1 / 76

ระบอบการเมืองและสังคมไทย

ระบอบการเมืองและสังคมไทย. ศ.ดร.สมบัติ ธำรงธัญวงศ์. I. ปรัชญาการเมือง. 1.1 ความคิดทางการเมือง. 1) ความหมายของการเมือง. (1) การจัดการอำนาจเพื่อประโยชน์สุขของประชาชน. (2) เป้าหมายของการเมืองที่พึงประสงค์ คือ “ความดีงาม”. (3) นักการเมืองไม่ดีทำให้ประชาชนเห็นว่าการเมือง

hang
Télécharger la présentation

ระบอบการเมืองและสังคมไทย

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ระบอบการเมืองและสังคมไทยระบอบการเมืองและสังคมไทย ศ.ดร.สมบัติ ธำรงธัญวงศ์

  2. I. ปรัชญาการเมือง 1.1 ความคิดทางการเมือง 1) ความหมายของการเมือง (1) การจัดการอำนาจเพื่อประโยชน์สุขของประชาชน (2) เป้าหมายของการเมืองที่พึงประสงค์ คือ “ความดีงาม” (3) นักการเมืองไม่ดีทำให้ประชาชนเห็นว่าการเมือง เป็นสิ่งเลวร้าย

  3. (4) นักการเมืองที่ดีย่อมนำการเมืองไปสู่ความดีงาม (5) การเมืองและนักการเมืองเป็นคนละส่วนกัน 2) การเมืองกับวิถีประชา (1) ความสัมพันธ์ระหว่างการเมืองกับวิถีประชา: ความยากจนกับระบอบการเมือง

  4. รายได้เฉลี่ยต่อคนต่อปีของคนไทยในช่วงแผนต่างๆ 1. สิ้นแผน 4 รายได้เฉลี่ยต่อคนต่อปีประมาณ 16,000 บาทเศษ 2. สิ้นแผน 5 รายได้เฉลี่ยต่อคนต่อปีประมาณ 20,000 บาทเศษ 3. สิ้นแผน 6 รายได้เฉลี่ยต่อคนต่อปีประมาณ 41,000 บาทเศษ • สิ้นแผน 7 รายได้เฉลี่ยต่อคนต่อปีประมาณ 76,600 บาทเศษ • สิ้นแผน 8 รายได้เฉลี่ยต่อคนต่อปีประมาณ 81,600 บาทเศษ • สิ้นแผน 9 รายได้เฉลี่ยต่อคนต่อปีประมาณ 119,825บาทเศษ ข้อสังเกต : รายได้เฉลี่ยต่อคนต่อปีในแต่ละแผนฯ เพิ่มขึ้นอย่างน่าสนใจ

  5. รายได้เฉลี่ยต่อคนต่อปีของไทยเมื่อสิ้นแผน 8 พ.ศ. 2544 1. รายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ 81,601บาท 2. กรุงเทพฯและปริมณฑล 210,438บาท 3. ภาคตะวันออก 168,408 บาท 4. ภาคกลาง 119,220 บาท 5. ภาคตะวันตก 62,498 บาท 6. ภาคใต้ 56,019 บาท 7. ภาคเหนือ 39,643 บาท 8. ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 25,173 บาท

  6. รายได้เฉลี่ยต่อคนต่อปีของไทยเมื่อสิ้นแผน 9 พ.ศ. 2549 1. รายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ 119,825 บาท 2. กรุงเทพฯ และปริมณฑล 295,500 บาท 3. ภาคตะวันออก 285,068 บาท 4. ภาคกลาง 180,946 บาท 5. ภาคตะวันตก 89,449 บาท 6. ภาคใต้ 87,124 บาท 7. ภาคเหนือ 58,969 บาท 8. ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 35,877 บาท

  7. โครงสร้างฐานะประชากรไทยจำแนกตามแผนพัฒนาโครงสร้างฐานะประชากรไทยจำแนกตามแผนพัฒนา เศรษฐกิจและสังคม 20% (ประชากร) 20% (ประชากร) 48% (ความมั่งคั่ง) 56.4% (ความมั่งคั่ง) 20% (ประชากร) 20% (ประชากร) 6% (ความมั่งคั่ง) 4.5% (ความมั่งคั่ง) เมื่อสิ้นแผน 5 (2529) เมื่อสิ้นแผน 6 (2534)

  8. 20% (ประชากร) 77%(ความมั่งคั่ง) 59.6% (ความมั่งคั่ง) เมือง 23% (ความมั่งคั่ง) ชนบท 20%(ประชากร) 3.8% (ความมั่งคั่ง) เมื่อสิ้นแผน 7 (2539) เมื่อสิ้นแผน 7 (2539)

  9. อัตราผู้ที่ทำงานตามระดับการศึกษาที่สำเร็จอัตราผู้ที่ทำงานตามระดับการศึกษาที่สำเร็จ รวม ระดับการศึกษาที่สำเร็จ ร้อยละ รวม 1. ไม่มีการศึกษา 2. ต่ำกว่าประถมศึกษา 3. ประถมศึกษา 4. มัธยมศึกษาตอนต้น 5. มัธยมศึกษาตอนปลาย 6. อุดมศึกษา 7. การศึกษาอื่น ๆ 8. ไม่ทราบ 100.0 3.2 30.8 22.1 15.3 12.8 15.4 0.1 0.2 หมายเหตุ 1. การศึกษาไม่เกินระดับประถมศึกษา = 56.1% 2. การศึกษาไม่เกินระดับมัธยมศึกษาตอนต้น = 71.4%

  10. อัตราค่าจ้างแรงงานขั้นต่ำ 2 พฤษภาคม พ.ศ. 2551

  11. หมายเหตุ : รายได้เฉลี่ยต่อคนต่อปีของคนไทย พ.ศ. 2549 = 119,825 บาท

  12. เส้นความยากจนของไทย (Poverty Line) • ของเดิม : รายได้ต่ำกว่าเดือนละ 922 บาท • จำนวนคนจน 6.8 ล้านคน • ของใหม่ : รายได้ต่ำกว่าเดือนละ 1,163 บาท • จำนวนคนจน 8.8 ล้านคน

  13. (2) กรณีศึกษาการเมืองกับวิถีประชา : เยอรมันนีตะวันตก & เยอรมันนีตะวันออก 1.2 โสเครติส (Socrates, 469-399 B.C) แนวความคิดที่สำคัญของโสเครติส มีดังนี้ 1) เป้าหมายแห่งชีวิตมนุษย์ 2) ความรู้เกี่ยวกับความดี 3) ปราชญ์เป็นผู้มีความรู้จึงเป็นผู้มีคุณธรรม

  14. 3) คุณธรรมทางการเมือง (Political Virtue) ที่สำคัญได้แก่ (1) ปัญญา (wisdom) (2) ความกล้าหาญ (courage) (3) การควบคุมตนเอง (temperance) (4) ความยุติธรรม (justice) (5) การกระทำความดี (piety) และยกย่องคนดี

  15. 1.3 เพลโต (Plato, 427-347 B.C.) แนวความคิดที่สำคัญของเพลโต มีดังนี้ 1) อุตมรัฐ (The Republic) ประกอบด้วยแนวความคิดที่สำคัญดังนี้ (1) อำนาจและความยุติธรรม (2) การปกครองเป็นศิลปะ (3) ธาตุแท้ของบุคคลในสังคม

  16. (4) การศึกษาเป็นสิ่งที่มีคุณค่าสำหรับสังคม (5) ราชาปราชญ์ ควรเป็นผู้ทรงคุณธรรม • เป็นผู้เสียสละ • ไม่ควรมีทรัพย์สินและครอบครัว (6) ผู้ปกครองเป็นปราชญ์ที่ทรงคุณธรรมจึงปกครองโดยปัญญา 2) นิติรัฐ (Laws) รัฐแห่งกฎหมาย (1) กำหนดให้รัฐธรรมนูญเป็นกฎหมายปกครองสูงสุด

  17. (2) โครงสร้างอำนาจทางการเมือง • สภาราษฎรทำหน้าที่บัญญัติกฎหมาย • สภามนตรีทำหน้าที่บริหาร • ตุลาการทำหน้าที่พิพากษาอรรถคดี (3) การบังคับใช้กฎหมาย

  18. 1.4 อริสโตเติล (Aristotle, 384-322 B.C.) แนวความคิดที่สำคัญของอริสโตเติล มีดังนี้ 1) มนุษย์เป็นสัตว์การเมืองที่อยู่ร่วมกันในชุมชน 2) ชุมชนขั้นสุดท้ายของมนุษย์คือรัฐ 3) รัฐที่ดีต้องแสดงถึงชีวิตที่ดีของประชาชน 4) คุณธรรมทางปัญญาและทางศีลธรรม

  19. (1) คุณธรรมทางปัญญา เกิดจากระบวนการเรียนรู้ทางสังคม เพื่อเรียนรู้เกี่ยวกับความดี และเพื่อเป้าหมายแห่งความสุข ในชีวิต (2) คุณธรรมทางศีลธรรมเกิดจากกระบวนการอบรมนิสัย ในบุคคลยึดมั่นในการประพฤติดี 5) การเมือง (Politics) อริสโตเติลได้เขียนผลงานที่เป็น มหาคัมภีร์ทางการเมืองเรียกว่า “Politics” โดยศึกษา เปรียบเทียบรูปแบบของรัฐ และจำแนกออกเป็น 6 รูปแบบ ได้แก่

  20. 1.5 จอห์น ล็อค (John Locke,ค.ศ. 1632-1704) แนวความคิดที่สำคัญของล็อค มีดังนี้ 1) สภาวะธรรมชาติ (State of Nature) เป็นสภาวะแห่ง เสรีภาพโดยสมบูรณ์ และเป็นสภาวะแห่ง ความเสมอภาค 2) สภาวะธรรมชาติมีข้อบกพร่อง 3 ประการคือ (1) ไม่มีกฎหมาย

  21. (2) ไม่มีตุลาการ (3) ไม่มีอำนาจบริหาร 3) มนุษย์ต้องการได้รับความยุติธรรมในการใช้สิทธิ ทางธรรมชาติ ล็อคจึงเสนอให้ประชาชนทำสัญญา ประชาคมร่วมกัน 4) โดยยอมสละเสรีภาพทางธรรมชาติบางประการเพื่อ สร้างประชาคมการเมืองที่สามารถใช้กฎหมายคุ้มครอง สิทธิ เสรีภาพของปวงชนอย่างเสมอภาค

  22. 5) ประชาคมการเมืองที่ตั้งขึ้นมีลักษณะเหมือน “ทรัสต์” (Trust) 6) ล็อคแยกให้เห็นว่ารัฐเป็นเรื่องส่วนรวม และ ศาสนาเป็นเรื่องส่วนบุคคล 1.6 รุสโซ (Jean Jacques Rousseau, ค.ศ. 1712-1778) แนวความคิดที่สำคัญของรุสโซ มีดังนี้ 1) มนุษย์เกิดมาพร้อมกับเสรีภาพ (Man is Born Free) 2) ธรรมของผู้มีอำนาจ อำนาจย่อมไม่ก่อให้เกิดธรรม ยกเว้นผู้ใช้อำนาจจะใช้อำนาจโดยชอบธรรมเท่านั้น

  23. 3) การเป็นทาส ผู้ใดยอมรับความเป็นทาสผู้นั้นเห็นว่า ทาสไม่ใช่มนุษย์เพราะทาสไม่มีเสรีภาพ 4) สัญญาประชาคม รุสโซเสนอให้ประชาชนทำสัญญา ร่วมกัน เรียกว่า “สัญญาประชาคม” เพื่อสร้าง ประชาคมการเมืองขึ้น 5) ผู้ทรงอำนาจอธิปไตย (The Sovereign) ประชาชน ประชุมร่วมกันในฐานะผู้ทรงอำนาจอธิปไตย เพื่อ ทำหน้าที่บัญญัติกฎหมาย

  24. 6) ประชาชนทำหน้าที่เป็นพลเมืองในการปฏิบัติตาม กฎหมาย 7) เจตจำนงทั่วไป (The General Will) ในฐานะผู้ทรง อำนาจอธิปไตย ประชาชนจะต้องบัญญัติกฎหมายให้ ตอบสนองเจตจำนงทั่วไปของประชาชน 8) การเลือกผู้แทนราษฎร รุสโซเห็นว่าการเลือกผู้แทน- ราษฎรคือจุดเริ่มต้นของอวสานแห่งเสรีภาพของเสรีชน

  25. 1.8 ทฤษฎีระบบ 1) ความคิดเชิงระบบ 2) กรอบการวิเคราะห์ระบบการเมือง (1) ฐานคติของกรอบความคิดเชิงระบบ • ระบบ (system) • สิ่งแวดล้อม (environment) • การตอบสนอง (response) • ผลกระทบ (impact)

  26. แผนภาพแสดงทฤษฎีระบบตามแนวความคิดของอีสตันแผนภาพแสดงทฤษฎีระบบตามแนวความคิดของอีสตัน Environment Environment input output demand The Political System decision & action support Feed-back

  27. (2) องค์ประกอบของทฤษฎีระบบ • ระบบการเมือง (political system) • สิ่งแวดล้อม (environment) • ความต้องการ (demand) • การสนับสนุน (support) • ปัจจัยนำออก (output) • ผลกระทบ (feedback)

  28. แผนภาพแสดงการแลกเปลี่ยนระหว่างระบบการเมืองกับสภาพแวดล้อมทั้งหมดแผนภาพแสดงการแลกเปลี่ยนระหว่างระบบการเมืองกับสภาพแวดล้อมทั้งหมด การแลกเปลี่ยน สิ่ง แวด ล้อม ทั้ง หมด ระบบนิเวศวิทยา ระบบชีววิทยา ระบบบุคลิกภาพ ระบบสังคม สิ่งแวดล้อม ภายในระบบสังคม ระบบ การ เมือง หรือ กระแส ของ ผลกระทบ การแลกเปลี่ยน ระบบการเมือง ระหว่างประเทศ ระบบนิเวศวิทยาระหว่างประเทศ ระบบสังคมระหว่างประเทศ สิ่งแวดล้อม ภายนอกระบบสังคม หรือ กระแส ของ ผลกระทบ

  29. (3) ปฏิสัมพันธ์เชิงพลวัตรของระบบการเมือง • กระบวนการปรับเปลี่ยนภายในระบบการเมือง • ปฏิสัมพันธ์ระหว่างสิ่งแวดล้อมกับระบบการเมือง (4) จุดอ่อนของทฤษฎีระบบ • ทฤษฎีระบบมีลักษณะเป็นนามธรรมสูง • โครงสร้างของทฤษฎีระบบมิได้แสดงรายละเอียด ไว้อย่างชัดแจ้ง

  30. องค์ประกอบของโครงสร้างของระบบการเมืององค์ประกอบของโครงสร้างของระบบการเมือง ทั้งระบบมิได้บอกแนวความคิดที่จำเป็นต้องใช้ใน การวิเคราะห์รูปธรรมของระบบย่อย • การสร้างทฤษฎีระบบให้เป็นทฤษฎีสากล (general theory) มิได้ทำการนิยามเชิงประจักษ์อย่างชัดเจน

  31. II. ระบอบประชาธิปไตย 2.1 ระบอบประชาธิปไตยโดยตรงของนครรัฐเอเธนส์ (Athenian Direct Democracy) 2.2 ระบอบประชาธิปไตยโดยตัวแทน (Representative Democracy) 2.3 ปรัชญาของระบอบประชาธิปไตย 1) ธรรมชาติของมนุษย์

  32. 2) เสรีภาพของมนุษย์ (Liberty) 3) ความเท่าเทียมกันของมนุษย์ (Equality) 4) อำนาจอธิปไตยของปวงชน (Popular Sovereignty) 2.4 หลักการของระบอบประชาธิปไตย 1) หลักอำนาจอธิปไตยเป็นของปวงชน (Popular Sovereignty)

  33. 2) หลักเสรีภาพ (Liberty) (1) เสรีภาพทางการเมือง (2) เสรีภาพในทรัพย์สิน (3) เสรีภาพในการนับถือศาสนา (4) เสรีภาพในการเลือกถิ่นที่อยู่อาศัย (5) เสรีภาพในการประกอบอาชีพ

  34. 3) หลักความเสมอภาค (Equality) (1) ความเสมอภาคทางการเมือง (2) ความเสมอภาคทางสังคม (3) ความเสมอภาคทางเศษฐกิจ

  35. 4) หลักกฎหมาย (Rule of Law) (1) กฎหมายต้องมีที่มาที่ชอบธรรม (2) การบังคับใช้กฎหมายจะต้องมีความเสมอภาค เท่าเทียมกัน (3) ประชาชนจะต้องได้รับความคุ้มครองจากกระบวน การยุติธรรมอย่างเสมอภาคเท่าเทียมกัน 5) หลักเสียงข้างมาก (Majority Rule and Minority Right)

  36. หลักเสียงข้างมาก (Majority Rule and Minority Right) (1) การปกครองโดยเสียงข้างมาก (2) การเคารพเสียงข้างน้อย

  37. 2.5 รูปแบบทางการเมืองในระบอบประชาธิปไตย 1) รูปแบบการควบอำนาจ (Fusion of Power or Parliamentary System) (1) ประชาชนเป็นผู้เลือกตั้งฝ่ายนิติบัญญัติโดยตรง (2) ฝ่ายนิติบัญญัติเป็นผู้จัดตั้งฝ่ายบริหาร (3) ฝ่ายนิติบัญญัติมีอำนาจในการยื่นกระทู้และ การขออภิปรายไม่ไว้วางใจฝ่ายบริหาร (4) ฝ่ายบริหารมีอำนาจในการยุบสภานิติบัญญัติ

  38. (5) ประมุขของประเทศและหัวหน้าฝ่ายบริหารจะแยกจากกัน 2) รูปแบบแบ่งแยกอำนาจ (Separation Power or Presidential System) (1) ประชาชนเป็นผู้เลือกฝ่ายนิติบัญญัติโดยตรง (2) ประชาชนเป็นผู้เลือกฝ่ายบริหารโดยตรง (3) ฝ่ายนิติบัญญัติไม่มีอำนาจในการอภิปรายฝ่ายบริหาร (4) ฝ่ายบริหารไม่มีอำนาจยุบสภา

  39. (5) หัวหน้าฝ่ายบริหารและประมุขของประเทศ จะเป็นคนเดียวกันหรือแยกจากกันได้ • รูปแบบผสม • (Mixed System or Powerful Executive) (1) ประชาชนเป็นผู้เลือกประธานาธิบดีโดยตรง (2) ประธานาธิบดีเป็นผู้แต่งตั้งและถอดถอนนายกรัฐมนตรี • ประธานาธิบดีมีอำนาจยุบสภาแห่งชาติได้ทุกกรณี • เมื่อสภามีอายุครบหนึ่งปี

  40. ประธานาธิบดีมีอำนาจในการนำประเด็นทางการเมืองไปให้ประธานาธิบดีมีอำนาจในการนำประเด็นทางการเมืองไปให้ • ประชาชนลงมติ (5) ประชาชนเป็นผู้เลือกสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร • สภาสูงได้รับการเลือกตั้งทางอ้อม โดยสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร • สมาชิกสภาจังหวัด และสมาชิกสภาเทศบาล สภาผู้แทนราษฎร • และสภาสูงมีอำนาจเท่ากัน ยกเว้นอำนาจในการพิจารณา • งบประมาณและอำนาจในการลงมติไม่ไว้วางใจรัฐบาลให้เป็น • อำนาจของสภาผู้แทนราษฎร

  41. III. วัฒนธรรมทางการเมือง 3.1 วัฒนธรรมทางสังคม (Social Culture) คำว่า “วัฒนธรรม” (culture) ในทางสังคมศาสตร์หมายถึง “แบบแผนพฤติกรรมการดำรงชีวิตของกลุ่มคน ซึ่งสมาชิก เรียนรู้และถ่ายทอดสืบต่อกันไปโดยการปลูกฝังและอบรมสั่ง สอนทั้งทางตรงและทางอ้อมในช่วงระยะเวลาหนึ่ง แบบแผน พฤติกรรมของกลุ่มคนดังกล่าวเป็นผลมาจาก

  42. “ระบบความเชื่อ” (Belief) ค่านิยม (Value) ทัศนคติ (Attitude) ซึ่งถ่ายทอดกันมาด้วยกระบวนการเรียนรู้ทางสังคม (Socialization Process) หรืออาจกล่าวได้ว่าเป็นผลของกระบวนการกระทำที่ผ่านมา และเป็นเงื่อนไขสำหรับการกระทำต่อไปในอนาคตของชนกลุ่มหนึ่ง

  43. 1) กระบวนการเกิดวัฒนธรรม Socialization Process Knowledges Perception Beliefs, Values, Attitudes Behaviors Pattern Cultures

  44. 2) คุณสมบัติทางวัฒนธรรม (1) วัฒนธรรมเป็นสิ่งที่เรียนรู้ได้ (2) วัฒนธรรมเป็นสิ่งที่เกิดจากกระบวนการเรียนรู้ทางสังคมมากกว่าการถ่ายทอดทางสายเลือด (3) วัฒนธรรมต่าง ๆ มีการเปลี่ยนแปลงได้ (dynamic)

  45. 3) คุณสมบัติของระบบความเชื่อ ค่านิยม และทัศนคติ (1) ระบบความเชื่อ (belief) • ความเชื่อเกี่ยวกับสิ่งที่ดำรงอยู่ว่าเป็นสิ่งที่ถูกหรือผิด • ความเชื่อเกี่ยวกับประเมินคุณค่าว่าเป็นสิ่งที่ดีหรือเลว • ความเชื่อเกี่ยวกับวิธีการ หรือเป้าหมายของการ กระทำเป็นสิ่งที่พึงปรารถนาหรือไม่พึงปรารถนา

  46. (2) ค่านิยม (value) • ค่านิยมมีลักษณะเป็นความเชื่ออย่างหนึ่ง คือเป็นความเชื่อ เกี่ยวกับวิถีการกระทำ หรือเป้าหมายการกระทำ • ค่านิยมมีลักษณะยืนยงถาวร • ค่านิยมมีลักษณะเปรียบเทียบความสำคัญ

  47. (3) ทัศนคติ (attitude) • ทัศนคติเป็นความเชื่อของบุคคลที่สั่งสมมา เป็นเวลานาน - ความเชื่อนั้นมีผลต่อการตอบสนองต่อสิ่งต่าง ๆ ด้วยลักษณะของความรู้สึกและความพอใจของบุคคล

  48. 3.2 วัฒนธรรมทางการเมือง (Political Culture) 1) ความหมายของวัฒนธรรมทางการเมือง (1) Almond : แบบแผนความเชื่อ ค่านิยม ทัศนคติของ บุคคลที่มีต่อระบบการเมืองสามารถพิจารณาได้จาก ความโน้มเอียง 3 ลักษณะ คือ *ความโน้มเอียงเกี่ยวกับการรับรู้ (Cognitive Orientation)

More Related