1 / 33

ภาษา HTML

ภาษา HTML. ( HyperText Markup Language) ภาษาหลักที่ใช้ในการสร้าง เว็บ เพจ (Web Page). ภาษา HTML. เป็นภาษาหลักที่ใช้ในการสร้างเว็บเพ็จเขียนอยู่ในรูปของเอกสารข้อความ ( Text Document) ภาษาที่เป็น Static Language มีลักษณะของข้อมูลคงที่สำหรับสร้างข้อมูลประเภทตัวอักษรและภาพ

Télécharger la présentation

ภาษา HTML

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ภาษา HTML (HyperText Markup Language) ภาษาหลักที่ใช้ในการสร้างเว็บเพจ (Web Page)

  2. ภาษา HTML • เป็นภาษาหลักที่ใช้ในการสร้างเว็บเพ็จเขียนอยู่ในรูปของเอกสารข้อความ (Text Document) • ภาษาที่เป็น Static Language มีลักษณะของข้อมูลคงที่สำหรับสร้างข้อมูลประเภทตัวอักษรและภาพ • นามสกุลของไฟล์ HTML จะเป็นไฟล์นามสกุล .htmหรือ .html • คำสั่งในภาษา HTML เรียกว่า แท็ก (Tag) จะเขียนอยู่ในเครื่องหมาย < และ > แท็กจะแบ่งได้เป็นสองกลุ่ม คือ แท็กแบบเปิด และแท็กแบบปิด

  3. โครงสร้างหลัก • รูปแบบมาตรฐานในการสร้างเว็บเพจประกอบด้วยคำสั่งหลักอยู่ 4 คำสั่ง ดังนี้ • <HTML> .... </HTML> เป็นคำสั่งที่ทำหน้าที่บอกจุดเริ่มต้นและจุดสิ้นสุดของเว็บเพจ • <HEAD> .... </HEAD> เป็นคำสั่งในส่วนของการกำหนดส่วนหัวเรื่องของเว็บเพจ โดยในคำสั่ง HEAD จะมีคำสั่ง <TITLE> .... </TITLE> อยู่ด้วย ซึ่งทำหน้าที่กำหนดข้อความที่แสดงบน Title Bar โดยสามารถกำหนดความยาวของข้อความได้ 64 ตัวอักษร • <BODY> .... </BODY> เป็นคำสั่งในส่วนเนื้อหาของเว็บเพจทั้งหมด

  4. รูปแบบการเขียน • <HTML> • <HEAD> • <TITLE> Title Bar </TITLE> • </HEAD> • <BODY> • . • . • . • . • </BODY> • </HTML>

  5. คำสั่งเริ่มต้นรูปแบบ<HTML>.....</HTML>คำสั่ง <HTML>เป็นคำสั่งเริ่มต้นในการเขียนโปรแกรม และ </HTML>เป็นคำสั่งจุดสิ้นสุดโปรแกรมเหมือนคำสั่ง Beign และ End ในภาษา Pascal

  6. ส่วนหัว รูปแบบ<HEAD>.....</HEAD> ใช้กำหนดข้อความ ในส่วนที่เป็น ชื่อเรื่อง ภายในคำสั่งนี้ จะมีคำสั่งย่อย อีกหนึ่งคำสั่ง คือ <TITLE>

  7. กำหนดข้อความในไตเติลบาร์กำหนดข้อความในไตเติลบาร์ รูปแบบ<TITLE>.....</TITLE>ตัวอย่าง <TITLE>บทเรียน HTML</TITLE>เป็นส่วนแสดงชื่อของเอกสาร จะปรากฎ ขณะที่ไฟล์ HTML ทำงานอยู่ ข้อความ ที่กำหนด ในส่วนนี้ จะไม่ถูกนำไปแสดง ผลของ เว็บเบราเซอร์แต่จะปรากฎในส่วนของไตเติบาร์ (Title bar) ที่เป็นชื่อของวินโดว์ข้างบนไม่ควรให้ยา เกินไป เพียงให้รู้ว่าเว็บเพจที่กำลัง ใช้งานอยู่เกี่ยวข้องกับอะไร

  8. ส่วนของเนื้อหา รูปแบบ <BODY>.....</BODY>ส่วนเนื้อหาของโปรแกรมจะเริ่มต้นด้วย คำสั่ง <BODY> และจบลงด้วย </BODY> ภายในคำสั่งนี้ คือ ส่วนที่จะแสดงทางจอภาพ

  9. การกำหนดรูปแบบของตัวอักษรการกำหนดรูปแบบของตัวอักษร

  10. คำสั่งในการกำหนดหัวเรื่อง (Headding) • <H1> .... </H1> • <H2> .... </H2> • <H3> .... </H3> • <H4> .... </H4> • <H5> .... </H5> • <H6> .... </H6> • ตัวอย่างการปรับขนาดอักษร …………………… • <HTML> • <HEAD><TITLE> Heading </TITLE></HEAD> • <BODY> • <H1> Heading Levle 1 </H1> • <H2> Heading Levle 2 </H2> • <H3> Heading Levle 3 </H3> • <H4> Heading Levle 4 </H4> • <H5> Heading Levle 5 </H5> • <H6> Heading Levle 6 </H6> • </BODY></html>

  11. การกำหนดหัวเรื่อง รูปแบบ<Hx>ข้อความ</Hx> ตัวอย่าง<H1>หัวข้อใหญ่สุด</H1> ในการกำหนดขนาดให้หัวเรื่องนั้นมีการกำหนด ไว้ 6 ระดับตั้งแต่ 1 - 6 โดย x แทนตัวเลขแต่ละลำดับโดย H1 มีขนาดใหญ่ที่สุด H6 เล็กที่สุดเมื่อต้องการใช้หัวเรื่องที่มีขนาดตัวอักษรเท่าใดเขียนอยู่ระหว่าง <Hx>....</Hx>

  12. การกำหนดขนาดตัวอักษร รูปแบบ<FONT SIZE=x>ข้อความ</FONT> ตัวอย่าง <FONT SIZE=2>bcoms.net</FONT>เราสามารถกำหนดขนาดของตัวอักษรให้แตกต่างกันได้ ภายในบรรทัดเดียวกัน โดยเราใช้ <FONT SIZE=value> มากำหนด โดยที่ value เป็นตัวเลขแสดงขนาด ตัวอักษร 7 ขนาด ตัวเลขยิ่งมาก ยิ่งมีขนาดใหญ่ ตั้งแต่ -7 ไปจนถึง +7

  13. คำสั่งในการกำหนดลักษณะตัวอักษร (Style) • การกำหนดตัวอักษรตัวหนาใช้แท็ก <B> • การกำหนดตัวอักษรตัวเอียงใช้แท็ก <I> • การกำหนดขีดเส้นใต้ตัวอักษรใช้แท็ก <U> • การกำหนดตัวอักษรตัวพิมพ์ดีดใช้แท็ก <TT> • การกำหนดขีดเส้นพาดทับกลางตัวอักษรใช้แท็ก <S> • การกำหนดตัวอักษรตัวห้อยใช้แท็ก <SUB> • การกำหนดตัวอักษรตัวยกใช้แท็ก <SUP> • การกำหนดตัวอักษรตัวโตใช้แท็ก <BIG> • การกำหนดตัวอักษรตัวเล็กใช้แท็ก <SMALL>

  14. คำสั่งปรับแต่งตัวหนังสือคำสั่งปรับแต่งตัวหนังสือ • ตัวหนา คือ "b" หรือจะใช้ "B" ก็ได้ครับและใช้สองคำสั่งพร้อมกันได้ • <B><U>หนาและขีดเส้นใต้</U></B> จะได้ หนาและขีดเส้นใต้

  15. อักษรตัวหนา (Bold) รูปแบบ<B>ข้อความ</B> ตัวอย่าง<B>bcoms.net</B> จะทำให้ข้อความที่อยู่ใน <B>....</B> มีความหนาเกิดขึ้น เช่น bcoms.net

  16. อักษรตัวเอน (Itatic) รูปแบบ<I>ข้อความ</I> ตัวอย่าง<I>bcoms.net</I> ทำให้ข้อความที่อยู่ใน<I>....</I> เกิดเป็นตัวเอนขึ้น เช่น bcoms.net

  17. ตัวขีดเส้นใต้ (Underline) รูปแบบ<U>ข้อความ</U> ตัวอย่าง<U>bcoms.net</U> ทำให้ข้อความที่อยู่ใน <U>.....<U> มีเส้นขีดอยู่ใต้ตัวอักษรเกิดขึ้น เช่น bcoms.net

  18. ตัวอักษรมีขนาดคงที่ (Typewriter text) รูปแบบ<TT>ข้อมความ</TT> ตัวอย่าง<TT>bcoms.net</TT> ทำให้ข้อความ ที่อยู่ใน<TT>.....</TT> มีลักษณะเป็น fixed space เกิดขึ้น เช่น bcoms.net

  19. แบบตัวอักษร (FONT) รูปแบบ<FONT FACE="font name>ข้อความ</FONT> ตัวอย่าง <FONT FACE="AngsanaUPC">bcoms.net </FONT> Font name เป็นชื่อของ Font ที่เราต้องการให้เป็น เช่น <FONT FACE="AngsanaUPC"> bcoms.net</FONT>

  20. การกำหนดขนาด Font ทั้งเอกสาร รูปแบบ<Basefont size="X"> ตัวอย่าง<Basefont size=3> เป็นการกำหนดขนาดของตัวอักษรในโฮมเพจให้มีขนาด เท่ากันทั้งเอกสาร เพื่อสะดวกเราจะได้ไม่ต้องกำหนดบ่อย ๆ ปกติแล้วจะกำหนดขนาดเป็น 3 โดยไม่ต้องมีตัวปิดเหมือนคำสั่งอื่น ๆ (X แทนตัวเลข)

  21. การกำหนดกึ่งกลางหน้าเว็บเพจการกำหนดกึ่งกลางหน้าเว็บเพจ รูปแบบ<CENTER>ข้อความ</CENTER> ตัวอย่าง<CENTER>คอมพิวเตอร์เบื้องต้น</CENTER> คำว่า คอมพิวเตอร์เบื้องต้น จะอยู่ตรงกึ่งกลางหน้าเว็บพอดี

  22. การกำหนดสี

  23. การกำหนดสีตัวอักษร รูปแบบ<FONT COLOR=“สี”>ข้อความ</FONT> ตัวอย่าง<FONT COLOR=“BLUE”>คอมพิวเตอร์</FONT> ผลลัพธ์ คือ คำว่า “ คอมพิวเตอร์ ” จะแสดงเป็นสีน้ำเงิน

  24. การกำหนดสีพื้นหลังให้หน้าเว็บเพจการกำหนดสีพื้นหลังให้หน้าเว็บเพจ รูปแบบ<BODY BGCOLOR=“สี”> ตัวอย่าง <BODY BGCOLOR=“YELLOW”> กำหนดสีพื้นหลังจากชื่อสีมาตรฐาน ผลลัพธ์ คือ พื้นหน้าเว็บจะกลายเป็นสีเหลือง ----------------------------------------- นอกจากนี้ยังกำหนดสีพื้นหลังจากเลขฐาน 16

  25. คำสั่งที่ไม่ต้องใช้คำสั่งปิดคำสั่งที่ไม่ต้องใช้คำสั่งปิด • เช่น • คำสั่งขึ้นบรรทัดใหม่ (Line Break) <BR> • คำสั่งสร้างเส้นในแนวนอนของหน้าจอ<HR> ตัวอย่าง …………………… • <HTML> • <HEAD><TITLE> Break Rule </TITLE></HEAD> • <BODY> •       Microsoft ถูกตัดสินโดยศาลสหรัฐแล้ว<BR> • โดยศาลสั่งให้ Microsoft แยกบริษัทออกเป็นบริษัทย่อย ๆ<HR> • </BODY> • </HTML>

  26. การขีดเส้นคั่น รูปแบบ<HR WIDTH=“ความยาวของเส้น”> <HR SIZE=“ขนาดของเส้น”> <HR COLOR=“สีของเส้น”> <HR Align = "ตำแหน่งการจัดวาง" > ตัวอย่าง <HR WIDTH=“250”SIZE=“10” COLOR=“RED”>

  27. ชนิดของรูปภาพ การแทรกภาพบนเว็บเพจ 1. Graphics Interchange Format (GIF) เป็นภาพที่มีการบีบอัดข้อมูล ภาพจึงมีขนาดเล็ก แต่สีที่รูปภาพในแบบ GIF นั้นสามารถแสดงผลได้เพียง 256 สี จึงเหมาะกับภาพในลักษณะภาพวาด 2. Joint Photographic Experts Group (JPEG หรือ JPG) เป็นรูปภาพที่ถูกบีบอัดข้อมูลไว้ ซึ่งคุณภาพของภาพที่ได้จะมีคุณภาพลดลงตามขนาดที่บีบอัดข้อมูล แต่ไม่จำกัดจำนวนสี ไฟล์ภาพแบบ JPEG เหมาะสำหรับภาพในลักษณะภาพถ่าย

  28. การแทรกรูปภาพให้หน้าเว็บเพจการแทรกรูปภาพให้หน้าเว็บเพจ รูปแบบ<IMG SRC=“ชื่อรูปภาพ”></IMG> ตัวอย่าง <IMG SRC=“PIC01.JPG”></IMG> ผลลัพธ์ คือ พื้นหน้าเว็บจะกลายเป็นสีเหลือง

  29. การใส่รูปภาพ • ระบุด้วย Tag img <imgscr=“x”> โดยที่ x คือไฟล์รูปภาพที่ต้องการแสดง เช่น <imgscr=“logo.jpg”> • หากไฟล์รูปภาพไม่ได้เก็บไว้ที่ path (ตำแหน่ง)เดียวกับเอกสาร html จะต้องระบุ path ของรูปภาพไว้หน้าไฟล์ด้วย เช่น <imgscr= “http://www.macare.net/images/logo.jpg”> ตัวอย่าง …………………… <html> <head><title>Font</title></head> <body> Google Banner <br> <imgsrc=“http://www.macare.net/images/logo.jpg "> </body> </html>

  30. คำสั่งในการสร้างตาราง (Table) • Tag • คำอธิบาย • <TABLE> ... </TABLE> คำสั่งในการสร้างตาราง • <CAPTION> ... </CAPTION> คำสั่งในการกำหนดข้อความกำกับตาราง • <TR> ... </TR> คำสั่งในการกำหนดแถวของตาราง 1 แถว • <TH> ... </TH> คำสั่งในการกำหนดส่วนหัวของตารางแถวแรก • <TD> ... </TD> คำสั่งในการกำหนดส่วนของข้อมูลในแถว หรือทำคอลัมน์

  31. โครงสร้างของคำสั่งในการสร้างตารางโครงสร้างของคำสั่งในการสร้างตาราง • <TABLE>   <CAPTION>   ข้อความกำกับตาราง   </CAPTION>   <TR>      <TH>   ข้อความส่วนหัว    </TH>      ....................      ....................   </TR>   <TR>      <TD>   ข้อความส่วนของข้อมูล    </TD>      ........................      ........................   </TR>   <TR>      <TD>   ข้อความส่วนของข้อมูล    </TD>      ........................      ........................   </TR>   ........................   ........................   ........................ • </TABLE>

  32. การเชื่อมโยงเว็บเพจ (Link) • การสร้างจุดเชื่อมโยงข้อความ (Text Link) • ในการเชื่อมโยงเวบเพจเราจะใช้แท็ก <A> โดยการกำหนดข้อความในเอกสาร HTML เป็นจุดเชื่อมโยง โดยมีรูปแบบดังนี้ • <A HREF = "URL"> ข้อความ </A> • เช่น <A HREF="http://www.ru.ac.th/">มหาวิทยาลัยรามคำแหง</A><BR><A HREF="http://www.cu.ac.th/">จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย</A><BR><A HREF="http://www.tu.ac.th/">มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์</A><BR>

  33. การสร้างจุดเชื่อมโยงกับรูปภาพ (Graphic Link) • เป็นการกำหนดให้รูปภาพเป็นจุดเชื่อมโยง โดยมีรูปแบบดังนี้ • <A HREF = "URL"><IMG SRC = "ชื่อไฟล์"></A> • เช่น • <A HREF="http://www.thairath.com/"><IMG SRC="thairath.gif" BORDER="0"></A>

More Related