1 / 7

หลักการการวิจัยการจัดการความรู้ ( Principles of Knowledge Management Research) KM704

หลักการการวิจัยการจัดการความรู้ ( Principles of Knowledge Management Research) KM704. น.ส.ผาณิตดา แสนไชย รหัสนักศึกษา 542132007. การจัดการความรู้เพื่อการพัฒนาทักษะเกษตรกรผู้เพาะปลูกถั่วอะซูกิ : กรณีศึกษา มูลนิธิโครงการหลวง. ที่มา ความสำคัญ.

Télécharger la présentation

หลักการการวิจัยการจัดการความรู้ ( Principles of Knowledge Management Research) KM704

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. หลักการการวิจัยการจัดการความรู้(Principles of Knowledge Management Research) KM704 น.ส.ผาณิตดา แสนไชย รหัสนักศึกษา 542132007

  2. การจัดการความรู้เพื่อการพัฒนาทักษะเกษตรกรผู้เพาะปลูกถั่วอะซูกิ: กรณีศึกษา มูลนิธิโครงการหลวง

  3. ที่มา ความสำคัญ โครงการหลวงได้เริ่มต้นขึ้นเมื่อปีพ.ศ.2512 เนื่องจากพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงเล็งเห็นถึงปัญหาการปลูกฝิ่นของชาวเขา จึงทรงมีพระราชดำริว่า ถ้าจะให้ชาวเขา เลิกปลูกฝิ่นก็ต้องหาพืชอื่นที่ขายได้ราคาดีกว่าและมีความเหมาะสมที่จะปลูกในที่สูง มาให้ชาวเขาปลูกทดแทนเป็นรายได้เสียก่อน จึงจะสามารถเลิกปลูกฝิ่นได้ พืชทดแทนที่โครงการหลวงได้นำเข้ามาทำการทดลองปลูกบนที่สูง มีจำนวนมากมาย หลายชนิด ทั้งพันธุ์ไม้ ผลไม้ พืชเมืองหนาวต่างๆมีจำหน่ายตลอดปี ซึ่งเป็นที่รู้จักและนิยมทั่วไป สามารถส่งออกต่างประเทศ ลดการนำเข้าจากต่างประเทศได้

  4. ถั่วอะซูกิ เป็นพืชที่โครงการหลวงกำลังต้องการพัฒนา เพิ่มผลผลิตส่งให้ตลาด และขยายตลาดเติบโตได้ในอีก 4-5 ปีข้างหน้า ซึ่งเป็นพืชใหม่และเป็นพืชตระกูลถั่วที่ยังไม่ได้เข้าอยู่ในระบบตลาดเหมือนถั่วชนิดอื่นๆ เกษตรกรที่เพาะปลูกถั่วอะซูกิมีอยู่ในหลายพื้นที่ได้แก่ ปางอุ๋ง, แกน้อย, ขุนแปะ, หนองเขียว ซึ่งจะมีวิธีการเพาะปลูกที่แตกต่างกันตามขนบธรรมเนียมของแต่ละชนเผ่า พื้นที่เพาะปลูก การใช้สารเคมี เทคโนโลยีในการเพาะปลูก และความสามารถทักษะของแต่ละบุคคล จึงต้องการพัฒนาทักษะของเกษตรกรในด้านการเกษตรที่เหมาะสม และให้ได้ผลผลิตที่ดีมีปริมาณมากขึ้น โดยใช้ต้นทุนที่ต่ำลง

  5. โจทย์วิจัย โจทย์วิจัยหลัก - จะสามารถพัฒนาทักษะทางด้านการเกษตรของเกษตรกรผู้เพาะปลูกถั่วอะซูกิได้อย่างไร โจทย์วิจัยรอง - ปัจจุบันการทำเกษตรของเกษตกรเป็นอย่างไร - จะสามารถปรับเปลี่ยนแนวทางการผลิตเดิมได้หรือไม่ อย่างไร - สภาพแวดล้อม พื้นที่การเพาะปลูกเอื้ออำนวยกับการเพาะปลูกได้ดีพอหรือยัง

  6. วัตถุประสงค์ - เพื่อพัฒนา/เพิ่มทักษะให้เกษตรกรด้านแนวทางการเพาะปลูกถั่วอะซูกิ - เพื่อให้เกษตรกรทำการเกษตรยั่งยืน - ลดต้นทุนการผลิต เพิ่มผลผลิตได้ โดยไม่มีหนี้สิน

  7. ผลที่คาดว่าจะได้รับ - เกษตรกรได้รับความรู้ที่เหมาะสมในกระบวนการเพาะปลูกถั่วอะซูกิ - สภาพแวดล้อม พื้นที่เพาะปลูกยังคงอุดมสมบูรณ์ - ลดต้นทุนการผลิต ผลผลิตสูงขึ้น

More Related