1 / 36

403221 เคมีอินทรีย์ สารประกอบเฮโลเจน และแอลคิลเฮไลด์

403221 เคมีอินทรีย์ สารประกอบเฮโลเจน และแอลคิลเฮไลด์. ผศ. ดร. วราภรณ์ พาราสุข ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. โครงสร้างของแอลคิลเฮไลด์. สมบัติทางกายภาพ. จุดเดือด แอลคิลเฮไลด์มีจุดเดือดใกล้เคียงกับแอลเคนที่มีมวลโมเลกุลใกล้เคียงกัน

Télécharger la présentation

403221 เคมีอินทรีย์ สารประกอบเฮโลเจน และแอลคิลเฮไลด์

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. 403221 เคมีอินทรีย์สารประกอบเฮโลเจน และแอลคิลเฮไลด์ ผศ. ดร. วราภรณ์ พาราสุข ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 403221-alkyl halide

  2. โครงสร้างของแอลคิลเฮไลด์โครงสร้างของแอลคิลเฮไลด์ 403221-alkyl halide

  3. สมบัติทางกายภาพ • จุดเดือด • แอลคิลเฮไลด์มีจุดเดือดใกล้เคียงกับแอลเคนที่มีมวลโมเลกุลใกล้เคียงกัน • สารประกอบ polyfluoroalkane มีจุดเดือดต่ำกว่าปกติ เช่น CF3CF3 (MW 138) มีจุดเดือด -79oC ในขณะที่ decane (MW 144) มีจุดเดือด174oC 403221-alkyl halide

  4. การละลาย • สารประกอบเฮโลเจนส่วนใหญ่ละลายน้ำได้น้อยมาก แต่ละลายในตัวทำละลายไม่มีขั้ว • CH2Cl2 CHCl3 CCl4เป็นตัวทำละลายที่ดีสำหรับสารอินทรีย์ไม่มีขั้ว • ความหนาแน่น • alkyl fluoride และ alkyl chloride มีความหนาแน่นต่ำกว่าน้ำ • alkyl bromide และ alkyl iodide มีความหนาแน่นสูงกว่าน้ำ • สารประกอบที่มีเฮโลเจนมากกว่า 1 อะตอมมักมีความหนาแน่นสูงกว่าน้ำ 403221-alkyl halide

  5. การเตรียมแอลคิลเฮไลด์การเตรียมแอลคิลเฮไลด์ 1. เตรียมจากแอลกอฮอล์ R-OH 403221-alkyl halide

  6. 2. Halogenation ของแอลเคน วิธีนี้เหมาะสำหรับสารตั้งต้นแอลเคนที่มี H เพียงชนิดเดียวเท่านั้น 403221-alkyl halide

  7. 3. Halogenation ของแอลคีน 403221-alkyl halide

  8. 4. Halide exchange ของแอลคิลเฮไลด์ • วิธีนี้มักใช้สำหรับการเตรียมแอลคิลไอโอไดด์ • เกิดได้ดีที่สุดเมื่อ R-X เป็นชนิด 1o R-X 403221-alkyl halide

  9. ปฏิกิริยาของแอลคิลเฮไลด์ปฏิกิริยาของแอลคิลเฮไลด์ 1. Nucleophilic Substitution (SN) 403221-alkyl halide

  10. Nucleophile คือไอออนที่มีประจุลบ หรือโมเลกุลเป็นกลางที่มีอิเล็กตรอนคู่โดดเดี่ยว (lone pair) อย่างน้อย 1 คู่ • Leaving groupในแอลคิลเฮไลด์คือไอออนเฮไลด์ หมู่ leaving group ที่ดี เมื่อหลุดออกไปแล้วจะเป็นโมเลกุล หรือไอออนที่เสถียร และเป็นเบสอ่อน เช่น Cl-, Br-, I- 403221-alkyl halide

  11. 403221-alkyl halide

  12. 2. ปฏิกิริยาการขจัด (Elimination) dehydrohalogenation 1,2-elimination เบสที่ใช้อาจเป็น KOH ในแอลกอฮอล์ (alcoholic KOH) หรือ NaOEt/EtOH 403221-alkyl halide

  13. 3. การเตรียม Grignard reagent 4. ปฏิกิริยา Reduction 403221-alkyl halide

  14. กลไกปฏิกิริยา Nucleophilic substitution (SN) การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น 2 อย่าง -นิวคลีโอไฟล์เข้าทำปฏิกิริยา -เฮโลเจนหลุดออก • กลไกของปฏิกิริยาอาจเป็น • พันธะระหว่างคาร์บอนกับเฮโลเจนในสารตั้งต้นแตกออกก่อนที่นิวคลีโอไฟล์จะเข้าทำปฏิกิริยา • ทั้ง 2 กระบวนการเกิดขึ้นพร้อมๆ กัน 403221-alkyl halide

  15. กลไกแบบ bimolecular nucleophilic substitution (SN2) • นิวคลีโอไฟล์เข้าทำปฏิกิริยาพร้อมๆ กับที่ leaving group หลุดออก • อัตราเร็วของการเกิดปฏิกิริยาขึ้นกับความเข้มข้นของทั้งสารตั้งต้นและนิวคลีโอไฟล์ ลำดับความว่องไวต่อการเกิดปฏิกิริยาแบบ SN2 ของ R-X CH3 > 1o > 2o >> 3o 403221-alkyl halide

  16. Stereochemistry ของปฏิกิริยาแบบ SN2 • ผลิตภัณฑ์ที่ได้จะมี configuration ตรงข้ามกับสารตั้งต้น • นิวคลีโอไฟล์จะเข้าทำปฏิกิริยาด้านตรงข้ามกับ leaving group 403221-alkyl halide

  17. กลไกแบบ unimolecular nucleophilic substitution (SN1) • อัตราเร็วของปฏิกิริยาขึ้นกับความเข้มข้นแอลคิลเฮไลด์เท่านั้น • ปฏิกิริยาเกิดหลายขั้นตอน ลำดับความว่องไวต่อการเกิดปฏิกิริยาแบบ SN1 ของ R-X 3o > 2o > 1o > CH3 403221-alkyl halide

  18. ขั้นที่ 1 leaving groupหลุดออก กลไกแบบ unimolecular nucleophilic substitution (SN1) ขั้นที่ 2 นิวคลีโอไฟล์เข้าทำปฏิกิริยา ขั้นที่ 3 403221-alkyl halide

  19. Carbocation คาร์โบแคทไอออน • เป็นสารมัธยันตร์ (intermediate) ในปฏิกิริยาแบบ SN1 • อะตอมคาร์บอนที่มีประจุบวกของคาร์โบแคทไอออนเป็นคาร์บอนชนิด sp2 ลำดับความเสถียรของคาร์โบแคทไอออน 3o > 2o > 1o > CH3 403221-alkyl halide

  20. Stereochemistry ของปฏิกิริยาแบบ SN1 • คาร์โบแคทไอออนมีรูปร่างเป็นสามเหลี่ยมแบนราบ • นิวคลีโอไฟล์สามารถเข้าทำปฏิกิริยาได้ทั้ง 2 ด้านของระนาบเท่า ๆ กัน ปฏิกิริยาเกิดผ่านคาร์โบแคทไอออนดังนี้ 403221-alkyl halide

  21. ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราเร็วของปฏิกิริยาแบบ SN1 และ SN2 • โครงสร้างของแอลคิลเฮไลด์ R-X • 3o R-X จะเกิดปฏิกิริยาแบบ SN1 ดีที่สุด • CH3X และ 1o R-X จะเกิดปฏิกิริยาแบบ SN2 ดีที่สุด • ความเข้มข้นและความว่องไวของนิวคลีโอไฟล์ Nu • เมื่อเพิ่มความเข้มข้นและความว่องไวของ Nu ปฏิกิริยาแบบ SN2 จะเกิดได้ดี • Nu ที่มีประจุลบจะว่องไวกว่า Nu ที่เป็นกลาง • เช่น OH- ว่องไวกว่า H2O และ RO- ว่องไวกว่า ROH เป็นต้น 403221-alkyl halide

  22. ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราเร็วของปฏิกิริยาแบบ SN1 และ SN2 • ตัวทำละลาย • ปฏิกิริยา SN1 เกิดได้ดีใน protic solvent เช่น น้ำ • ปฏิกิริยาSN2 เกิดได้ดีใน aprotic solvent เช่น DMF, DMSO • Leaving group • leaving group ที่ดี ปฏิกิริยาเกิดได้เร็วขึ้นทั้งแบบ SN1 และ SN2 • ลำดับของ leaving group ที่ดี I- > Br- > Cl- > F- 403221-alkyl halide

  23. กลไกแบบ bimolecular elimination (E2) กลไกปฏิกิริยา Elimination (E) ปฏิกิริยาเกิดขั้นตอนเดียว 403221-alkyl halide

  24. กลไกแบบ unimolecular elimination (E1) ปฏิกิริยาเกิดผ่าน carbocation ดังนี้ 403221-alkyl halide

  25. การเกิดปฏิกิริยาแทนที่หรือขจัดออกการเกิดปฏิกิริยาแทนที่หรือขจัดออก • ปฏิกิริยา SN2 หรือ E2 • E2 : Nu- ทำหน้าที่เป็นเบสเข้าทำปฏิกิริยากับ b-H • SN2 : Nu- เข้าทำปฏิกิริยากับ a-C 403221-alkyl halide

  26. ปฏิกิริยา SN2 หรือ E2 • 1o R-X เกิด substitution มากกว่า elimination • 2o R-X เกิด elimination มากกว่า substitution • 3o R-X เกิด elimination เท่านั้น อาจเกิด SN1 เล็กน้อย 403221-alkyl halide

  27. ปฏิกิริยา SN1 หรือ E1 • อุณหภูมิต่ำจะเกิด SN1 มากกว่า E1 • อุณหภูมิสูงจะเกิด elimination มากกว่า • ถ้าต้องการปฏิกิริยา elimination เพียงอย่างเดียว การใช้เบสแก่ เช่น KOH ในแอลกอฮอล์ C2H5ONa / C2H5OH ที่อุณหภูมิสูงจะทำให้์ 3o R-X เกิดปฏิกิริยาแบบ E2 ได้ดี 403221-alkyl halide

  28. 403221-alkyl halide

  29. สารประกอบไดเฮโลเจน • geminal dihalides • vicinal dihalides • isolated dihalides 403221-alkyl halide

  30. ปฏิกิริยาของสารประกอบไดเฮโลเจนปฏิกิริยาของสารประกอบไดเฮโลเจน 1.ปฏิกิริยากับ NaOH หรือ KOH ในน้ำ (aqueous, aq.) 1.1 Geminal dihalide ได้ผลิตภัณฑ์เป็น aldehyde หรือ ketone 403221-alkyl halide

  31. 1.2 vicinal dihalide ได้ผลิตภัณฑ์เป็น glycol 1.3 isolated dihalide ได้ผลิตภัณฑ์เป็น dihydric alcohol 403221-alkyl halide

  32. 2. ปฏิกิริยากับ Zn , ความร้อน 2.1 Geminal dihalide ไม่เกิดปฏิกิริยา 2.2 vicinal dihalide ได้ผลิตภัณฑ์เป็น alkene 2.3 isolated dihalide ได้ผลิตภัณฑ์เป็น cycloalkane 403221-alkyl halide

  33. 3.ปฏิกิริยากับ NaOH หรือ KOH ในแอลกอฮอล์ (alc.KOH หรือ alc. NaOH) 3.1 Geminal dihalide ได้ผลิตภัณฑ์เป็น alkyne 3.2 vicinal dihalide ได้ผลิตภัณฑ์เป็น alkyne 3.3 isolated dihalide ได้ผลิตภัณฑ์เป็น diene 403221-alkyl halide

  34. สารประกอบออร์แกโนเมแทลิก (Organometallic compounds) พันธะระหว่าง C กับ โลหะในสารประกอบ organometallic • ionic • covalent • ระหว่าง ionic กับ covalent 403221-alkyl halide

  35. สารประกอบ organolithium • การเตรียม • ปฏิกิริยา 403221-alkyl halide

  36. สารประกอบ organomagnesium • การเตรียม • ปฏิกิริยา 403221-alkyl halide

More Related