1 / 15

นักปรัชญาการศึกษา

นักปรัชญาการศึกษา. นางสาว ดวงพร บุญเจริญ รหัสนักศึกษา 47064816. เกิดวันที่ : 4 พฤษภาคม ค.ศ. 1776 เมืองโอลเดนเบิร์ก ( Odenberg ) ประเทศเยอรมนี. Johann Friedrich Herbart โยฮัน ฟริดริค แฮร์บาร์ต. ถึงแก่กรรม : 14 สิงหาคม ค.ศ. 1841 เมืองก็อตติงเกน ( Gottingen ) ประเทศเยอรมนี.

landry
Télécharger la présentation

นักปรัชญาการศึกษา

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. นักปรัชญาการศึกษา นางสาว ดวงพร บุญเจริญ รหัสนักศึกษา 47064816

  2. เกิดวันที่ :4 พฤษภาคม ค.ศ. 1776 เมืองโอลเดนเบิร์ก (Odenberg) ประเทศเยอรมนี Johann Friedrich Herbartโยฮัน ฟริดริค แฮร์บาร์ต ถึงแก่กรรม:14 สิงหาคม ค.ศ. 1841 เมืองก็อตติงเกน (Gottingen)ประเทศเยอรมนี

  3. ประวัติการศึกษา • การศึกษาขั้นต้นที่โรงเรียนยิมเนเซียม (Gymnasiam) ที่เมืองโอลเดนเบิร์ก (Odenberg) ประเทศเยอรมนี • ระดับมหาวิทยาลัยที่ มหาวิทยาลัยเยนา (Jena)

  4. ผลงานของแฮร์บาร์ต ปี ค.ศ.1799 ผลงานเขียนเกี่ยวกับ “เปสตาลอสซี” - On Pestalozzi’s Latest Writing - How Gertrude Teaches her Children - Pestalozzi’s Idea of an A B C of observation ปี ค.ศ.1802 ได้รับเชิญให้เข้าทำการสอนที่มหาวิทยาลัยก็อตติงเกน ในสาขาปรัชญาทั่วไปและจิตวิทยา - เขียนตำราเกี่ยวกับจริยศาสตร์และปรัชญาทั่วไป

  5. ผลงานของแฮร์บาร์ต • ปี ค.ศ. 1809 ได้รับเชิญให้ไปเป็นศาสตราจารย์สอนวิชาปรัชญา สืบแทน อิมมานูเอล ค้านท์ (Immanuel Kant) ผู้มีชื่อเสียงโด่งดังในด้านปรัชญา ที่มหาวิทยาลัย โคนิกซ์เบิร์ก (Konigsberg) และเปิดโรงเรียนฝึกหัดครูขนาดย่อม โดยจัดให้มีการอภิปรายเกี่ยวกับวิชาครู และทฤษฎี ตลอดจนวิธีศึกษาในทางวิทยาศาสตร์ และการทดลองวิธีสอนแบบต่าง ๆ

  6. การฝึกหัดครู • แฮร์บาร์ต มีความสนใจเรื่องเกี่ยวกับฝึกหัดครูอยู่ 3 อย่าง คือ 1. ความมุ่งหมายของการสอน 2. วิชาที่สอน 3. วิธีสอน

  7. ผลงานที่สร้างชื่อเสียงผลงานที่สร้างชื่อเสียง ค.ศ.1815 Outline of Education Doctrine ค.ศ. 1816 The Book in Psychology ค.ศ. 1824 Psychology as Science

  8. ทฤษฎีทางจิตวิทยาของแฮร์บาร์ตทฤษฎีทางจิตวิทยาของแฮร์บาร์ต • เด็กเกิดมานั้นจิตใจว่างเปล่า ไม่มีอำนาจอะไรติดตัวมาจากธรรมชาติ • ความเจริญของจิตเกิดจากการกระทำ (Action) และปฏิกิริยา (Reaction) ของความรู้สึกนึกคิด • จิตส่วนที่เกี่ยวกับการหาเหตุผล ซึ่งเกิดจากการเรียนรู้วิชาคณิตศาสตร์ หากไม่ได้รับการดัดแปลงแก้ไข หรือเพิ่มเติมแล้ว เราไม่อาจจะ นำไปใช้ในการเรียนวิชาภาษา หรือธรรมชาติได้เลย

  9. ทฤษฎีการศึกษาของแฮร์บาร์ตทฤษฎีการศึกษาของแฮร์บาร์ต • ความมุ่งหมายของการศึกษา ควรเป็นไปเพื่อสังคมมากกว่าเอกชน และควรเป็นไปเพื่อการเตรียมตัวบุคคลให้ดำรงชีวิตอยู่อย่างสุขในสังคม มิใช่เป็นไปเพื่อความเหมาะสมกับแบบฉบับดั้งเดิม การส่งเสริมสร้างความเจริญตามธรรมชาติของผู้เรียน การรับการถ่ายทอดความรู้ หรือส่งเสริมแต่ความคิดความอ่าน แต่ควรเป็นไปเพื่อส่งเสริมศีลธรรมจรรยา และประชาคมทั้งหมดด้วย

  10. ทฤษฎีการศึกษาของแฮร์บาร์ตทฤษฎีการศึกษาของแฮร์บาร์ต ความสนใจของคนเรามีปัจจัยอยู่ 2 สถาน คือ • ความสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อม • ความสัมพันธ์กับประชาคม

  11. ทฤษฎีการศึกษาของแฮร์บาร์ตทฤษฎีการศึกษาของแฮร์บาร์ต แฮร์บาร์ต แบ่งวิชาความรู้ออกเป็น 2 พวก คือ • ประวัติศาสตร์ วรรณคดี และภาษา • วิทยาศาสตร์ และคณิตศาสตร์

  12. ทฤษฎีด้านจริยศาสตร์ของแฮร์บาร์ตทฤษฎีด้านจริยศาสตร์ของแฮร์บาร์ต โรงเรียนมีหน้าที่สำคัญอยู่ 2 ประการ คือ 1. ต้องจัดให้มีการเรียนการสอนวิชาที่เกี่ยวกับมนุษยธรรม (Humanistic Studies) 2. ต้องให้การอบรมแก่เด็กให้คุ้นเคยกับความคิดที่ดีงาม

  13. ทฤษฎีและวิธีการสอนของแฮร์บาร์ตทฤษฎีและวิธีการสอนของแฮร์บาร์ต • แฮร์บาร์ต ถือว่า ความสนใจ เป็นรากฐานที่สำคัญยิ่งของการเรียนรู้ และการสอนที่ดี ความสนใจหากเป็นไปเองโดยธรรมชาติก็ย่อมได้รับผลดี แต่ถ้าจำเป็นจะต้องทำให้เกิดขึ้นหรือบังคับสนใจ ก็อาจจะทำได้แต่ผลที่ได้รับจะไม่เป็นที่น่าพึง และเป็นไปได้ไม่นาน การชักจูงให้เด็กเกิดความสนใจขึ้นโดยไม่ต้องใช้อำนาจอย่างใดอย่างหนึ่ง หรือการ บังคับนั้นจำเป็นต้องอาศัยความสามารถของผู้สอน และเด็กจะต้องรู้สึกสนใจในวิชาที่ครูสอนอย่างจริงจัง จึงจะสามารถนำความรู้ใหม่ไปสัมพันธ์กับความรู้เก่าได้

  14. “วิธีสอนตามขั้นทั้ง 5 ของแฮร์บาร์ต” (Herbartian Five Formal Steps) • ขั้นเตรียม (Preparation) • ขั้นสอน (Presentation) • ขั้นทบทวน (Association or Comparision) • ขั้นสรุป (Formulation or Generalization) • ขั้นใช้ (Application)

  15. THANK YOU

More Related