1 / 41

กฎหมายทางสัตวแพทย์

กฎหมายทางสัตวแพทย์. กฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้องกับวิชาชีพสัตวแพทย์. ผศ. น.สพ. ไพรัตน์ ศรแผลง ภาควิชาสัตวแพทย์สาธารณสุข คณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. กฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้องกับวิชาชีพสัตวแพทย์. องค์กรวิชาชีพ พ.ร.บ. บำรุงพันธุ์สัตว์ พ.ศ. 2509 พ.ร.บ. สงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พ . ศ . 2535

issac
Télécharger la présentation

กฎหมายทางสัตวแพทย์

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. กฎหมายทางสัตวแพทย์ • กฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้องกับวิชาชีพสัตวแพทย์ ผศ. น.สพ. ไพรัตน์ ศรแผลง ภาควิชาสัตวแพทย์สาธารณสุข คณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

  2. กฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้องกับวิชาชีพสัตวแพทย์กฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้องกับวิชาชีพสัตวแพทย์ • องค์กรวิชาชีพ • พ.ร.บ. บำรุงพันธุ์สัตว์ พ.ศ. 2509 • พ.ร.บ. สงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พ.ศ. 2535 • พ.ร.บ. โรคติดต่อ พ.ศ. 2523 • พ.ร.บ. อาหาร พ.ศ. 2522 • พ.ร.บ. เครื่องมือแพทย์ พ.ศ. 2533 • ร่างพ.ร.บ. ป้องกันการทารุณกรรมและการจัดสวัสดิภาพสัตว์ พ.ศ........ • กฎหมายที่เกี่ยวข้องอื่นๆ

  3. องค์กรวิชาชีพสัตวแพทย์องค์กรวิชาชีพสัตวแพทย์ • สัตวแพทยสภา จรรยาบรรณแห่งวิชาชีพการสัตวแพทย์(ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๔๙ เป็นข้อบังคับสัตวแพทยสภา เรื่อง การโฆษณา หรือ โฆษณาสถานพยาบาลสัตว์

  4. การโฆษณา หรือ โฆษณาสถานพยาบาลสัตว์ • ห้าม 1. โฆษณาทำนองโอ้อวด หรือ กิจกรรมอื่นเกิน ความเป็นจริง 2. โฆษณาโอ้อวดกิจกรรมหรือสรรพคุณของ เครื่องมือ 3. ไม่สุภาพ ขัดต่อศีลธรรม 4. ให้ส่วนลดเป็นเงินหรือผลประโยชน์ตอบแทน ใดๆ 5. ให้ค่าตอบแทนใดๆแก่ผู้ชักนำ

  5. การโฆษณา หรือ โฆษณาสถานพยาบาลสัตว์ • ห้าม ☺ยินยอมให้ประกอบวิชาชีพที่ฝ่าฝืน พ.ร.บ. วิชาชีพฯ ☺นำชื่อตนหรือยินยอมให้ผู้อื่นนำชื่อตนไปแสดงในสถานพยาบาลสัตว์โดยที่ตนไม่ได้ไปอยู่ประจำ

  6. พ.ร.บ. บำรุงพันธุ์สัตว์ พ.ศ. 2509 • ความจำเป็น ผู้เลี้ยงสัตว์ยังนิยมตอนสัตว์ที่มีขนาดโตและลักษณะดี เพื่อใช้งาน และขายให้ได้ราคา สาระสำคัญ กำหนดเขตบำรุงพันธุ์สัตว์โดยให้เจ้าหน้าที่ 1. สั่งเจ้าของสัตว์แจ้ง จำนวน ชนิด เพศ และอายุ 2. นำสัตว์มาวัดขนาดและคัดเลือก ภายในระยะเวลาที่กำหนด 3. คัดเลือกให้เป็นสัตว์สงวนพันธุ์ 4. เพิกถอนการเป็นสัตว์สงวนพันธุ์ 5. คัดเลือกและตอนสัตว์ที่ไม่เหมาะจะใช้ทำพันธุ์

  7. พ.ร.บ. บำรุงพันธุ์สัตว์ พ.ศ. 2509 • มาตรา 7 สัตว์ที่คัดเลือกเป็นสัตว์สงวนพันธุ์แล้วประทับตราอักษร “ส” ถ้าเพิกถอนประทับตราอักษร “ถ” • มาตรา 8 เจ้าของสัตว์ไม่สามารถโอนกรรมสิทธิ์สัตว์สงวนพันธุ์เป็นเวลาติดต่อกันเกินกว่า 30 วัน

  8. พ.ร.บ. บำรุงพันธุ์สัตว์ พ.ศ. 2509 • มาตรา 9 เจ้าของสัตว์ไม่สามารถตอน ฆ่า หรือส่งสัตว์สงวนพันธุ์ออกนอกราชอาณาจักร • มาตรา 10 เจ้าของสัตว์ไม่สามารถนำสัตว์สงวนพันธุ์ออกนอกเขตบำรุงพันธุ์สัตว์

  9. พ.ร.บ. บำรุงพันธุ์สัตว์ พ.ศ. 2509 • ปฏิบัติตามมาตรา 7, 8, 9, 10 เว้นแต่ได้รับอนุญาตจากนายทะเบียน • ผู้ฝ่าฝืนไม่ปฏิบัติตามหรือขัดขวางการทำงานของเจ้าหน้าที่ จำคุกไม่เกิน 1 เดือน ปรับไม่เกิน 500 บาท จำและปรับ

  10. พ.ร.บ. สงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พ.ศ. 2535 • ความจำเป็น: 1. สัตว์ป่าหายาก หรือใกล้จะสูญพันธุ์ หรืออาจ สูญพันธุ์ 2. ถูกคุกคาม 3. สอดคล้องกับความร่วมมือระหว่างประเทศ; อนุสัญญา CITES สัตว์ป่าตามหนังสือ IUCN

  11. พ.ร.บ. สงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พ.ศ. 2535 • มาตรา 4 คำจำกัดความ สัตว์ป่า สัตว์ป่าสงวน สัตว์ป่าคุ้มครอง สวนสัตว์สาธารณะ • มาตรา 15 กำหนดเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขตห้ามล่าสัตว์ป่าและชนิดหรือประเภทของสัตว์ป่าที่จะห้ามล่า หมวด 3 ห้ามล่า พยายามล่า เพาะพันธุ์ ครอบครอง ค้าสัตว์ป่าสงวนหรือสัตว์ป่าคุ้มครอง แต่มีข้อยกเว้นตามมาตรา 17, 26 หมวด 4 ห้ามนำเข้า ส่งออก นำผ่าน นำเคลื่อนที่ซึ่งสัตว์ป่าและด่านตรวจสัตว์ป่า

  12. พ.ร.บ. สงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พ.ศ. 2535 มาตรา 26 ข้อยกเว้นการกระทำเพื่อประโยชน์ในการสำรวจ การศึกษาและวิจัยทางวิชาการ การคุ้มครองสัตว์ป่า การเพาะพันธุ์ หรือเพื่อกิจการสวนสัตว์สาธารณะซึ่งกระทำโดยราชการและโดยได้รับอนุญาตเป็นหนังสือจากอธิบดี มาตรา 61 แจ้งชนิดและจำนวนสัตว์ป่าคุ้มครอง ไม่ประสงค์จะเลี้ยงดูต่อไปให้จำหน่ายสัตว์ป่าคุ้มครองนั้นแก่ผู้รับใบอนุญาต

  13. พ.ร.บ. สงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พ.ศ. 2535 บัญชีกำหนดปริมาณสัตว์ป่าคุ้มครองไว้ในครอบครอง ตามประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์

  14. พ.ร.บ. สงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พ.ศ. 2535 1. กูปรีหรือโคไพร (Bos sauveli) 2. เก้งหม้อ (Muntiacus feai) องค์การสวนสัตว์ ได้ประสบความสำเร็จในการ เพาะเลี้ยงเก้งหม้อ(ปี พ.ศ.๒๕๒๘) 3. กวางผา(Naemorhedus griseus) 4. กระซู่(Dicerorhinus sumatrens) 5. ควายป่า (Bubalus bubalis) 6. นกกระเรียน (Grus antigone) 7. นกเจ้าฟ้าหญิงสิรินธร (Pseudochelidon sirintarae) สัตว์ป่าสงวน: สัตว์ป่าหายาก ใกล้สูญพันธุ์ สูญพันธุ์

  15. สัตว์ป่าสงวน 8. นกแต้วแล้วท้องดำ (Pitta gurneyi) 9. แมวลายหินอ่อน (Pardofelis marmorata)  10. แรด (Rhinoceros sondaicus)  11. ละองหรือละมั่ง (Cervus eldi)  12. เลียงผา หรือเยือง หรือกูรำ หรือโครำ (Capricornis sumatraensis) 13. สมเสร็จ (Tapirus indicus) 14. สมันหรือเนื้อสมัน(Cervus schomburki) สูญพันธุ์ 15. พะยูนหรือหมูน้ำ (Dugong dugon)

  16. สัตว์ป่าสงวน

  17. สัตว์ป่าสงวน

  18. สัตว์ป่าสงวน

  19. สัตว์ป่าคุ้มครอง ชนิดของสัตว์ป่าคุ้มครองตามพระราชบัญญัติฯดังนี้ 1. จำพวกเลี้ยงลูกด้วยนม จำนวน 189 ชนิด เช่น ปลาโลมา ปลาวาฬกระต่ายป่า 2. จำพวกนก จำนวน 182 รายการ รวม 835 ชนิด เช่น ไก่ป่า ไก่ฟ้า 3. จำพวกเลื้อยคลาน จำนวน 63 รายการ รวม 90 ชนิด อาทิเช่น จระเข้ เต่า ตะพาบ 4. จำพวกสะเทินน้ำสะเทินบก จำนวน 12 ชนิด อาทิ กบเกาะช้าง

  20. สัตว์ป่าคุ้มครอง 5. จำพวกแมลง จำนวน 13 รายการ รวมกว่า 20 ชนิด เช่น ด้วงกว่างดาว 6. จำพวกปลา จำนวน 4 ชนิด คือ ปลาตะพัดหรือปลา อโรวาน่า ปลาติดหินหรือปลาค้างคาว ปลาเสือตอหรือ ปลาเสือหรือปลาลาด และปลาหมูอารีย์ 7. จำพวกไม่มีกระดูกสันหลัง จำนวน 14 รายการ เช่น กัลปังหา ดอกไม้ทะเล

  21. พ.ร.บ. สงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2546 สาระสำคัญ คือ แจ้งรายการเกี่ยวกับชนิดและจำนวนของสัตว์ป่าคุ้มครองที่อยู่ในความครอบครองของตนต่อพนักงานเจ้าหน้าที่และพนักงานเจ้าหน้าที่ได้ตรวจสอบแล้วเห็นว่าสัตว์ป่าคุ้มครองนั้นได้รับการเลี้ยงดูด้วยความเอาใจใส่ในสภาพอันสมควรและปลอดภัย ให้อธิบดีอนุญาตให้ผู้นั้นครอบครองสัตว์ป่านั้นต่อไปได้ และหากเจ้าของหรือผู้ครอบครองไม่ประสงค์จะเลี้ยงดูสัตว์ป่านั้นต่อไปก็ให้เจ้าของสามารถจำหน่ายสัตว์ป่าคุ้มครองนั้นให้ผู้รับใบอนุญาตให้จัดตั้งและดำเนินกิจการสวนสัตว์สาธารณะหรือจำหน่ายสัตว์ป่าคุ้มครองชนิดที่เพาะพันธุ์ได้ให้กับผู้รับใบอนุญาตให้เพาะพันธุ์สัตว์ป่าได้ ภายหลังจากนั้นยังมีสัตว์ป่าคุ้มครองเหลืออยู่เท่าใดให้สัตว์ป่าคุ้มครองนั้นตกเป็นของแผ่นดิน

  22. สรุป • ปัจจุบัน กฎหมาย(พ.ร.บ.สงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พ.ศ.2535) ห้ามมิให้ผู้ใดมีในครอบครองหรือค้าสัตว์ป่าสงวนและสัตว์ป่าคุ้มครองเป็นอันขาดยกเว้นสัตว์ป่าชนิดที่กำหนดให้เพาะพันธุ์ได้ตามกฎหมาย และได้รับอนุญาตจากอธิบดี • โทษ...ปรับไม่เกิน 4 หมื่นหรือจำคุกไม่เกิน 4 ปีหรือทั้งจำทั้งปรับหากมีผู้ใดเลี้ยง , มีไว้ในครอบครองหรือค้าสัตว์ป่า ตามรายชื่อสัตว์ป่าที่กำหนดในกฎกระทรวงแม้เพียงตัวเดียว ต้องมีความผิดอาญาได้รับโทษดังกล่าวข้างต้น

  23. สรุป ปัจจุบันหากผู้ใดเลี้ยงสัตว์ป่าไว้ ไม่สามารถขอใบอนุญาตจากกรมป่าไม้ หรือ ที่อื่นใดได้ • ผู้ที่มีใบอนุญาตครอบครองสัตว์ป่าในปัจจุบัน ต้องได้มาจากการจดแจ้งการครอบครองสัตว์ป่าแก่กรมป่าไม้ไว้ตั้งแต่ ปี พ.ศ.2535 ในวันที่ พ.ร.บ.ฯ ประกาศใช้และผู้ได้รับอนุญาตให้เพาะพันธุ์สัตว์ป่าตามกฎหมายกำหนดให้เท่านั้น • ในบทเฉพาะกาล ได้เปิดโอกาสให้ ผู้ที่ครอบครองสัตว์ป่าอยู่ก่อนหรือในวันที่ พ.ร.บ.ฯประกาศใช้ ให้แจ้งการครอบครองสัตว์ป่าที่มี ต่อกรมป่าไม้

  24. พ.ร.บ. โรคติดต่อ พ.ศ. 2523 • โรคติดต่อ • โรคติดต่ออันตราย • โรคติดต่อต้องแจ้งความ โรคตามประกาศรัฐมนตรี หรือผู้ว่าฯ • เขตโรคติดต่อ • มาตรา 7 กรณีมีโรคหรือสงสัยว่ามีโรคเกิดขึ้น เจ้าบ้าน แพทย์ผู้ทำการรักษาพยาบาล ผู้รับผิดชอบในสถานพยาบาล

  25. มาตรา 7 • ผู้ทำการชันสูตรทางแพทย์ มาตรา 8 อำนาจดำเนินการของเจ้าพนักงาน 1. คนหรือสัตว์มารับการตรวจ สังเกต 2. กักกันคนหรือสัตว์ 3. คนหรือสัตว์เข้ารับการป้องกัน 4. ให้เจ้าของหรือผู้อยู่ในบ้าน โรงเรือน กำจัด ความติดโรค 5. นำศพหรือซากสัตว์ที่ตายไปตรวจ

  26. บทกำหนดโทษ มาตรา 17 • ผู้ฝ่าฝืนมาตรา 7 หรือ 8 ปรับไม่เกิน 2,000 บาท

  27. อหิวาตกโรค กาฬโรค ไข้ทรพิษ ไข้เหลือง คอตีบ บาดทะยักในเด็ก โปลิโอ ไข้สมองอักเสบ พิษสุนัขบ้า ไข้รากสาดใหญ่ แอนแทร็กซ์ โรคทริคิโนซิส ไข้กาฬหลังแอ่น คุดทะราด ประกาศกระทรวงสาธารณสุข:โรคติดต่อที่ต้องแจ้งความ

  28. พ.ร.บ. อาหาร พ.ศ. 2522 • อาหารควบคุมเฉพาะ • มาตรา 25 ห้ามผลิต นำเข้าเพื่อจำหน่าย จำหน่าย อาหารต่อไปนี้ 1. อาหารไม่บริสุทธิ์ 2. อาหารปลอม 3. อาหารผิดมาตรฐาน 4. อาหารอื่นตามที่รัฐมนตรีกำหนด

  29. อาหารไม่บริสุทธิ์ตามมาตรา 26 • มีสิ่งที่น่าจะเป็นอันตรายต่อสุขภาพเจือปน • มีสารหรือวัตถุเคมีเจือปนที่ทำให้คุณภาพอาหารลดลงเว้นแต่ความจำเป็นต่อกรรมวิธีผลิต • ผลิต บรรจุ หรือเก็บรักษาโดยไม่ถูกสุขลักษณะ • ผลิตจากสัตว์ที่เป็นโรคอันอาจติดต่อถึงคนได้ • มีภาชนะบรรจุประกอบด้วยวัตถุที่น่าจะเป็นอันตราย

  30. อาหารปลอมตามมาตรา 27 อาหารผลิตขึ้นไม่ถูกต้องตามคุณภาพหรือมาตรฐานที่รัฐมนตรีประกาศกำหนดถึงขนาดจากผลวิเคราะห์ • อาหารผิดมาตรฐานตามมาตรา 28 ผลิตขึ้นไม่ถูกต้องตามคุณภาพหรือมาตรฐาน • ลักษณะที่ถือว่าเป็นอาหารตามมาตรา 25 1. ไม่ปลอดภัยต่อผู้บริโภค หรือ 2. มีสรรพคุณไม่เป็นที่เชื่อถือ หรือ 3. มีคุณค่าหรือคุณประโยชน์ต่อร่างกายในระดับไม่เหมาะสม

  31. คณะกรรมการอาหารและยามีอำนาจตามมาตราที่ 30 • แก้ไขสถานที่ผลิตหรือสถานที่เก็บอาหาร • สั่งให้งดผลิตหรือนำเข้า • ประกาศผลการตรวจพิสูจน์อาหาร

  32. ผู้ฝ่าฝืนมาตรา 25 1.จำคุกไม่เกิน 2 ปี หรือปรับไม่เกิน 20,000 บาทหรือทั้งจำทั้งปรับ 2.จำคุก 6 เดือนถึง 10 ปีและปรับ 5,000-100,000 บาท 3. จำคุกไม่เกิน 5 ปี หรือปรับไม่เกิน 50,000 บาทหรือทั้งจำทั้งปรับ

  33. กฎหมายที่เกี่ยวข้องอื่นๆกฎหมายที่เกี่ยวข้องอื่นๆ • ข้อกำหนดร้านขายยาแผนปัจจุบันแบบบรรจุเสร็จสำหรับสัตว์ 1. ใบอนุญาต และ 2. มีเภสัชกรชั้นหนึ่งหรือชั้นสอง หรือ 3. ผู้ประกอบการบำบัดโรคสัตว์ชั้นหนึ่งหรือชั้นสอง

  34. กฎหมายที่เกี่ยวข้องอื่นๆกฎหมายที่เกี่ยวข้องอื่นๆ • ผู้ประกอบการบำบัดโรคสัตว์กับการเสียภาษี 1. รายได้ไม่เกิน 600,000 บาท/ปี 2. รายได้ 600,000-1,200,000 บาท/ปี 3. รายได้เกิน 1,200,000 บาท/ปี • แจ้งขอคืนเงินภาษี เช่น ซื้อของเข้าร้านมากกว่าขาย

  35. กฎหมายที่เกี่ยวข้องอื่นๆกฎหมายที่เกี่ยวข้องอื่นๆ • พ.ร.บ. เครื่องมือแพทย์ พ.ศ. 2533 1. ผลิตขึ้นมาใช้ในสถานพยาบาลของตน 2. ผลิตขึ้นมาเพื่อศึกษา วิจัย หรือ ทดสอบคุณภาพและมาตรฐานในปริมาณที่จำเป็น 3. นำเข้าเพื่อเป็นตัวอย่างขออนุญาต หรือเป็นตัวอย่างผลิตเพื่อเป็นตัวอย่างส่งออก และต้องแจ้งรายละเอียดต่อคณะกรรมการ อย.

  36. กฎหมายที่เกี่ยวข้องอื่นๆกฎหมายที่เกี่ยวข้องอื่นๆ • ร่างพ.ร.บ. ป้องกันการทารุณกรรมและการจัดสวัสดิภาพสัตว์ พ.ศ...... เหตุผล 1. ต้องได้รับการคุ้มครองสิทธิตามธรรมชาติของสัตว์ 2. จัดสวัสดิภาพให้แก่สัตว์ให้เหมาะสมตามชนิดและประเภทสัตว์ 3. สัตว์ที่ไม่มีเจ้าของจะต้องได้รับการคุ้มครองมิให้ถูกทารุณกรรม

  37. เหตุผล 4. การประกอบกิจการดังกล่าวต้องคำนึงถึงการจัดสวัสดิภาพและการป้องกันมิให้สัตว์ได้รับความเจ็บปวดทุกข์ทรมาน

  38. ร่างพ.ร.บ. ป้องกันการทารุณกรรมและการจัดสวัสดิภาพสัตว์ พ.ศ...... • “การจัดสวัสดิภาพสัตว์” หมายความว่า การเลี้ยงหรือการจัดการให้สัตว์ให้มีความเป็นอยู่ ในสภาวะที่เหมาะสม มีสุขภาพอนามัยที่ดี ไม่เครียด มีที่อยู่อาศัย อาหาร และน้ำอย่างเพียงพอต่อความต้องการ • คณะกรรมการป้องกันการทารุณกรรมและการจัดสวัสดิภาพสัตว์ประจำจังหวัด • องค์กรจัดสวัสดิภาพสัตว์

  39. ร่างพ.ร.บ. ป้องกันการทารุณกรรมและการจัดสวัสดิภาพสัตว์ พ.ศ...... • ใบอนุญาตประกอบกิจการ • สถานสงเคราะห์สัตว์ • กองทุนป้องกันการทารุณกรรมและการจัดสวัสดิภาพสัตว์ • บทกำหนดโทษ

  40. การค้าสัตว์ การสืบสายพันธุ์ การพัฒนาสายพันธุ์ การดัดแปลงสายพันธุ์ และการขยายพันธุ์สัตว์ การฝึกสัตว์ การแสดงและการประกวดสัตว์ การโฆษณาหรือประชาสัมพันธ์ การกีฬา และการแข่งขัน การเลี้ยงและการใช้สัตว์เพื่ออุตสาหกรรมท่องเที่ยว การขนส่งสัตว์ ใบอนุญาตประเภทอื่นตามที่กำหนดในกฎกระทรวง ใบอนุญาตประกอบกิจการ

  41. จบแล้วครับ ขอบคุณครับ

More Related