1 / 11

ลัทธิคลาสสิคใหม่ Neoclassical Economics

ลัทธิคลาสสิคใหม่ Neoclassical Economics. Mr.Natthapart. ลัทธิคลาสสิคใหม่ หรือ Cambridge School. เกิดขึ้นลังจากลัทธิคลาสสิคประมาณ 114 ปี ( 1890) ผู้นำลัทธิคือ Marshall เป็นการอธิบายทฤษฎีเศรษฐศาสตร์ ด้วยหลักการทางคณิตศาสตร์และสถิติ

Télécharger la présentation

ลัทธิคลาสสิคใหม่ Neoclassical Economics

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ลัทธิคลาสสิคใหม่Neoclassical Economics Mr.Natthapart

  2. ลัทธิคลาสสิคใหม่ หรือ Cambridge School • เกิดขึ้นลังจากลัทธิคลาสสิคประมาณ 114 ปี(1890) • ผู้นำลัทธิคือ Marshall • เป็นการอธิบายทฤษฎีเศรษฐศาสตร์ ด้วยหลักการทางคณิตศาสตร์และสถิติ • เน้นการวิเคราะห์ระบบเศรษฐกิจที่แยกเป็น 2 ทาง คือ การวิเคราะห์ดุลยภาพบางส่วน และดุลยภาพทั่วไป • ใช้หลักการอนุมาณ ในการพัฒนาทฤษฎี • นักเศรษฐศาสตร์คนสำคัญได้แก่ Alfred Marshall(1842 – 1924) J.B.Clark, Irving Fisher , Marie EspitI’eonWalras , Vifredo F.D. Pereto , AuthurcecilPigou

  3. ข้อแตกต่างของลัทธิคลาสสิคใหม่กับลัทธิคลาสสิคข้อแตกต่างของลัทธิคลาสสิคใหม่กับลัทธิคลาสสิค • ทฤษฎีราคา(มูลค่า) • คลาสสิค แบ่งมูลค่าออกเป็น มูลค่าการใช้งานและมูลค่าการแลกเปลี่ยน • คลาสสิคใหม่ เห็นว่าราคาถูกกำหนดด้วยดุลยภาพของอุปสงค์กับอุปทาน ซึ่งต่างฝ่ายจะยึดประโยชน์สูงสุดของตนเอง • การแบ่งสรรรายได้ • คลาสสิค แบ่งสรรรายได้เป็น ดอกเบี้ย ค่าเช่า กำไร และค่าจ้าง • คลาสสิคใหม่ กำหนดการแบ่งสรรรายได้ว่าควรจะกำหนดอย่างไร เท่าไร • ลัทธิการมองในแง่ร้าย(Pessimism) • Ricardo และMaithus อธิบายกฎประชากร ในแง่ร้าย • คลาสสิคใหม่ มองว่าประชากรเป็นปัจจัยการผลิตที่สำคัญ นำไปสู่การพัฒนาประเทศ

  4. ทฤษฎีตลาดของ Say • Say : อุปทานสร้างอุปสงค์ • คลาสสิคใหม่ ในระยะสั้นไม่เกิดขึ้น แต่ในระยะยาวอาจเกิดขึ้นได้

  5. Alfred Marshall(1842 – 1924) • ทฤษฎีการกำหนดอุปทานและอุปสงค์ • อธิบายถึงความเกี่ยวข้องด้านเวลา แบ่งออกเป็น 3 ระยะได้แก่ • ระยะเพียงชั่วครู่ (momentary chang) • ระยะสั้น(short run chang) • ระยะยาว(long run chang) • ทฤษฎีส่วนเกินผู้บริโภค(Consumer’s surplus)

  6. ส่วนเกินของผู้บริโภค ราคา ส่วนเกินผู้บริโภคต่อหน่วย = ส่วนที่ผู้บริโภครับ P MU – P a Δ ABP1 = 0P1AQ1 – oPAQ1 A P1 b 0 Q1 ปริมาณ

  7. ส่วนเกินที่ผู้บริโภคได้รับส่วนเกินที่ผู้บริโภคได้รับ • มูลค่าทางสวัสดิการ(welfare value) • ความพอใจสูงสุดที่เรามีกับสินค้านั้นหรือจะเรียนประโยชน์ที่เพิ่มเข้ามานั่นเอง(MU) • ราคาที่ผู้ขายตั้งไว้สูงกว่าเป็นจริงแล้ว ยอมลดให้ผู้ซื้อ

  8. ความยืดหยุ่น(elasticity • การยืดหยุ่นได้แก่ เปอร์เซ็นต์ของการเปลี่ยนแปลงในปริมาณที่มีผู้ต้องการซื้อหารด้วยเปอร์เซ็นต์ของการเปลี่ยนแปลงของราคา

  9. Irving Fisher • ทฤษฎีการแลกเปลี่ยน(Equation of Exchange) MV + M’V’ = PT

  10. J.B. Clark • ทฤษฎีประสิทธิผลเพิ่ม (Marginal Productivity Theory in Distribution) • ประสิทธิผลเพิ่มเพิ่มเป็นตัวกำหนดมูลค่าของปัจจัยการผลิตคนงานเพิ่ม เป็นผู้กำหนดค่าจ้างมาตรฐาน

More Related