1 / 65

ER 2104 หลักการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ 3 ( 3-0 )

ผู้สอน อ.ไพรศิลป์ ปินทะนา สาขาวิชาการประเมินและการวิจัย. ER 2104 หลักการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ 3 ( 3-0 ). คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่. หน่วยที่ 2 พฤติกรรมทางการศึกษา. ระบุพฤติกรรมทางการศึกษาที่ต้องการวัดและประเมินผลได้

jetta
Télécharger la présentation

ER 2104 หลักการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ 3 ( 3-0 )

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ผู้สอน อ.ไพรศิลป์ ปินทะนา สาขาวิชาการประเมินและการวิจัย ER 2104 หลักการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ 3(3-0) คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่

  2. หน่วยที่ 2พฤติกรรมทางการศึกษา

  3. ระบุพฤติกรรมทางการศึกษาที่ต้องการวัดและประเมินผลได้ระบุพฤติกรรมทางการศึกษาที่ต้องการวัดและประเมินผลได้ อธิบายความหมาย พฤติกรรมพุทธิพิสัย จิตพิสัย และทักษะพิสัยได้ บอกลำดับขั้นการเกิดพฤติกรรมพุทธิพิสัย จิตพิสัย และทักษะพิสัยในระดับต่างๆ ได้ เขียนจุดประสงค์การเรียนการสอนในพฤติกรรมพุทธิพิสัย จิตพิสัย และทักษะพิสัยได้ จุดประสงค์การเรียนรู้

  4. พฤติกรรมทางการศึกษา พฤติกรรมที่พึงประสงค์ของผู้เรียนภายหลังจากผ่านกระบวนการทางการศึกษาไปแล้ว ซึ่งจะระบุไว้ในจุดมุ่งหมายของการศึกษา เพื่อให้ครูผู้สอนได้ตระหนักอยู่เสมอว่าจะสอนอะไร จะสอนไปทำไม สอนให้ผู้เรียนมีคุณลักษณะออกมาในรูปใด ดังนั้นในการสอน การวัดและประเมินผลการศึกษาครูจะต้องยึดพฤติกรรมทางการศึกษาเป็นหลัก ในวงการศึกษาปัจจุบัน นักการศึกษาต้องการที่จะประเมินผลการเรียนการสอนอย่างมีประสิทธิภาพ โดยประเมินตามจุดประสงค์ที่สัมพันธ์กับการเรียนการสอน

  5. พฤติกรรมทางการศึกษา(กรมวิชาการ 2534) C A P พฤติกรรมพุทธิพิสัย (C: Cognitive Domain) ความคิด สมอง สติปัญญา จำแนกเป็น 6 ระดับ โดย Benjamin S. Bloomและคณะ (Bloom 1971) พฤติกรรมจิตพิสัย (A: Affective Domain) ค่านิยม ทัศนคติ ความสนใจ ความซาบซึ้ง เริ่มจากการรับรู้สิ่งแวดล้อม บุคคลจะมีปฏิกิริยาตอบโต้กับสิ่งแวดล้อม ประกอบด้วย 5 ระดับขั้นตามแนวคิดของ แครทโฮล(David R. Krathwohl) ปี 1964 พฤติกรรมทักษะพิสัย (P: Psychomotor Domain) พฤติกรรมที่เกี่ยวกับกลไกลความเคลื่อนไหว การใช้อวัยวะต่างๆของร่างกาย การประสานงานกล้ามเนื้อ ประสาท เป็นพฤติกรรมที่เกิดจากการผสมผสานพฤติกรรมพุทธิพิสัยกับจิตพิสัย แบ่งเป็น 5 ระดับตามแนวคิดของ ดาเว่(Dave 1969)

  6. จุดประสงค์การเรียนรู้...จุดประสงค์การเรียนรู้... กำหนดให้สอดคล้องกับสมรรถนะสำคัญและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียนหลังจากสำเร็จการศึกษา ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ซึ่งประกอบด้วย • ด้านความรู้ความคิด (Knowledge: K) • ด้านคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยม(Affective: A) • ด้านทักษะกระบวนการ (Performance: P)

  7. Benjamin S. Bloomและคณะ (Bloom 1971) Bloom Benjamin Samuel Born: 1913 ADDied: 1999 AD at 86 years of age.

  8. แครทโฮล(David R. Krathwohl) ปี 1964 David R. Krathwohl currently the Hannah Hammond Professor of Education Emeritus at Syracuse University has made notable contributions to the field of educational psychology. While studying with Benjamin Bloom he co-authored the Taxonomy of Educational Objectives known as Bloom's taxonomy. He is a past president of the American Educational Research Association.

  9. พฤติกรรมทักษะพิสัย (P: Psychomotor Domain) Psychomotor Domains[edit] Besides Bloom there are several other noted learning theorists that explain this domain. The four primary domains have been developed by RH Dave (1967) EJ Simpson (1972) AJ Harrow (1972) and A Romiszowski. Dave’s Psychomotor Domain is the simplest domain and easy to apply in a corporate environment. The Psychomotor Domains defined by Harrow and Simpson are better suited for certain adult training and for teaching young adults and children. The table below compares each of the Psychomotor Domains.

  10. พฤติกรรมการศึกษา พุทธิพิสัย จิตพิสัย ทักษะพิสัย • การรับ • การตอบสนอง • การให้ค่านิยม • การจัดรวบรวม • การพัฒนาลักษณะนิสัยจากค่านิยม ความรู้-ความจำ ความเข้าใจ การนำไปใช้ การวิเคราะห์ การสังเคราะห์ การประเมินค่า • เลียนแบบ • ทำตามคำสั่ง • ทำเพื่อความถูกต้อง • ทำอย่างสร้างสรรค์ต่อเนื่อง • ทำได้เหมือนธรรมชาติ

  11. ความรู้-ความจำ ความเข้าใจ การนำไปใช้ การวิเคราะห์ การสังเคราะห์ การประเมินค่า พุทธิพิสัย

  12. การประเมินค่า การสังเคราะห์ การวิเคราะห์ การนำไปใช้ ความเข้าใจ ความรู้-ความจำ

  13. P28

  14. P36

  15. ตัวอย่าง เนื้อหา อาหารหลัก 5 หมู่ ระดับพฤติกรรม ความเข้าใจ คำกริยา ยกตัวอย่าง ประโยคจุดประสงค์การเรียนการสอน นักเรียนสามารถยกตัวอย่างอาหารประเภทคาร์โบไฮเดรตได้ การเขียนจุดประสงค์การเรียนการสอนพฤติกรรมพุทธิพิสัย * นักเรียนสามารถ + คำกริยา + ส่วนขยายพฤติกรรมตามเนื้อหาวิชา *

  16. ตัวอย่าง เนื้อหา อาหารหลัก 5 หมู่ ระดับพฤติกรรม การนำไปใช้ คำกริยา เลือก ประโยคจุดประสงค์การเรียนการสอน นักเรียนสามารถเลือกรับประทานอาหารประเภทโปรตีนได้ นักเรียนสามารถ +คำกริยา + ส่วนขยายพฤติกรรมตามเนื้อหาวิชา

  17. P38

  18. P38 • การรับ • การตอบสนอง • การให้ค่านิยม • การจัดรวบรวม • การพัฒนาลักษณะนิสัยจากค่านิยม จิตพิสัย

  19. การรับ • การตอบสนอง • การให้ค่านิยม • การจัดรวบรวม • การพัฒนาลักษณะนิสัยจากค่านิยม

  20. ตัวอย่างที่ 1 เนื้อหา การป้องกันโรคติดต่อ ระดับพฤติกรรม การรับ ลักษณะพฤติกรรมตั้งใจฟัง คำกริยาถาม ประโยคจุดประสงค์การเรียนการสอน นักเรียนตั้งใจฟังครูสอนเรื่องการป้องกันโรคติดต่อตลอดจนสามารถถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ตรงประเด็น การเขียนจุดประสงค์การเรียนการสอนพฤติกรรมจิตพิสัย นักเรียน+ลักษณะพฤติกรรม+ เนื้อหาวิชา+ คำกริยา+เนื้อหาวิชา

  21. ตัวอย่างที่ 2 เนื้อหา การวาดภาพเหมือน ระดับพฤติกรรม การให้ค่านิยม ลักษณะพฤติกรรมซาบซึ้งในศิลปะ คำกริยาบรรยาย ประโยคจุดประสงค์การเรียนการสอน นักเรียนมีความซาบซึ้งในศิลปะภาพเหมือนและสามารถบรรยายรายละเอียดองค์ประกอบของภาพได้เป็นอย่างดี การเขียนจุดประสงค์การเรียนการสอนพฤติกรรมจิตพิสัย นักเรียน+ลักษณะพฤติกรรม+ เนื้อหาวิชา+ คำกริยา+เนื้อหาวิชา

  22. เลียนแบบ • ทำตามคำสั่ง • ทำเพื่อความถูกต้อง • ทำอย่างสร้างสรรค์ต่อเนื่อง • ทำได้เหมือนธรรมชาติ ทักษะพิสัย

More Related