1 / 24

ส่วนงานบัญชีทุนและงบดุลแห่งชาติ สำนักบัญชีประชาชาติ พฤษภาคม 2547

สต็อกทุนของประเทศไทย Capital Stock of Thailand ฉบับ พ.ศ. 2545. ส่วนงานบัญชีทุนและงบดุลแห่งชาติ สำนักบัญชีประชาชาติ พฤษภาคม 2547. Outline of Presentation. ส่วนที่ 1 การจัดทำบัญชีสต็อกทุนของประเทศไทย ส่วนที่ 2 การวิเคราะห์ปัจจัยทุน Incremental Capital Output Ratio :ICOR

homer
Télécharger la présentation

ส่วนงานบัญชีทุนและงบดุลแห่งชาติ สำนักบัญชีประชาชาติ พฤษภาคม 2547

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. สต็อกทุนของประเทศไทย Capital Stock of Thailand ฉบับ พ.ศ. 2545 ส่วนงานบัญชีทุนและงบดุลแห่งชาติ สำนักบัญชีประชาชาติ พฤษภาคม 2547

  2. Outline of Presentation ส่วนที่ 1 การจัดทำบัญชีสต็อกทุนของประเทศไทย ส่วนที่ 2 การวิเคราะห์ปัจจัยทุน • Incremental Capital Output Ratio :ICOR • Capital Productivity : CP • Total Factor Productivity :TFP National Accounts Office National Balance Sheet Section

  3. ส่วนที่ 1 การจัดทำบัญชีสต็อกทุนของประเทศไทย • คำนิยาม (Definition) • วิธีการ (Methodology) • ผลการวิเคราะห์ (Results) National Accounts Office National Balance Sheet Section

  4. คำนิยาม ทุน (Capital) หมายถึงทรัพย์สินที่ถูกใช้เป็นปัจจัยการผลิตสำหรับผลิตสินค้าและบริการประกอบด้วยทรัพย์สินถาวร (Fixed Asset) และทรัพย์สินทางการเงิน (Financial Asset) แต่ในที่นี้จะกล่าวถึงเฉพาะส่วนที่เป็นทรัพย์สินถาวรเท่านั้น โดยทรัพย์สินถาวรดังกล่าวจะต้องเป็นสิ่งที่ถูกสร้างขึ้นมาในระบบเศรษฐกิจมีตัวตนมีความคงทนถาวรมีอายุใช้งานเกิน 1 ปีและสามารถสร้างขึ้นใหม่ทดแทนได้ National Accounts Office National Balance Sheet Section

  5. คำนิยาม (ต่อ) สต็อกทุน (Gross Capital Stock: GCS) หมายถึงผลรวมของทุนที่อยู่ในรูปของทรัพย์สินถาวร (Fixed Asset) ที่ถูกสะสมมาเรื่อยๆตามอายุการใช้งานของทรัพย์สินประเภทนั้นๆโดยทั่วไปนิยมวัดสต็อกทุนที่มีอยู่ในระบบเศรษฐกิจณช่วงเวลาใดเวลาหนึ่งคือณวันสิ้นปี สต็อกทุนสุทธิ (Net Capital Stock: NCS) หมายถึงมูลค่าของสต็อกทุนหลังจากหักค่าเสื่อมราคาสะสม National Accounts Office National Balance Sheet Section

  6. วิธีการ (Methodology) แนวคิดพื้นฐาน ประมวลผลโดยวิธีการสะสมทุนนิรันดร์ (Perpetual Inventory Method: PIM) คือ หามูลค่าของทรัพย์สินถาวรที่มีอยู่ทั้งหมดณปีใดปีหนึ่งโดยมูลค่าดังกล่าวครอบคลุมทุนส่วนที่ได้ลงทุนในอดีตตั้งแต่ปีเริ่มแรกของการใช้งานรวมกับที่จัดหาเพิ่มเติมในปีต่อมาหักด้วยส่วนปลดระวางออกไปจากขบวนการผลิตจนถึงปีสุดท้ายที่ต้องการวัดสต็อกทุนมูลค่ารวมของทรัพย์สินถาวรตามราคาปีที่ต้องการหาที่ยังไม่ได้หักค่าเสื่อมราคาของทรัพย์สินถาวรเรียกว่าสต็อกทุน (Gross Capital Stock) National Accounts Office National Balance Sheet Section

  7. ผลการวิเคราะห์ (Results) ภาพรวมสต็อกทุนและสต็อกทุนสุทธิ ปี 2545 มูลค่า ณ ราคาทุนทดแทน - สต็อกทุนเบื้องต้น 25.4 ล้านล้านบาท ขยายตัว ร้อยละ 2.3 - สต็อกทุนสุทธิ 18.2ล้านล้านบาทขยายตัว ร้อยละ 1.4 • มูลค่า ณ ราคาคงที่ปี 2531 • - สต็อกทุนเบื้องต้น 12.9 ล้านล้านบาท ขยายตัว • ร้อยละ 2.2 • - สต็อกทุนสุทธิ 9.4 ล้านล้านบาท ขยายตัว • ร้อยละ 1.5 National Accounts Office National Balance Sheet Section

  8. โครงสร้างสต็อกทุนสุทธิ ปี 2545 1. สต็อกทุนสุทธิภาคเอกชน (Private Sector)มีสัดส่วนร้อยละ 70.2ของสต็อกทุนรวม • สิ่งก่อสร้างร้อยละ 51.4 • เครื่องจักรและอุปกรณ์ ร้อยละ 48.6 2. สต็อกทุนสุทธิภาครัฐ (Public Sector)มีสัดส่วนร้อยละ 29.8ของสต็อกทุนรวม • สิ่งก่อสร้างร้อยละ 83.5 • เครื่องจักรและอุปกรณ์ ร้อยละ 16.5 National Accounts Office National Balance Sheet Section

  9. สต็อกทุนสุทธิรายสาขาการผลิตสต็อกทุนสุทธิรายสาขาการผลิต สาขาที่มีมูลค่าสูงใน 5 อันดับแรกในปี 2545 • สาขาที่อยู่อาศัย 2.1 ล้านล้านบาท • สาขาคมนาคมขนส่งและสื่อสาร 1.8 ล้านล้านบาท 3. สาขาอุตสาหกรรม 1.5 ล้านล้านบาท 4. สาขาบริการ 1.0 ล้านล้านบาท • สาขาไฟฟ้าประปา 0.7 ล้านล้านบาท National Accounts Office National Balance Sheet Section

  10. สต็อกทุนสุทธิรายสาขาการผลิตสต็อกทุนสุทธิรายสาขาการผลิต National Accounts Office National Balance Sheet Section

  11. อัตราขยายตัวสต็อกทุนสุทธิในปี 2545 สาขาที่มีอัตราขยายตัวสูงที่สุด • สาขาคมนาคมขนส่งและสื่อสาร ขยายตัว ร้อยละ 3.6 สาขาที่มีอัตราขยายตัวต่ำที่สุด • สาขาค้าส่งค้าปลีก ขยายตัวลดลงร้อยละ 0.5 ภาพรวม • ขยายตัวร้อยละ 1.5 National Accounts Office National Balance Sheet Section

  12. ช่วงก่อนวิกฤต ช่วงวิกฤต ช่วงหลังวิกฤต อัตราขยายตัวของสต็อกทุนสุทธิ National Balance Sheet Section

  13. ส่วนที่ 2 การวิเคราะห์ปัจจัยทุน • Incremental Capital Output Ratio :ICOR • Capital Productivity:CP • Total Factor Productivity:TFP National Accounts Office National Balance Sheet Section

  14. ICOR • ภาพรวม ICOR ในปี 2545มีค่า 0.9 เทียบกับ 1.7 ในปี 2544 แสดงให้เห็นว่าในปี 2545 ศักยภาพการลงทุนในระบบเศรษฐกิจมีศักยภาพดีกว่าการลงทุนในปี 2544 • จำแนกรายสาขาในปี 2545สาขาที่มีค่า ICOR มากกว่า 1 คือสาขาไฟฟ้าประปาสาขาคมนาคมขนส่งและสื่อสาร(เป็นสาขาที่มีปัจจัยทุนสูงเนื่องจากเป็นโครงสร้างพื้นฐานที่ให้บริการแก่สาธารณะดังนั้นจำเป็นต้องใช้เงินลงทุนมากและเป็นโครงการระยะยาวกว่าจะคืนทุน รวมทั้งเป็นส่วนที่ไม่ก่อให้เกิดผลผลิตต่อส่วนรวมมากนัก)สาขาที่อยู่อาศัยและสาขาเกษตรกรรม National Accounts Office National Balance Sheet Section

  15. เปรียบเทียบ ICOR และ GDP Growth National Balance Sheet Section

  16. Capital Productivity • ภาพรวม (Capital productivity) ในปี 2545มีค่าเท่ากับ 0.34 เทียบกับ 0.33 ในปี 2544 มีแนวโน้มดีขึ้นเล็กน้อยภายหลังจากที่ผลิตภาพทุนมีแนวโน้มลดลงโดยตลอดตั้งแต่ปี 2538 เป็นต้นมาและต่ำที่สุดในปี 2541 • ผลิตภาพทุนรายสาขาในปี 2545สาขาที่มีแนวโน้มการปรับตัวดีขึ้นจากปี 2544 คือสาขาเหมืองแร่และย่อยหินสาขาอุตสาหกรรมสาขาก่อสร้างสาขาคมนาคมขนส่งและสื่อสารสาขาค้าส่งค้าปลีกสาขาธนาคารประกันภัยและอสังหาริมทรัพย์สาขาบริหารราชการแผ่นดินและสาขาบริการ National Accounts Office National Balance Sheet Section

  17. กรณีปรับอัตราการใช้กำลังการผลิตกรณีปรับอัตราการใช้กำลังการผลิต Capital Utilization National Accounts Office National Balance Sheet Section

  18. Total Factor Productivity • ภาพรวมในช่วงปี 2525 –2545 ค่า TFP เฉลี่ย 0.28ต่อปี • พิจารณาตามแผนพัฒนาฯฉบับที่ 5 – ปีแรกฉบับที่ 9 มีอัตราขยายตัวเฉลี่ยเพียงร้อยละ 0.28 ต่อปีโดยช่วงแผนพัฒนาฯฉบับที่ 6 ค่า TFP ของประเทศดีที่สุด TFP มีค่าขยายตัวร้อยละ 2.38 ต่อปี ในขณะที่ช่วงแผนพัฒนาฯฉบับที่ 8 เป็นช่วงที่ค่า TFP ของประเทศต่ำที่สุดคือมีอัตราโดยเฉลี่ยลดลงร้อยละ 1.77 ต่อปีอย่างไรก็ตามในช่วงปีแรกของแผนพัฒนาฯฉบับที่ 9 คือปี 2545 ค่า TFP ปรับตัวดีขึ้นโดยมีอัตราขยายตัวร้อยละ 3.38 ต่อปี National Accounts Office National Balance Sheet Section

  19. TFP ปี 2525-2545 National Balance Sheet Section

  20. ภาพรวม Total Factor Productivity % ปีแรกแผนฯ 9 แผนฯ 6 0.28% เฉลี่ยปี 2525-2545 แผนฯ 8 แผนฯ 5 แผนฯ 7 National Balance Sheet Section

  21. TFP สาขาเกษตรกรรม % แผนฯ 6 -0.50% เฉลี่ยปี 2525-2545 แผนฯ 8 แผนฯ 5 ปีแรกแผนฯ 9 แผนฯ 7 National Balance Sheet Section

  22. TFP สาขานอกภาคเกษตรกรรม % ปีแรกแผนฯ 9 แผนฯ 6 -0.14% แผนฯ 7 เฉลี่ยปี 2525-2545 แผนฯ 5 แผนฯ 8 National Balance Sheet Section

  23. TFP สาขาอุตสาหกรรม % ปีแรกแผนฯ 9 0.62% แผนฯ 6 เฉลี่ยปี 2525-2545 แผนฯ 7 แผนฯ 8 แผนฯ 5 National Balance Sheet Section

  24. TFP สาขาบริการและอื่นๆ % ปีแรกแผนฯ 9 แผนฯ 6 -1.00% แผนฯ 7 เฉลี่ยปี 2525-2545 แผนฯ 5 แผนฯ 8 National Balance Sheet Section

More Related