกฤทธิ์ได้ดี ได้แก่ ด่างทับทิม หรือ คลอรีน • และเปลี่ยนเป็นประจำ • ควรมีวัสดุและอุปกรณ์ประจำในแต่ละบ่อ ไม่ควรใช้ร่วมกัน • มีโรงเรือนสำหรับจัดเก็บวัสดุอุปกรณ์เป็นสัดส่วน และมีแผนการ • บำรุงรักษา
5. การจัดการเลี้ยงกุ้งทะเล • มีการเตรียมบ่อ น้ำ ดินและการจัดการตะกอนเลนก่อนการเลี้ยง กุ้งตามมาตรฐานฟาร์มเลี้ยงกุ้งของกรมประมงหรือเทียบเท่า • ลูกกุ้งทะเลที่ปล่อยลงบ่อเลี้ยง ควรผ่านการตรวจโรคที่กำหนด • โดยมีเอกสารรับรองการปลอดโรคจากห้องปฏิบัติการ
น้ำที่ใช้ในฟาร์มควรมาจากแหล่งน้ำที่สะอาดน้ำที่ใช้ในฟาร์มควรมาจากแหล่งน้ำที่สะอาด • แหล่งน้ำใช้ควรมีการตรวจคุณภาพน้ำเป็นประจำ • น้ำจืดและน้ำเค็มควรผ่านการบำบัดหรือ ฆ่าเชื้อโรคด้วย วิธีการที่เหมาะสมก่อนนำมาใช้ • ตรวจสอบคุณภาพน้ำและปริมาณเชื้อแบคทีเรียในบ่อเลี้ยง และบ่อพักน้ำ อย่างสม่ำเสมอ ตลอดระยะเวลาการเลี้ยง
6. การจัดการด้านอาหารสัตว์ และปัจจัยการผลิต • ใช้อาหารกุ้งที่ผลิตจากโรงงานที่ผ่านการรับรองหลักเกณฑ์ที่ดีในการ • ผลิตอาหารสัตว์ (GMP) จากหน่วยงานที่รับผิดชอบ • เก็บอาหารกุ้งสำเร็จรูป ในสถานที่ที่สะอาดและแห้ง และสามารถ • ป้องกันสัตว์ กันแสงแดด ฝนและไม่ชื้น ถ่ายเทความร้อนได้ดี • ใช้อาหารกุ้งที่มีคุณภาพดีที่ มีฉลากระบุถึงโภชนาการของอาหารที • ชัดเจน มีข้อความระบุวันที่ผลิตและวันหมดอายุชัดเจน • เลือกใช้ปัจจัยการผลิตที่ได้รับอนุญาตถูกต้องตามหลักวิชาการและ • ได้รับการขึ้นทะเบียนจากหน่วยงานที่รับผิดชอบ • รถขนส่งอาหารกุ้งต้องมีการทำความสะอาดก่อนและหลังการบรรทุก
7.การจัดการด้านสุขภาพกุ้ง7.การจัดการด้านสุขภาพกุ้ง • ตรวจติดตามสุขภาพกุ้งทะเลอย่างสม่ำเสมอทั้งทางอาการและทางห้องปฏิบัติการ • มีบันทึกเกี่ยวกับการใช้ยาภายในฟาร์ม การเก็บรักษา และสถานที่สำหรับเก็บรักษายา • มีแผนการควบคุมโรค และพาหะนำโรค ถ้าสงสัยว่ามีโรคเกิดขึ้นให้ระงับการเข้าเยี่ยมฟาร์มและรีบดำเนินการแก้ไขในทันที • ในกรณีที่พบกุ้งป่วยและมีการตายอย่างรวดเร็ว ต้องรีบแจ้งเจ้าหน้าที่กรมประมง หรือเจ้าหน้าที่ของรัฐที่เกี่ยวข้องที่รับผิดชอบ และส่งตัวอย่างกุ้งไปที่ห้องปฏิบัติการเพื่อตรวจวินิจฉัยโรคทางห้องปฏิบัติการ
8. การจดบันทึกข้อมูลและการจัดทำเอกสารคู่มือ - บันทึกการจัดการเลี้ยง การให้อาหาร การใช้และการเก็บรักษายา บันทึกการตรวจสุขภาพกุ้ง และบันทึกการเข้าเยี่ยมฟาร์มของ บุคคลภายนอก - มีคู่มือประจำฟาร์มที่แสดงรายละเอียดการปฏิบัติงานภายในฟาร์ม - คู่มือการจัดการความปลอดภัยทางชีวภาพของฟาร์ม โดยมีรายละเอียด ของมาตรการป้องกันโรคก่อนเข้าฟาร์มและภายในฟาร์มเลี้ยงกุ้งทะเล - จัดทำแผนการปฎิบัติการเมื่อเกิดโรค
9. การปฏิบัติด้านความปลอดภัยทางชีวภาพในภาวะฉุกเฉิน ต้องมี มาตรการสำหรับฟาร์มในภาวะฉุกเฉิน เมื่อเกิดโรค หรือสงสัยว่าเกิดโรคขึ้นภายในหรือนอกฟาร์ม ต้องมีการดำเนินการที่ดีเพื่อควบคุมและกำจัดโรคไม่ให้ แพร่กระจาย 9.1 ต้องมีแผนปฏิบัติงานที่มีประสิทธิภาพ ในการเข้าและออกจากฟาร์ม ที่เกิดโรค เช่น ห้ามบุคคลภายนอกเข้าฟาร์ม ยกเว้นกรณีที่จำเป็น และต้องได้รับอนุญาตจากผู้มีอำนาจหรือผู้ควบคุมฟาร์ม 9.2 บุคลากรที่รับผิดชอบด้านสุขภาพกุ้งต้องปฏิบัติตามวิธีปฏิบัติงาน สำหรับบุคลากรด้านสุขภาพสัตว์อย่างเคร่งครัดเมื่อเกิดโรคระบาด
มาตรการในการปฏิบัติงานในภาวะฉุกเฉิน(ต่อ) 9.3 เมื่อมีการเข้า-ออกฟาร์มจะต้องปฏิบัติตามขั้นตอนการปฏิบัติงานใน ภาวะฉุกเฉินอย่างเข้มงวด ต้องปฏบัติตามข้อกำหนดการเข้าฟาร์มกักโรค และวิธีปฏิบัติสำหรับบุคลากรด้านสุขภาพสัตว์เพื่อหลีกเลี่ยงการนำสิ่ง ปนเปื้อนออกจากฟาร์ม 9.4ยานพาหนะที่จำเป็นเท่านั้นที่อนุญาตให้ผ่านเข้า-ออกฟาร์มได้โดยล้าง ทำความสะอาดและฆ่าเชื้อรอบตัวรถและกระบะท้ายอย่างเข้มงวด 9.5 ห้ามเคลื่อนย้ายกุ้งป่วย ถ่ายเทน้ำเข้า-ออกจากฟาร์มจนกว่าจะทราบ สถานการณ์ของโรคอย่างชัดเจน 9.6 ผู้ประกอบการควรจัดทำรายชื่อบุคคลที่รับผิดชอบ หน่วยงาน เบอร์โทรศัพท์ในกรณีฉุกเฉินเมื่อมีเหตุการณ์ที่ไม่สามารถอธิบายได้
มาตรการในการปฏิบัติงานในภาวะฉุกเฉิน (ต่อ) 9.7 เมื่อได้รับการยืนยันว่ากุ้งเป็นโรคชนิดร้ายแรงต้องดำเนินการตามมาตรการความ ปลอดภัยทางชีวภาพในภาวะฉุกเฉินเพื่อหยุดการแพร่ระบาดระหว่างบ่อ และจากฟาร์ม สู่ฟาร์มอื่น และต้องดำเนินการดังนี้ 1) แจ้งเจ้าหน้าที่หรือหน่วยงานที่รับผิดชอบทันที เพื่อดำเนินการสอบสวนและ วางแผนควบคุมโรค 2) ให้ความร่วมมือในการเก็บและจัดส่งตัวอย่างเพื่อตรวจวินิจฉัย 3) ทบทวนขั้นตอนปฏิบัติงานภายในฟาร์ม 4) ระงับการเข้าฟาร์มของบุคคลภายนอกหรือบุคคลที่ไม่เกี่ยวข้องกับงานภายใน ฟาร์ม 5) เมื่อได้รับการยืนยันว่ากุ้งเป็นโรคไวรัสชนิดร้ายแรง ต้องทำลายกุ้งที่ติดเชื้อโรค ร้ายแรงและทำการฆ่าเชื้อโรคภายในบ่อ พักบ่อเพื่อกำจัดเชื้อให้หมด
ข้อแนะนำการปฎิบัติ เพิ่มเติม
เชื้อโรค • ป้องกันและกำจัดเชื้อออกจากระบบ โรคแพร่ระบาดจากฟาร์มหนึ่งไปยังอีกฟาร์มหนึ่งได้ทางใดบ้าง ลูกกุ้ง น้ำ อาหาร อุปกรณ์ เครื่องมือ รถ คน พาหะ กุ้ง หอย ปู ปลา นก ซากกุ้งป่วย ฯลฯ
ปัจจัยแวดล้อม • มีระบบการจัดการการเลี้ยงที่ดี คุณภาพน้ำ ให้อาหารพอดี การควบคุมปริมาณแบคทีเรียในระบบการเลี้ยง • มีแผนการปฏิบัติงานในกรณีเกิดการเปลี่ยนแปลงของสภาวะ • แวดล้อมการเลี้ยงฉับพลัน เช่น ฝนตกหนัก น้ำท่วม ร้อนมาก
การเตรียมบ่อและน้ำก่อนเลี้ยงกุ้งการเตรียมบ่อและน้ำก่อนเลี้ยงกุ้ง ตรวจเชื้อไวรัสในพาหะ ปู กุ้ง ตรวจวัดคุณภาพน้ำในแหล่งน้ำ ก่อนดึงน้ำเข้าบ่อพัก ความเค็ม แอมโมเนียอัลคาไลน์ พีเอช ความกระด้าง ไนไตรท์ แอมโมเนีย ปริมาณสารอินทรีย์ ปริมาณแบคทีเรีย
การเตรียมบ่อและน้ำก่อนเลี้ยงกุ้งการเตรียมบ่อและน้ำก่อนเลี้ยงกุ้ง เตรียมบ่อ (บ่อพักน้ำ บ่อเลี้ยง) สูบน้ำเข้าบ่อพักผ่านระบบกรองเพื่อป้องกันพาหะนำโรค กำจัดพาหะในบ่อพักน้ำและบ่อเลี้ยง กากชา , คอปเปอร์ซัลเฟต, ซินเทอเร็ก ฆ่าเชื้อน้ำ คลอรีน, ไอโอดีน, กลูตาราลดีไฮด์
การปล่อยกุ้งลงเลี้ยงการปล่อยกุ้งลงเลี้ยง • ตรวจสุขภาพลูกกุ้งก่อนปล่อยลงเลี้ยง สุขภาพทั่วไป รยางค์ ปรสิต แบคทีเรีย ความแข็งแรง เชื้อไวรัส • ใช้ลุกกุ้งที่ผ่านการอนุบาลที่ 37 องศาเซลเซียส 7 วัน • ลดความเสี่ยงเชื้อตัวแดงดวงขาว ปรับสภาพลูกกุ้งก่อนปล่อยลงบ่อเลี้ยง
ข้อควรปฏิบัติหากเกิดโรคข้อควรปฏิบัติหากเกิดโรค แจ้งข่าวการเกิดโรคแก่ฟาร์มใกล้เคียง เก็บตัวอย่างกุ้งส่งตรวจเพื่อหาสาเหตุที่แท้จริง • กุ้งเล็ก ควรฆ่าเชื้อน้ำและกุ้งในบ่อโดยไม่มีการถ่ายน้ำหรือ • เคลื่อนย้ายกุ้งออกนอกบ่อ • กุ้งใหญ่จับด้วยการใช้อวนลาก ไม่ปล่อยน้ำออกนอกบ่อ • จนว่าจะผ่านการฆ่าเชื้อ ฆ่าเชื้อพื้นที่ที่มีการเคลื่อนย้ายกุ้งป่วยผ่าน
มีระบบกรองน้ำผ่าน 150-250 ไมครอน เพื่อกำจัดพาหะนำโรค
ช่องทางการติดต่อของเชื้อไวรัส: อุปกรณ์และเครื่องมือ การป้องกัน มีระบบการฆ่าเชื้อวัสดุอุปกรณ์ (สวิง แห รถ คน ฯลฯ) • คลอรีน 30-50 พีพีเอ็ม นาน 24 ชั่วโมง • ไอโอดีน 200-250 พีพีเอ็ม นาน 24 ชั่วโมง