1 / 48

แนวทางการปรับปรุงพันธุ์พืชและจุลินทรีย์โดย เทคนิคทางพันธุวิศวกรรม

แนวทางการปรับปรุงพันธุ์พืชและจุลินทรีย์โดย เทคนิคทางพันธุวิศวกรรม. ผศ. ดร. สิรินดา ยุ่นฉลาด (sirinda@kku.ac.th) ภาควิชา เทคโนโลยีชีวภาพ คณะเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยขอนแก่น เสวนาอาหารปลอดภัย วันที่ 27 มกราคม 2548 คณะเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

jaden
Télécharger la présentation

แนวทางการปรับปรุงพันธุ์พืชและจุลินทรีย์โดย เทคนิคทางพันธุวิศวกรรม

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. แนวทางการปรับปรุงพันธุ์พืชและจุลินทรีย์โดย เทคนิคทางพันธุวิศวกรรม ผศ. ดร. สิรินดา ยุ่นฉลาด(sirinda@kku.ac.th) ภาควิชา เทคโนโลยีชีวภาพ คณะเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยขอนแก่น เสวนาอาหารปลอดภัย วันที่ 27 มกราคม 2548 คณะเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยขอนแก่น

  2. การปรับปรุงพันธุ์พืชโดยใช้ เทคนิคทางพันธุวิศวกรรม • หนี่งในทางเลือกของการที่จะทำให้เกิด การเกษตรกรรมที่ดี • การหลีกเลี่ยงการใช้สารเคมี - ปุยเคมี ยาปราบศัตรูพืช ยาฆ่าแมลง • การเพิ่มผลผลิต • การลดการสูญเสียหรือเพิ่มอายุหลังการเก็บเกียว • การป้องกันสภาวะแวดล้อมไม่พึงประสงค์ต่างๆ • การทำให้เกิดพืชที่มีคุณค่าทางโภชนาการ

  3. เทคนิคทางพันธุวิศวกรรมเทคนิคทางพันธุวิศวกรรม • เป็นเทคนิคที่ใช้ในการปรับเปลี่ยน ดัดแปลง หรือ ปรับแปร โครงสร้างของสารพันธุกรรมของสิ่งมีชีวิตหรือส่วนที่ควบคุมลักษณะต่างๆที่เรียกว่า จีน (gene) ส่งผลให้คุณลักษณะของสิ่งมีชีวิตนั้นๆเปลี่ยนแปลงไป • เป็นเทคนิคที่สามารถจัดการหรือสามารถกำหนดลักษณะที่จะต้องการให้เกิดการเปลี่ยนแปลงไปตามต้องการได้โดยการวางแผนดำเนินการเป็นขั้นตอนอย่างมีระเบียบแบบเดียวกันกับกระบวนวิธีทางวิศวกรรม

  4. ลักษณะของเทคนิคทางพันธุวิศวกรรมลักษณะของเทคนิคทางพันธุวิศวกรรม • เป็นเทคนิคที่ทำให้เกิดการผสมสารพันธุกรรมระหว่างสิ่งมีชีวิตข้ามสายพันธุ์หรือชนิดได้ • เป็นการปรับปรุงที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงของลำดับพันธุกรรมบนสารพันธุกรรมของสิ่งมีชีวิตนั้นๆด้วยการต่อเชื่อมสารพันธุกรรมจากสิ่งมีชีวิตข้ามสายพันธุ์ได้เป็นสารพันธุกรรมใหม่หรือที่เรียกว่า recombinant DNA หรือเป็นการดัดแปลง สารพันธุกรรมของสารพันธุกรรมที่มีอยู่ในสิ่งมีชีวิตนั้นๆ

  5. ลักษณะของเทคนิคทางพันธุวิศวกรรมลักษณะของเทคนิคทางพันธุวิศวกรรม • พันธุวิศวกรรมไม่ใช่เทคนิคในกระบวนการสืบพันธุ์ตามธรรมชาติ • การเปลี่ยนแปลงของโครงสร้างของสารพันธุกรรมไม่ได้เกิดจากการเกิดการผ่าเหล่าหรือการกลายพันธุ์ตามธรรมชาติและไม่ใช่การกลายพันธุ์ที่เกิดจากการเหนี่ยวนำจากตัวกลางชักนำต่างๆ • พันธุวิศวกรรมเป็นการลอกเลียนแบบของกลไกที่มีอยู่แล้วตามธรรมชาติแล้วนำเอามาใช้เป็นเครื่องมือ หรือเป็นเทคนิคทำกันในหลอดทดลอง เช่น การใช้เอนไซม์ตัดจำเพาะจากกลไกการป้องกันตัวเองตามธรรมชาติ และเอนไซม์ต่อเชื่อมจากกระบวนการ จำลองและสังเคราะห์ สายพันธุกรรม

  6. เทคนิคทางพันธุวิศวกรรมเทคนิคทางพันธุวิศวกรรม • ทำให้เกิดสิ่งมีชีวิตดัดแปลงพันธุกรรม(genetically modified organisms หรือ GMOs) • ทำให้เกิด transgenic plant (พืชดัดแปลงพันธุกรรม) เช่น ฝ้ายบีที ข้าวโพดบีที • ทำให้เกิด transgenic animal (สัตว์ดัดแปลงพันธุกรรม)

  7. ศักยภาพของพันธุวิศวกรรมศักยภาพของพันธุวิศวกรรม • สามารถบ่งชี้และนำ gene ที่ควบคุมคุณลักษณะที่สำคัญต่างๆของสิ่งมีชีวิตและนำมาใช้ให้เกิดประโยชน์ได้ • สามารถเติมจีนใหม่ (Additional of Introduced Gene) จากสิ่งมีชีวิตอื่นเข้าไปได้ • สร้างจีนใหม่ขึ้นมา (New Gene Construction หรือ recombinant DNA) • ดัดแปลงจีนที่มีอยู่เดิม (Modify Existing Genes) • ถ่ายทอดgene ที่ได้รับการตัดแต่ง ตัดต่อไปยังเซลล์ที่ข้ามสายพันธุ์ได้ • ยับยั้งการทำงานของจีนที่มีอยู่เดิม (Inactivation of Existing Genes) อาทิ การใช้ Antisense Technology

  8. Antisense Technology การยับยั้งการทำงานของจีน (GENE) ที่มีอยู่แล้วตามธรรมชาติ จีนการสุกงอม เอนไซม์ PG

  9. สาเหตุในการดัดแปลง • แก้ไข ปรับปรุงปัญหาทางการผลิตอาหาร • แก้ไข ปรับปรุงปัญหาทางคุณค่าทางโภชนาการ • แก้ไข ปรับปรุงคุณสมบัติของวัตถุดิบในการแปรรูป • แก้ไข ปรับปรุงคุณสมบัติของตัวการในการแปรรูป พืชหรือสัตว์และอาหารที่มีคุณภาพดี ปลอดภัย ในการบริโภค พืชหรือสัตว์ใหม่ที่พึงประสงค์

  10. แนวทางการปรับปรุงพันธุ์พืชธัญญาหารแนวทางการปรับปรุงพันธุ์พืชธัญญาหาร • ด้านความปลอดภัย (Food Safety) เพื่อหลีกเลียงการมีสารเคมีและหรือสารพิษตกค้างจากการใช้สารเคมีในการเพาะปลูก ได้แก่ ยาปราบศัตรูพืช ยาฆ่าแมลง และ ปุ๋ยเคมีตามหลักการเกษตรกรรมที่ดี (Good Agricultural Practice, GAP) • ด้านการเพิ่มผลผลิต เพื่อเป็นหลักประกันด้าน Food Security ที่จะสามารถตอบสนองตามความต้องการของประชากรที่มีเพิ่มมากขึ้น • ด้านการปรับปรุงคุณลักษณะให้ดีขึ้นทั้งทางด้านคุณค่าทางโภชนาการ การคงคุณค่าหลังการเก็บเกี่ยว การเป็นวัตถุดิบในอุตสาหกรรมแปรรูปอาหาร

  11. Gene เพื่อเพิ่มผลผลิต Gene ที่ทำให้พืชผลทนทานต่อสารไกลโฟเสทAro A จาก Salmonella Gene ต้านทานโรคและแมลง Gene Chitinase Serratia marcescens Gene Osmotin จากมะเขือเทศ ป้องกัน โรค late blight ในมันฝรั่ง Gene สร้างสารพิษต่อแมลง endotoxin เชื้อบีที (B.thuringiensis) Cry IA, CryIB, Cry IC Cry II A, CryII B, CryIII A Gene ที่ทำให้พืชทนทานต่อสภาพแวดล้อมต่างๆ Gene ทนเค็ม Gene ทนความเย็น - จีน GPA (Glycerol-3-phosphate acytransferase ชะลอความอิ่มตัวของกรดไขมัน Gene ควบคุมการสร้าง Antifreeze protein Gene ทนความแห้งแล้ง -ทำให้มีการสร้าง glycine betain แนวคิดการปรับปรุงพันธุ์พืชในเชิงบูรณาการโดยอาศัยศักยภาพของเทคนิคทางพันธุวิศวกรรม

  12. ตัวอย่างของการนำจีนจากสิ่งมีชีวิตอื่นๆมาประยุกต์ใช้ในการเกษตรกรรมโดยอาศัยศักยภาพของเทคนิคทางพันธุวิศวกรรมตัวอย่างของการนำจีนจากสิ่งมีชีวิตอื่นๆมาประยุกต์ใช้ในการเกษตรกรรมโดยอาศัยศักยภาพของเทคนิคทางพันธุวิศวกรรม • บีที เป็นคำย่อมาจากชื่อของจุลินทรีย์ ประเภทแบคทีเรียคือ Bacillus thuringiensisซึ่งมีจีนที่ควบคุมการสร้างสารที่เป็นพิษต่อตัวอ่อนของแมลงเช่น ตัวอ่อนของตั๊กแตน ยุง แมลงวัน • เมื่อนำมาจีนนั้นมาต่อเชื่อมกับสารพันธุกรรมตัวนำพา หรือที่เรียกว่า DNA พาหะ (vector หรือ cloning vehicle เช่น Ti plasmid) ได้สารพันธุกรรมสายผสมแล้วจึงนำกลับเข้าไปในเซลล์เจ้าบ้านที่เหมาะสม (เช่น เซลล์ใบของฝ้าย) จะทำให้ฝ้ายมีการแสดงออกของลักษณะของการสร้างสารพิษต่อตัวอ่อนแมลง ทนทานต่อการกัดกินทำลายจากแมลงได้ พืชดัดแปลงพันธุ์ที่เรียกว่า ฝ้าย บีที

  13. ตัวอย่างของ microbial insecticides & pesticides ที่ผลิตจำหน่าย • Bacillus thuringiensis kurstaki strain Caterpillars • B. thuringiensisH 14 strain Whitefly & mosquitoes • B. popillae Japansese beetles • B. penetrans Nematodes (eelworms) • Hirsutella thomsonii Citrus mite in Florida • Verticillium lecanni Glasshouse aphids in UK • Metarhizium anisopliae Spittle bug in Sugar cane • Beauvaria bassiana Colorado beetle in USSR

  14. แนวคิดการปรับปรุงพันธุ์พืชในเชิงบูรณาการ (ต่อ) • จีนเพื่อการปรับปรุงคุณภาพของผลผลิตหลังการเก็บเกี่ยว • จีนชะลอความสุกงอมในผักผลไม้ จีน anti ethylene จีนควบคุมการสร้างเอนไซม์ polygaracturonase ที่ทำให้เกิดการอ่อนนิ่มของเนื้อผลไม้ • จีนการเปลี่ยนสีดอกไม้ จีนที่ควบคุมการสร้าง Chalone synthase จีนที่ควบคุมการ สังเคราะห์ anthocyanin co-pigments

  15. เทคนิคทางพันธุวิศวกรรมที่ใช้ในการพัฒนาพันธุ์พืชธัญญาหาร (Crop) • การถ่ายจีนเข้าสู่ Chromosome ของพืชทำได้โดย • การใช้ การถ่ายจีนโดยฝากผ่าน Agrobacterium tumefaciens (Agrobacterium-mediated transformation) • การใช้เครื่องยิงอนุภาค (Gene Bombardment), การใช้ Gene Gun • จีนที่ถ่ายประกอบด้วย ชุดของจีน (gene cassette) ที่มีจีนเป้าหมาย (target gene) จีนสั่งการ (promoter gene) จีนยุติการแสสดงออก (terminator gene และ จีนที่ใช้คัดเลือก (marker gene) • พืชที่ได้เป็น Transgenic Plant หรือ พืชจำลองพันธุ์หรือพืชดัดแปรพันธุ์

  16. การใช้การถ่ายจีนโดยฝากผ่าน Agrobacterium tumefaciensเพื่อนำเข้าสู่เซลล์พืช

  17. การใช้ Gene Gun

  18. พันธุ์พืชอาหารที่ได้รับการดัดแปลงสารพันธุกรรม (GM Crops) • พันธุ์พืชที่ดัดแปลงเพื่อแก้ปัญหาเกี่ยวกับการผลิต • พันธุ์ต้านทานโรค& ศัตรูพืช เช่น มะละกอต้านทานโรคไวรัสใบด่าง จุดวงแหวน (Ring spot virus) ฝ้ายต้านทานต่อหนอนเจาะสมอฝ้าย ถั่วเหลือง/ ข้าวโพดต้านทานยากำจัดวัชชพืช (Glyphosate Tolerant Soybean/ Corn) มันฝรั่งต้านทานการกัดกินของแมลง & ไวรัส (Insect & Virus protected Potato) • Glufosinate Tolerant gene จาก Streptomyces viridochromogenes • The Cryl A gene จาก Bacillus thuringiensis subsp. kurstaki • Coat Protein gene จาก Papaya ringspot virus • Glyphosinate Tolerant gene จาก Agrobacterium sp strain CP4

  19. พันธุ์พืชอาหารที่ได้รับการดัดแปลงสารพันธุกรรม (GM Crops) ต่อ • พันธุ์พืชที่ดัดแปลงเพื่อแก้ปัญหาเกี่ยวกับคุณภาพ & คุณค่าทางโภชนาการ • การชะลอความสุกของมะเขือเทศ (FLAVRSAVR Tomato, Antisense polygalacturonase gene of Tomato ของ บริษัท Calgene • Improved Ripening Tomato (Aminocyclopropane carboxylic acid deaminase gene จาก Pseudomonas chloraphis strain 6G5, Monsanto • High Oleic acid soybean, Suppression of the GmFad2-1 gene encoding a delta-12-desaturase enzyme, Dupont

  20. Current GM Crops in the Global Market • Oil crop: soybean & canola wit more stearate to make margarine & more healthy cooking oil • Sweeter Peas • Small & Seedless Melon • Tomatoes, bananas, & pineapple with delayed ripening time • Tomatoes with inactivated Polygalacturonase encoding gene • Potatoes with higher starch content to reduce the amount of oil absorbed during frying to make potatoes chips or French fries

  21. Current GM Crops in the Global Market (continued) • Fruits & vegetable fortified with Vit.C & Vit. E to protect against the risk of chronic disease such as cancer and heart disease • garlic cloves producing more allicin to help lowering choresterol level • higher protein rice using genes transferred from pea. • Strawberries containing higher level of ellagic acid, a natural cancer fighting agent • Fungal Resistant Bananas

  22. แนวทางการปรับปรุงจุลินทรีย์หัวเชื้อการผลิตผลิตภัณฑ์ อาหารหมักจากนม (Dairy Lactic Starters) • ใช้จีนที่มีอยู่เดิมตามธรรมชาติ (Endogenous Gene) • นำจีนที่ควบคุมคุณสมบัติที่ดีต่างๆที่มีอยู่เดิมมาประกอบกันเป็นสารพันธุกรรมใหม่ (New Construct) ที่สามารถแสดงออกมาในจุลินทรีย์ ชนิดเดียวกัน (Within Species) • สารพันธุกรรมใหม่ยังคงได้มาจากการตกแต่งและตัดต่อจีนที่มีอยู่เดิมในจุลินทรีย์หัวเชื้อชนิดเดิมที่ใช้ผลิตผลิตภัณฑ์อาหารชนิดนั้นๆอยู่แล้ว (FOOD GRADE CONSTRUCT)

  23. เทคนิคการสร้างพันธุกรรมสายผสม (recombinant DNA) ชิ้น gene ที่ควบคุมลักษณะที่ต้องการจากสิ่งมีชิวิตใดๆ DNA พาหะที่เหมาะสมในการถ่ายโอน เซลล์จุลินทรีย์เจ้าบ้านที่เหมาะสม เทคนิคทางพันธุวิศวกรรมกับการปรับปรุงจุลินทรีย์

  24. ตัวอย่างจุลินทรีย์หัวเชื้อที่ใช้ผลิตผลิตภัณฑ์อาหารที่ได้รับการดัดแปลงพันธุกรรมจากเทคนิคทางพันธุวิศวกรรมตัวอย่างจุลินทรีย์หัวเชื้อที่ใช้ผลิตผลิตภัณฑ์อาหารที่ได้รับการดัดแปลงพันธุกรรมจากเทคนิคทางพันธุวิศวกรรม • Baker ‘sYeast • Cheese Starters • Yoghurt Starters • Dairy Lactic Starters • GM L.A.B for Silage Fermentation as Animal Feed • GM Probiotics (L.A.B) for Poultry & Fisheries

  25. Genetically Engineered Baker’s Yeast to leaven both lean & sweet doughs enhance secretion of maltose fermenting enzymes: maltase & maltose permease using the constitutive promoters from baker’s yeast produce more CO2 so reduce the leavening time Genetcially Engineered L.A.B. with cloned homlogous genes from other L.A.B. (Food Grade) Genetically Engineered L.A.B. wit h cloned heterologous genes from other organism GM Probiotics for Pultry & Fisheries GM L.A.B. for Silage Fermentation for animal feed Food StartersImprovement via Genetic Engineering

  26. ตัวอย่างของเอนไซม์ที่ใช้ในอุตสาหกรรมอาหารที่ได้มาจากเปลี่ยนแปลงต้นกำเนิดจากการใช้เทคนิคทางพันธุวิศวกรรมตัวอย่างของเอนไซม์ที่ใช้ในอุตสาหกรรมอาหารที่ได้มาจากเปลี่ยนแปลงต้นกำเนิดจากการใช้เทคนิคทางพันธุวิศวกรรม

  27. B. steareothermophilus ’s alpha amylase derived from B. subtilis Same Enzyme from same organism Cloned into E. coli ’s vector (pBR327) and introduced into B. subtilis CHYMOSIN from E. coli K-12 Calf’s Rennet used to produce cheese traditionally Gene from Calf’s Rennet cloned & expressed in E. coli Chymosin Produced from E.coli K-12 Enzymes derived from recombinant DNA method currently used in Food Processing

  28. Food derived from Modern Biotechnology Food containing GMOs or part thereof Food & processed food produced from GMOs Transgenic Crops Transgenic Animal Recombinant Starters อาหารดัดแปลงพันธุกรรมGENETICALLY MODIFIED FOOD, GMF

  29. Genetically Modified Food (GM Food) • GM Whole Foods = GM Crops • apple, asparagus, barley, beet root, carrot, corn, cauliflower, grape, lettuce, melon, papaya, peanuts, potatoes, rice, strawberries, soybean, tomatoes, wheat, sugarcane • GM Processes Foods = Food products produced from GM raw materials • BST Milk , Cheese from genetic engineered Chymosin, soybean curd & soybean milk (เต้าหู้, น้ำเต้าหู้ ) from GM soybean

  30. From GM Soya bean : Bread, Biscuit, Bakery Ingredients, Cereals, Chocolate, Confectionery, Ice cream, Noodles, Pasta From GM Maize: Bakery Products, Beer, Flour, Glucose syrup, Margarine, Salads dressing Examples ofCurrent GM Processed Food

  31. ตัวอย่างผลิตภัณฑ์อาหารที่มีการใช้ตัวกลางการแปรรูปที่ได้มาจากการใช้เทคนิคทางพันธุวิศวกรรมตัวอย่างผลิตภัณฑ์อาหารที่มีการใช้ตัวกลางการแปรรูปที่ได้มาจากการใช้เทคนิคทางพันธุวิศวกรรม • CHEESE ที่ผลิตจาก CHYMOSIN ซึ่งเป็นเอนไซม์ที่ใช้ในการตกตะกอนโปรตีนในน้ำนมเพื่อใช้ในการผลิต Cheese • Chymosin เป็นผลิตภัณฑ์ทาง Food Biotechnology ชนิดแรกที่ได้เปลี่ยนมาใช้การผลิตโดยการดัดแปลงพันธุกรรมแล้วนำมาใช้ในอุตสาหกรรมอาหาร แต่เดิม Chymosin ได้มาจากการสกัดจากกระเพาะอาหารของลูกวัว (Calf’s Rennet) ปัจจุบันเปลี่ยนเป็นการผลิตโดยใช้จุลินทรีย์ E. coli (recombinant E. coli) ที่ได้รับจีนที่ควบคุมการสร้างเอนไซม์นี้จาก calf’s rennet

  32. ตัวอย่างผลิตภัณฑ์อาหารที่ได้จากการดัดแปลงพันธุกรรม (ต่อ) • BST MILK = Cow Milk Produced from Cow that received genetic engineered Bovine Somatotropin • BST = Growth Hormone extracted from Dead Cow’s Pituitary gland that can be used to enhance milk production up to 40% when injects into a cow • The gene encoded BST was cloned into microorganism and now BST was produced from this genetic engineered microorganism Monsanto, USA

  33. ตัวอย่างผลิตภัณฑ์ที่ผลิตได้จากเทคนิคทางพันธุวิศวกรรมแล้วได้มีการนำมาใช้ในการเกษตรกรรมตัวอย่างผลิตภัณฑ์ที่ผลิตได้จากเทคนิคทางพันธุวิศวกรรมแล้วได้มีการนำมาใช้ในการเกษตรกรรม • ANTIFREEZED PROTIEN • Use to spray on crops to prevent damage from Ice Crystal Formation in the winter • Produced via isolation of gene encoding for Antifreeze protein from Arctic Fishes

  34. Current Benefits of Biotechnology in Food Industry & Agriculture • Disease resistance from any pathogen • Reduce the chemical pesticides & herbicides usage • Increase nutritious composition of foods • Herbicide Tolerance • More rapid growth & Higher yield crops • Improvements in taste & quality • Eliminate undesired properties for processing & nutritional value

  35. Current Benefits of Biotechnology in Food Industry & Agriculture (continued) • Reducing natural toxin level in plants • Providing simpler & faster methods to locate pathogens toxins & contaminants • Extending the time before spoilage • Produce drought & flood tolerance, salts & metals tolerance, heat & cold tolerance • Enhance Protein Quality in corn & soybeans (increase methionine & lysine contents)

  36. Some Examples of Global Market Release of GM Products used in Food Industry • 1993 ANTIFREEZED PROTEIN, DNA PLANT Technologies • 1993 CHYMOSIN from E. coli K-12 for Cheese Production • 1993 POLISAC (BST, animal drug) Monsanto, to produce BST Milk from normal cow • 1994 Flavr Saver Tomato, Calgene • 1995 Leaner Pork from pig received porcine somatotropin (PST Pork)

  37. ข้อเสีย/ข้อจำกัด • ดัดแปลงคุณสมบัติสภาพตามธรรมชาติ • ผลกระทบต่อพันธุกรรมเดิม • สมดุลย์ทางธรรมชาติ • การมีผลกระทบต่อระบบนิเวศน์ • ผลกระทบ/ความเสี่ยงต่อผู้บริโภค

  38. ผลที่ไม่พึงประสงค์ที่อาจเกิดขึ้นได้หลังการถ่ายทอดสารพันธุกรรมใหม่ผลที่ไม่พึงประสงค์ที่อาจเกิดขึ้นได้หลังการถ่ายทอดสารพันธุกรรมใหม่ • gene ใหม่แทรกเข้าไปในจุดที่เกี่ยวข้องกับการสร้างสารอาหารทำให้ GMOs เกิดสภาวะขาดสารอาหารบางชนิด • geneใหม่สร้างสารที่ทำให้เมทาบอลิซึมใน GMOs แปรเปลี่ยนไปจากเดิม ทำให้ได้สารใหม่ที่อาจเป็นพิษต่อสุขภาพ • gene ใหม่ก่อให้เกิดผลกระทบกับระบบนิเวศน์ การเกิดความเสียหายต่อลูกโซ่อาหาร (food chain)

  39. Frequently Ask Questions about GM Food • Are They Safe? • Are They Adequately labeled , tested, & regulated? • Are They Good or Bad for us? • Will They Save or Destroy the Earth? • Will They Bring the same benefits as Genetic Engineered Medicines

  40. การประเมินความเสี่ยงของอาหารดัดแปลงพันธุกรรม • การเสริมหรือยับยั้งกิจกรรมของ gene ที่มีอยู่แล้ว • การนำเอา gene ที่มีอยู่แล้วจากสิ่งมีชีวิตที่ใช้เป็นอาหารมาใช้ • การแทรก หรือนำ geneจากสิ่งมีชีวิตอื่น เข้ามาใหม่ • การสังเคราะห์ gene ขึ้นมาใหม่แล้วนำมาใช้

  41. FOOD GRADE CONSTRUCT • FOOD GRADE VECTOR • ENDOGENOUS GENES • Lactose metabolism Genes • Milk protein hydrolysis Genes • Citric acid metabolism Genes • Bacteriocin production Genes (Nisin, Diplococcin) • TRANSFER To SAME SPECIES HOST ORGANISMS

  42. ถั่วเหลือง มันฝรั่ง มะเขือเทศ ฟักทอง หัวผักกาดหวาน ข้าว ข้าวสาลี มะละกอ ข้าวโพด ยาสูบ ฝ้าย ตัวอย่างพืชธัญญาหารที่มีการปรับปรุงพันธุ์ด้วยเทคนิคทางพันธุวิศวกรรม

  43. การตรวจสอบความปลอดภัยของ GMOs/GM Food • การถ่ายทอดจีนจาก GMOs เข้าสู่เซลล์เยื่อบุทางเดินอาหาร (Epithelial Cells in Gastrointestinal Tract) ของผู้บริโภค • การถ่ายทอดจีนคัดเลือก (marker gene) เข้าสู่แบคทีเรียในระบบทางเดินอาหาร (normal flora) และแบคทีเรียในสิ่งแวดล้อมภายนอกภายหลังการขับถ่าย (excretion) • ความเสถียรของสารพันธุกรรมใหม่ที่อยู่ใน GMOs หรือ GM Food หลังการบริโภค

  44. ตัวอย่างการประเมินความเสี่ยงตัวอย่างการประเมินความเสี่ยง • FlavrSavr TM Tomatoes Slow ripening tomatoes Calgene • antisense technology, antisense form of Polygalacturonase gene (ripening gene) = การยับยั้งกิจกรรมของจีนที่มีอยู่แล้ว (inhibit existing gene activity ) • USFDA approved for safety in 1994to be the same as natural tomatoes

  45. Agrevo, Inc. Asgrow Seed Co. Agritope Inc. Calgene Co. Ciba0Geigy Corp. DNA Plant Technology Dupont Dekalb Genetics Corp. Plant Genetic System Monsanto Co. Northrup King Seminis Vegetable Seeds Zeneca Plant Science Known Biotechnology Companies produce & sell GM Crops or GM Foods

  46. เทคนิคทางพันธุวิศวกรรมเป็นแนวทางจริงหรือเทคนิคทางพันธุวิศวกรรมเป็นแนวทางจริงหรือ • ควรเป็นหนึ่งในแนวทางปฏิบัติเกษตรกรรมที่ดี • Good Agricultural Practice • แต่ควรใช้เมื่อ • มีความจำเป็นและไม่มีทางอื่นที่ดีกว่าแล้ว • มีการควบคุมและมีการประเมินความเสี่ยง • ควรแจ้งให้เกษตรกร ผู้ประกอบการ และ ผู้บริโภคทราบและให้มีโอกาสเลือก

  47. เทคนิคทางพันธุวิศวกรรมเทคนิคทางพันธุวิศวกรรม ศักยภาพ กับ ความจำเป็น ผลที่ได้มีคุณค่าเพียงใด หรือผลของการเปลี่ยนแปลงให้ดีขึ้นนั้นมีมากน้อยเพียงใด คุ้มทุนหรือไม่

  48. การผลิต GM Golden Rice การปรับปรุงคุณค่าทางโภชนาการของข้าว เพิ่มวิตามิน A ด้วยความปรารถนาดี สิรินดา ยุ่นฉลาด

More Related