1 / 29

วันศุกร์ที่ 20 พฤศจิกายน พ.ศ. 2552 เวลา 9.00 น . - 17.00 น . ณ ห้องราชเทวี โรงแรมเอเชีย ถนนพญาไท กรุงเทพฯ จัดโดย บริษ

บริษัท บัญชีกิจบริหาร จำกัด. การสัมมนาการกุศล “ ตามให้ทันมาตรฐานการบัญชี ที่ประกาศใหม่ปี 2552 และประเด็นปัญหาในทางปฏิบัติ ”. วันศุกร์ที่ 20 พฤศจิกายน พ.ศ. 2552 เวลา 9.00 น . - 17.00 น . ณ ห้องราชเทวี โรงแรมเอเชีย ถนนพญาไท กรุงเทพฯ จัดโดย บริษัท บัญชีกิจบริหาร จำกัด. เอกสารประกอบ

lora
Télécharger la présentation

วันศุกร์ที่ 20 พฤศจิกายน พ.ศ. 2552 เวลา 9.00 น . - 17.00 น . ณ ห้องราชเทวี โรงแรมเอเชีย ถนนพญาไท กรุงเทพฯ จัดโดย บริษ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. บริษัท บัญชีกิจบริหาร จำกัด การสัมมนาการกุศล “ตามให้ทันมาตรฐานการบัญชี ที่ประกาศใหม่ปี 2552 และประเด็นปัญหาในทางปฏิบัติ” วันศุกร์ที่ 20 พฤศจิกายน พ.ศ. 2552 เวลา 9.00 น. - 17.00 น. ณ ห้องราชเทวี โรงแรมเอเชีย ถนนพญาไท กรุงเทพฯ จัดโดย บริษัท บัญชีกิจบริหาร จำกัด

  2. เอกสารประกอบ การบรรยายเพิ่มเติม รศ.ดร.วรศักดิ์ ทุมมานนท์

  3. TAS ในปัจจุบัน • TAS ที่มีผลบังคับใช้มี 30 ฉบับ การตีความ 3 ฉบับ และแม่บทการบัญชี 1 ฉบับ • ส่วนใหญ่อ้างอิงจากมาตรฐานการรายงานทางการเงินระหว่างประเทศ (IFRS) (ปรับปรุง 2549) (25) ซึ่งอาจแตกต่างจากฉบับปรับปรุง 2552 อย่างมีสาระสำคัญ • บางฉบับอ้างอิงจากมาตรฐานการบัญชีของสหรัฐอเมริกา (US GAAP) (4) • บางฉบับไม่ได้อ้างอิงจากมาตรฐานสากล (1)

  4. มาตรฐานการบัญชีที่อ้างอิงจากมาตรฐานของอเมริกามาตรฐานการบัญชีที่อ้างอิงจากมาตรฐานของอเมริกา • TAS 26 การรับรู้รายได้สำหรับธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ (TAS 18) • TAS 34 การบัญชีสำหรับการปรับโครงสร้างหนี้ที่มีปัญหา (TAS 39)  ไม่อนุญาตให้ผู้ให้กู้เลือกใช้ market interest rate, WACC เป็นอัตราคิดลดในการคำนวณกระแสเงินสดที่จะเก็บได้จากลูกหนี้ เพื่อเอาไปคำนวณขาดทุนจากการปรับโครงสร้างหนี้ เหลือเพียงอัตราเดียวใช้ได้คือ original contract rate • TAS 40 การบัญชีสำหรับเงินลงทุนในตราสารหนี้และตราสารทุน (TAS 39)(MTM ยังได้อยู่กับเงินลงทุนเพื่อค้า เผื่อขาย / amortized cost ใช้กับเงินลงทุนในตราสารหนี้ตั้งใจครบกำหนด ปี 56 จะเปิดโอกาสให้เลือกใช้ fair value option กับ สท และ หส ทางการเงิน + รับรู้กำไรขาดทุนใน p/l หากกิจการประเมินผลสำเร็จของการบริหาร สท หรือ หส โดยใช้กำไรสุทธิเป็นตัววัด • TAS 42 การบัญชีสำหรับกิจการที่ดำเนินธุรกิจและเฉพาะด้านการลงทุน (TAS 39) • TAS 39 = IAS 39  การรับรู้และวัดมูลค่าของเครื่องมือทางการเงิน(2556)  เราอยาก ER

  5. มาตรฐานการบัญชีที่ไม่ได้อ้างอิงจากมาตรฐานสากลมาตรฐานการบัญชีที่ไม่ได้อ้างอิงจากมาตรฐานสากล • TAS 11 หนี้สงสัยจะสูญและหนี้สูญ  เมื่อถึงปี 56 (TAS 39) ลูกหนี้/เงินให้กู้เคยตั้งค่าเผื่อ ได้ 3 วิธี 1) % ของยอดค่าขายเชื่อ 2) % ของลูกหนี้ปลายงวด 3) agingจะลาจาก เปลี่ยนเป็นทบทวนด้อยค่าเป็นแต่ละราย โดยใช้วิธีพยากรณ์กระแสเงินสดเท่าที่จะเก็บได้ แล้วคิดลดมาเป็นมูลค่าปัจจุบัน ส่วนต่างระหว่างกระแสเงินสดคิดลดกับมูลหนี้ที่ลูกค้าติดเรา คือ ขาดทุนจากการด้อยค่าของลูกหนี้ dr. ขาดทุนจากด้อยค่า – ลูกหนี้ xx cr. ค่าเผื่อด้อยค่า xx

  6. อาจ pool ลูกหนี้ที่มี similar pattern of risk และ duration • หากต่อมา สถานการณ์ลูกหนี้ดีขึ้น ทบทวนพยากรณ์ใหม่ dr. ค่าเผื่อฯ xx cr. กำไรจากการโอนกลับ ขาดทุนด้อยค่า xx

  7. TAS ที่มีผลบังคับใช้สำหรับรอบระยะเวลาบัญชีที่เริ่มในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม 2551 • TAS 1 การนำเสนองบการเงิน • TAS 2 สินค้าคงเหลือ • TAS 7 งบกระแสเงินสด  เร็วๆ นี้ จะถูกนำมาให้มาจัดทำกับ บ ที่มิใช่มหาชน + แสดงกระแสเงินสดจากการดำเนินงานทางตรง • TAS 8 นโยบายบัญชี การเปลี่ยนแปลงประมาณการและ ข้อผิดพลาด • TAS 11 สัญญาก่อสร้าง • TAS 17 สัญญาเช่า • TAS 23 ต้นทุนการกู้ยืม • TAS 34 งบการเงินระหว่างกาล

  8. TAS ที่มีผลบังคับใช้สำหรับรอบระยะเวลาบัญชีที่เริ่มในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม 2552 • แม่บทการบัญชี • TAS 36 การด้อยค่าของสินทรัพย์ (แม้บังคับ บ มหาชน แต่ บ มิใช่มหาชน ต้องทบทวนด้อยค่าของ สท ไม่หมุนเวียนด้วย แต่มูลค่าที่จะนำมาเทียบกับราคาตามบัญชี อาจกำหนดโดยใช้วิธีที่ไม่ต้องซับซ้อนเท่า ) • TFRS 5 สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนที่ถือไว้เพื่อขายและการดำเนินงานที่ยกเลิก • แนวปฏิบัติทางการบัญชีสำหรับการรวมธุรกิจภายใต้การควบคุมเดียวกัน • แนวปฏิบัติทางการบัญชีสำหรับการบันทึกบัญชีสิทธิการเช่า • อาจ download แนวปฏิบัติฯ จาก www.sec.or.th มุมนักบัญชี

  9. TAS ที่รอประกาศในราชกิจจานุเบกษา (2554) • TAS 16 ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ • TAS 18 รายได้ • TAS 19 ผลประโยชน์พนักงาน  เงินชดเชยตาม กม แรงงาน ความง่ายอยู่ที่ 1) การคำนวณจำนวนเงินชดเชยต้องใช้หลักคณิตศาสตร์เดินเรือสมุทร (ไม่ต้องอาศัยข้อมูลจาก H/R + สมมุติฐานทางด้านประชากรศาสตร์ เช่น อัตรามรณะ + อาศัยคิดลด)2) คำนวณย้อนหลังสำหรับสิ่งไม่เคยตั้งในอดีต คำถามลงบัญชียังไง 1) เกลี่ยจำนวนไม่เคยตั้งไม่เกิน 5 รอบ โดยปรับกับกำไรสะสม 2) รับรู้เป็นรายการปรับปรุงกำไรสะสม หมดเลย หากมีกำไรสะสมดีพอ 3) รับรู้ทั้งจำนวนเข้า p/l ของปี 54 (tentative)(คุณสุทีม) • TAS 20 การบัญชีสำหรับเงินอุดหนุนจากรัฐบาลและการเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับความช่วยเหลือจากรัฐบาล (2555) • TAS 21 ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงของอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ  ธุรกิจหาให้ได้ว่า บ เรามี functional currencyเป็นอะไร อาจทำให้ธุรกิจในเมืองไทย ต้องบัญชีเป็น 2 สกุล (พี่แน่งน้อย PWC, พี่รุจน์ ERNST) • TAS 24 การเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกัน เครียดตรงที่เปิด key management compensation

  10. TAS ที่รอประกาศในราชกิจจานุเบกษา (2554) • TAS 26 การบัญชีและการรายงานโครงการผลประโยชน์เมื่อ เกษียณอายุ • TAS 29 การรายงานทางการเงินในสภาพเศรษฐกิจที่เงินเฟ้อรุนแรง • TAS 33 กำไรต่อหุ้น • TAS 40 การบัญชีสำหรับอสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน • TAS 41 เกษตรกรรม  1) MTM พ่อพันธุ์ แม่พันธุ์ หรือ Cost Model แต่ต้องตัดค่าเสื่อม 2) รับรู้ผลผลิต ณ จุดเก็บเกี่ยว  อยากดู ต ย ให้ไปที่account.acc.chula.ac.th  คุณพี่สุพจน์ (CPALL) • TFRS 1 การปรับใช้มาตรฐานการรายงานทางการเงินครั้งแรก (อ.ธวัชชัย) • TFRS 2 การจ่ายโดยใช้หุ้นเป็นเกณฑ์ ESOP

  11. แม่บทการบัญชี • ไม่ใช่มาตรฐานบัญชี • กรอบอ้างอิงที่ทำให้ TAS ทุกฉบับ อยู่ในแนวคิดของแม่บท • ทำให้เราทำบัญชีอยู่ 3 หลัก • ความระมัดระวัง  แนวปฏิบัติคดีในศาล : คดีพิพาทผ่านตัดสินศาลชั้นต้น ว่ากิจการต้องชดใช้ค่าเสียหาย แม้กิจการระหว่างอุธรณ์  มีสิ่งบ่งชี้ว่าแพ้มากกว่าไม่แพ้  ตั้ง provision ไม่รอคดีถึงที่สุด

  12. ความระมัดระวัง • ไม่ overstate สินทรัพย์  การตั้ง allowance เพื่อ write-down ลงสู่ recoverable amount • ไม่ understate หนี้สิน  การตั้ง provision 1) คดีในศาล 2) เงินชดเชยตาม กม แรงงาน • ไม่นำสู่การตั้งสำรองลับ 1) golden year : แอบตั้งค่าเผื่อมากกว่าจริง ลดระดับกำไรลง 2) ปีตกต่ำสุด  Big Bath ล้างบาง

  13. สาระสำคัญ (materiality)  Override TAS บางฉบับ หากทำตาม ไม่ได้ช่วยให้งบการเงินถูกต้อง ตามควร มากขึ้น

  14. เนื้อหา > รูปแบบ • สัญญาเช่า leasing/hire purchase • งบรวม ทำได้ ทั้งๆ ที่แม่กับลูกเป็นคนละนิติบุคคลกัน • ขายและเช่ากลับคืน (sale and leaseback) ธุรกรรมจัดหาเงินเกือบทั้งนั้น ระวังว่าขายไม่ขาดจริง + structure สัญญาเช่า ให้ดูเหมือนว่าเป็น operating lease

  15. ขณะนี้ • TAS = IFRS (25 ฉบับ) + US GAAP (4 ฉบับ) + เขียนเอง (1 ฉบับ)

  16. การตีความ • เป็นส่วนหนึ่งของมาตรฐานบัญชี • มาตรฐานฯ ยังไม่สามารถนำมาใช้โดยตรงกับบางธุรกรรม  สินทรัพย์ที่สร้างขึ้นภายใต้ BTO

  17. ตัวอย่างกู้เงิน 100 บาท อัตราดอกเบี้ย = 4%จ่ายทุก 6 เดือน 3 ปี , อัตราดอกเบี้ยตลาด 6% • เดิม: Dr. เงินสด 100 Cr. เงินกู้ 100

  18. ใหม่ : • FV ของเงินกู้ = PV ของดอกเบี้ย + PV ของเงินต้น = 98 บาท(ตัวเลขสมมติ)

  19. การบันทึกบัญชี Dr. เงินสด 100 Cr. เงินกู้ 98 กำไรจากการก่อหนี้ 2

  20. บันทึกดอกเบี้ยจ่าย Dr. ดอกเบี้ยจ่าย xx Cr. ดอกค้างจ่าย xx Dr. ดอกเบี้ยจ่าย xx Cr. เงินกู้ xx

  21. ในอนาคต มาตรฐานบัญชีไทย • TAS = IAS มาตรฐานใดแปลจาก IAS ฉบับ นั้นก็จะเรียกว่า TAS คือ มาตรฐานการบัญชี • IFRS = TFRS มาตรฐานการรายงานทางการเงิน • แปลกแต่จริงTFRS = TAS + TFRS

  22. อสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุนอสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน • PPE ที่มีรายได้หลักในรูปค่าเช่า • PPE ที่ถือไว้เพื่อเก็งกำไร • มาตรฐานฯ ที่ไม่เปลืองเงิน เพราะไม่ต้องใช้ independent valuer

  23. ปี 54 • จัดจำแนกรายการใหม่ • เลือก • Fair Value Model ตีราคาอสังหาฯ ให้เป็น FV + รับรู้กำไรขาดทุนจากการตีราคาไป P/L (BLAND, PSL, SC) • Cost Model คิดค่าเสื่อมอาคาร/อุปกรณ์นำทำนองเดียวกับ PPE แต่เปิดเผยในหมายเหตุ ถึง FVของอสังหาฯ

  24. Component Acctg • THAI เครื่องบิน • เบาะ 4 ปี • คอม 3 ปี • เครื่องครัว 10 ปี • เครื่องยนต์ ชั่วโมง การบิน

  25. แนวคิด behind C/A • จำนวนเงินของส่วนประกอบเป็นสาระ ถ้าไม่แยกบิดเบือนค่าเสื่อม • อายุแต่ละส่วนไม่เท่ากัน • รูปแบบหมดประโยชน์แต่ละส่วนไม่เหมือนกัน • ราคาซากก็ต่างกันด้วย

  26. First time adotption • ไม่นิรโทษกรรมกับ สินทรัพย์ ได้มาก่อน 1/1/54

  27. Hello: พี่สมศักดิ์ วิศวะ นี่เวียนพูดนะ มยุรีสบายไม๊ เข้าเรื่องเถอะ ขอความร่วมมือ ช่วยสำรวจ สท ถาวร หน่อยเถอะ ว่ามีรายการไหนที่มูลค่าส่วนประกอบเยอะ เปลี่ยนเป็นระยะๆ รูปแบบหมด ป ย แปลกๆ พรุ่งนี้เวียนต้องการ แยกมูลค่ามาด้วย อย่าโทรมานะ แยกยังไง อย่าถาม เดี๋ยวส่ง TAS 16 ไปให้ดู สรุปมาด้วยว่าแต่ละส่วนอายุใช้งานเท่าไร ซากด้วยจะดี ขอบคุณ พรุ่งนี้นะ เดี๋ยวแวะไปหา (สุธาสินี GLOW พี่ปริศนา PTT )

  28. Manrin • สร้างอาคารลงบนที่ดินเช่า + ยกกรรมสิทธิ์ให้จุฬาฯ + จ่ายค่าเช่าที่ดิน ในราคาถูกกว่าราคาตลาด Dr. WIP xx Cr. บัญชีต่างๆ XX  หาราคาตลาดของทั้งค่าเช่าที่ดิน ค่าเช่าอาคาร แบ่งจาก WIP ตามสัดส่วนราคาทั้ง 2

  29. การบันทึกบัญชี Dr. ค่าเช่าที่ดินล่วงหน้า xx อาคาร xx Cr. WIP xx

More Related