460 likes | 755 Vues
สรุปผลการบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพ 2556. 456/2 ถ.เพชรเกษม อ.หาดใหญ่ จ.สงขลา. สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เขต 12 สงขลา. ข้อมูลประชากรในพื้นที่ เขต 12 สงขลา ณ วันที่ 5 ก.พ. 2556. หน่วย บริการในระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า จำแนกรายจังหวัด ณ 30 ส.ค. 56.
E N D
สรุปผลการบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพ 2556 456/2 ถ.เพชรเกษม อ.หาดใหญ่ จ.สงขลา สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติเขต 12 สงขลา
ข้อมูลประชากรในพื้นที่ เขต 12 สงขลาณ วันที่ 5 ก.พ. 2556
หน่วยบริการในระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า จำแนกรายจังหวัด ณ 30 ส.ค. 56
เป้าหมายการบริหารกองทุน ปี 2555 - 2558 ความทั่วถึง เท่าเทียม เป็นธรรม คุณภาพบริการ ประสิทธิภาพ การเป็นเจ้าของร่วมกัน และตรวจสอบได้ ป้องกันการล้มละลายจากความเจ็บป่วย
การเข้าถึงบริการรอคอยนานการเข้าถึงบริการรอคอยนาน • บริการผู้ป่วยใน • การผ่าตัดหัวใจแบบเปิด ลดระยะเวลารอคอย (waiting time) เหลือน้อยกว่า 365 วัน ในปี 2555 และ ไม่เกิน 180 วันในปี 2558 • เข้าถึง การผ่าตัดตาต้อกระจก ในเขตพื้นที่มากกว่าการเข้าถึงการผ่าตัดตาต้อกระจกเฉลี่ยของประเทศในแต่ละปี • โรคอัตราตายสูง
จำนวนผู้ป่วยSTEMIและการเข้าถึงยาละลายลิ่มเลือด PCI รายจังหวัด ปี2556 (6เดือน) ร้อยละ ที่มา : ฐานข้อมูลผู้ป่วยใน (IP eclaim)สปสช.ณ วันที่ 10มิย.56
ร้อยละ ที่มา : ฐานข้อมูลผู้ป่วยใน (IP eclaim)สปสช.ณ วันที่ 10มิย.56
ผลงานการผ่าตัดทั้งประเทศ 136,880 ดวงตา เป็นผลงาน ในพื้นที่ 7 จ.ภาคใต้ตอนล่าง= 5,078 ดวงตาหรือร้อยละ 3.7 ต่อปี ข้อมูลณ วันที่ 10 ต.ค. 56 จากฐานข้อมูล E-claim สปสช.
ผลงานการผ่าตัดต้อกระจก (UC) ปี 56( 11.5 เดือน) โดยหน่วยบริการในพื้นที่และหน่วยเคลื่อนที่
ผลงานการให้บริการ Asthma & COPD ปี 56 แยกรายจังหวัด (บาท)
การสนับสนุนเครือข่ายกลุ่มโรคอัตราตายสูงการสนับสนุนเครือข่ายกลุ่มโรคอัตราตายสูง • วัตถุประสงค์ • เพิ่มการเข้าถึงบริการกลุ่มโรคอัตราตายสูงอย่างทันเวลา • พัฒนาระบบการส่งต่อผู้ป่วยไปยังหน่วยบริการที่มีศักยภาพ และส่งกลับผู้ป่วยเพื่อการดูแลต่อเนื่อง • พัฒนาศักยภาพหน่วยบริการด้านการจัดการกลุ่มโรคอัตราตายสูง(STEMI ,Stroke ,Newborn,มะเร็ง,โรคหัวใจ) จำนวนเครือข่ายที่ได้รับการสนับสนุน เครือข่ายโรคหัวใจ :11 แห่ง เครือข่ายโรคหลอดเลือดสมอง :9 แห่ง เครือข่ายทารกแรกเกิด :10 แห่ง เครือข่ายมะเร็ง :9 แห่ง
ผังการกระจายของหน่วยบริการ CAPDรวม 10 +3 หน่วยบริการ รพ.สงขลานครินทร์ รพ.หาดใหญ่ รพ.สงขลา รพ.สมเด็จ ฯนาทวี 1 1 รพ.ตรัง รพ.พัทลุง รพ.สตูล รพ.ควนขนุน รพ.ห้วยยอด 1 3+1 1+1 2 1+1 รพ.ปัตตานี รพ.ยะลา รพ.นราธิวาสฯ รพ.สุไหงโก-ลก รพ.เบตง รพร.สายบุรี
ผังการกระจายของหน่วยบริการฟอกเลือด รวม 15+9 หน่วยบริการ (รัฐ+เอกชน) รพ.หาดใหญ่ รพ.สงขลา + รพ.เมืองสงขลา รพ.ระโนด รพ.ค่ายเสนาณรงค์ รพ.มิตรภาพสามัคคี (กำลังขยาย) รพ.กรุงเทพหาดใหญ่ รพ.ราษฏร์ยินดี รพ.ศิครินทร์ คลินิก นพ.เจริญ (กำลังขยาย) (รพ.สมเด็จ ฯ นาทวี) 1+1 1+2 รพ.ตรัง รพ.พัทลุง รพ.สตูล รพ.ตรังรวมแพทย์ รพ.วัฒนแพทย์ รพ.ปิยะรักษ์ (รพ.ควนขนุน) 2 1 4+5 รพ.ปัตตานี รพ.ยะลา (ขยาย) รพ.นราธิวาสฯ รพ.สุไหงโก-ลก รพ.เบตง รพ.ค่ายอิงคยุทธฯ รพ.แม่และเด็ก รพ.สิโรรส 3+1 2
การลงทะเบียนผู้ป่วยบำบัดทดแทนไต(หน่วยบริการประจำUC) เขต 12ณ 30 มิย.56
สรุป : การบริหารจัดการโรคไตวาย ปัญหาและอุปสรรค ในการดำเนินงาน 1. อัตราการรอดชีวิตของผู้ป่วย CAPD และ HD ต่ำกว่าค่าเฉลี่ยประเทศ สาเหตุ • ผู้ป่วยส่วนใหญ่เข้าถึงบริการล่าช้า เนื่องจากไม่ได้เข้าสู่ กระบวนการคัดกรองใน CKD คลินิก • การตัดสินใจเพื่อ RRT ล่าช้า • คุณภาพการบริการ? แนวทางแก้ไข • สนับสนุนให้เกิดการคัดกรองผู้ป่วยโดยบูรณาการคลินิกเบาหวาน ความดัน และ CKD คลินิก ครอบคลุมทุกจังหวัด (ต่อเนื่อง ปี 2555-2556) - สนับสนุนการพัฒนาโปรแกรม CKD/RRT โดย สสจ.พัทลุง และ รพ.หาดใหญ่ • พัฒนาคุณภาพบริการ ( CQI ) ให้เกิดการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง • ประสาน/ผลักดันการแก้ไขปัญหาผ่านการประชุมใน Service Plan
สรุป : การบริหารจัดการโรคไตวาย 2. อัตราการเข้าถึงบริการ RRT ต่ำกว่าค่าเฉลี่ยประเทศ (ต่ำสุดในประเทศ) สาเหตุ • ผู้ป่วยส่วนใหญ่ไม่ได้เข้าสู่กระบวนการรักษาเบาหวานความดัน ทำให้ขาดการเข้าถึงการคัดกรองและส่งต่ออย่างเป็นระบบ • ผู้ป่วยที่ได้รับการวินิจฉัยเป็น ESRD การตัดสินใจเพื่อ RRT ล่าช้า จนทำให้เสียชีวิตก่อน RRT • ผู้ป่วยส่วนหนึ่งปฏิเสธ CAPD ทำ HD ที่หน่วยบริการเอกชน (2.2) • ผู้ป่วย HD จ่ายเงินเอง ในหน่วยบริการ 2.1 ไม่ได้รับการลงทะเบียนรับ EPO ฟรี แนวทางแก้ไข • สนับสนุนให้เกิดการคัดกรองผู้ป่วยโดยบูรณาการคลินิกเบาหวาน ความดัน และ CKD คลินิก ครอบคลุมทุกจังหวัด (ต่อเนื่อง ปี 2555-2556) - สำรวจ/ประสานการลงทะเบียน EPO และกระตุ้นเชิญชวนหน่วยบริการ 2.2เป็น 2.1 • ประสาน/ผลักดันการแก้ไขปัญหาผ่านการประชุมใน Service Plan
ร่วมกับภาคีเครือข่ายด้านสุขภาพร่วมกับภาคีเครือข่ายด้านสุขภาพ
ร้อยละการเข้าถึงบริการโรคเบาหวาน เขต 12 สงขลาปีงบประมาณ 2553 – 2556 (2 ไตรมาส)
ร้อยละการเข้าถึงบริการโรคความดันโลหิตสูง เขต 12 สงขลาปีงบประมาณ 2553 – 2556 (2 ไตรมาส) Company Logo
ที่มา:จากรายงานสรุปผลงานกองทุยยาในโครงการเพิ่มการเข้าถึงยากำพร้า ณ. 31.03.55 จำนวน(ราย) สปสช เขต 1. Dimercaprol 50 mg/ml (Bal)2. 3% Sodium nitrite 3. 25% sodium thiosulfate4. 1% Methylene blue 5. Glucagon 1 mg6.Succimer 200 mg 7. Diphtheria antitoxin8. Calcium disodium edetate 200 mg/ml 9. Botulinum antitoxin 10. Digoxin-specific antibody fragment 38 mg
ที่มา:จากรายงานสรุปผลงานกองทุยยาในโครงการเพิ่มการเข้าถึงยากำพร้า ณ. 31.07.56 สปสช.เขต
ข้อมูลการเบิกชดเชย ยา จ 2สปสช เขต 12 สงขลา โรงพยาบาลนราธิวาส และ สตูล ยังไม่มีข้อมูลการเบิกชดเชย ยา จ. 2 ที่มา: ข้อมูลโปรแกรมการเบิกยา สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เดือนตุลาคม 2556
ข้อมูลการเบิกชดเชย ยา จ 2สปสช เขต 12 สงขลา ที่มา: ข้อมูลโปรแกรมการเบิกยา สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เดือนมิถุนายน 2556
บริการฟื้นฟูสมรรถภาพ ปี 2555-2556
บริการเครื่องช่วยความพิการ ปี 2555-2556
ผลการให้บริการแพทย์แผนไทย จำแนกรายจังหวัด( 9 เดือน) ปัญหา : รพ.สต.ที่มีบริการการแพทย์แผนไทย มีการสั่งใช้ยาสมุนไพรพื้นฐาน ไม่ครบ 5 รายการ เป้าหมาย ร้อยละ 60 ผลงาน ร้อยละ 40.59
ตารางแสดงการให้บริการฟันเทียมในกลุ่มผู้สูงอายุ 60 ปี ขึ้นไป ณ วันที่ 31 กรกฎาคม 2556
ผลการส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนาเครือข่ายบริการปฐมภูมิผลการส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนาเครือข่ายบริการปฐมภูมิ
คุณภาพความถูกต้อง ของข้อมูล OPPP Individual Dataปีงบประมาณ2556
กองทุน จ่ายชดเชยตามผลงานบริการ OP/PP เป้าหมาย พัฒนาฐานข้อมูลการให้บริการผู้ป่วยนอก และสร้างเสริมป้องกันโรค ที่มีความครบถ้วน ถูกต้อง และทันเวลา เพื่อสามารถนำไปใช้ในการคำนวณค่าใช้จ่ายที่เหมาะสมสำหรับการให้ค่าบริการผู้ป่วยนอก Company Logo
ร้อยละข้อมูล OPPP ที่ผ่านการประมวลผลจำแนกรายจังหวัด เขต 12 สงขลา ปี 2552-2556 ปี 2556 เป้าหมาย 90%
สร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค
ผลงานสะสมการดำเนินงานคัดกรองมะเร็งปากมดลูก ปี2553-2556 เขต 12 สงขลา รายจังหวัด เป้าหมายปี’56 =64% สตรีอายุ 30-60 ปี
ร้อยละผลงานสะสมการดำเนินงานคัดกรองมะเร็งปากมดลูก ปี2553-2556 จังหวัดสงขลา เป้าหมายปี’56 =64% สตรีอายุ 30-60 ปี
ร้อยละผลงานสะสมการดำเนินงานคัดกรองมะเร็งปากมดลูก ปี2553-2556 จังหวัดสตูล เป้าหมายปี’56 =64% สตรีอายุ 30-60 ปี
ร้อยละผลงานสะสมการดำเนินงานคัดกรองมะเร็งปากมดลูก ปี2553-2556 จังหวัดตรัง เป้าหมายปี’56 =64% สตรีอายุ 30-60 ปี
ร้อยละผลงานสะสมการดำเนินงานคัดกรองมะเร็งปากมดลูก ปี2553-2556 จังหวัดพัทลุง เป้าหมายปี’56 =64% สตรีอายุ 30-60 ปี
ผลงานสะสมการดำเนินงานคัดกรองมะเร็งปากมดลูก ปี2553-2556 จังหวัดปัตตานี เป้าหมายปี’56 =64% สตรีอายุ 30-60 ปี
ร้อยละผลงานสะสมการดำเนินงานคัดกรองมะเร็งปากมดลูก ปี2553-2556จังหวัดยะลา เป้าหมายปี’56 =64% สตรีอายุ 30-60 ปี
ร้อยละผลงานสะสมการดำเนินงานคัดกรองมะเร็งปากมดลูก ปี2553-2556จังหวัดนราธิวาส เป้าหมายปี’56 =64% สตรีอายุ 30-60 ปี
สถานะการรับรองคุณภาพโรงพยาบาล (HA)เขต 12 สงขลา ณ มิถุนายน 2556 Company Logo
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น KPI 1 : กองทุนมีกิจกรรมคัดกรอง HT และ/หรือ DM ในชุมชนระดับ verbalscreening 87% KPI 2 : กองทุนมีกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค หรือฟื้นฟูสมรรถภาพ ในกลุ่มผู้สูงอายุหรือผู้พิการ 88% ที่มา : tobt.nhso.go.th เมื่อ 30 กันยายน 2556
ยอดเงินที่สมทบปี 56 ที่มา : tobt.nhso.go.th เมื่อ 30 กันยายน 2556
Thank You ! สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เขต ๑๒สงขลา