1 / 20

การจัดการความรู้สำหรับผู้บริหาร K nowledge M anagement O verview

การจัดการความรู้สำหรับผู้บริหาร K nowledge M anagement O verview.

mahlah
Télécharger la présentation

การจัดการความรู้สำหรับผู้บริหาร K nowledge M anagement O verview

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การจัดการความรู้สำหรับผู้บริหารการจัดการความรู้สำหรับผู้บริหาร Knowledge Management Overview

  2. “In today's economy the most important resource is no longer labour, capital or land -it is knowledge.”“ในยุคเศรษฐกิจปัจจุบันทรัพยากรที่สำคัญที่สุดจะไม่ใช่เรื่องแรงงาน เงินทุนหรือที่ดินอีกต่อไป แต่จะเป็นเรื่อง ความรู้” Peter Drucker

  3. คุณค่าของ “ความรู้” ความรู้เป็นสินทรัพย์ ใช้แล้วไม่มีวันหมด ยิ่งใช้ยิ่งเพิ่ม ยิ่งใช้มากเท่าไร ยิ่งมีคุณค่าเพิ่มมากขึ้น

  4. ความรู้ (Knowledge) สารสนเทศ (Information) ข้อมูล (Data) ปิรามิดแสดงลำดับขั้นของความรู้ (อ้างอิงจาก : Hideo Yamazaki)

  5. แหล่งเก็บความรู้ในองค์กร(คลังความรู้)แหล่งเก็บความรู้ในองค์กร(คลังความรู้) ฐานข้อมูลความรู้ (Knowledge Base ,IT) สมองของพนักงาน 12% เอกสาร (Electronic) 42% 20% 26% เอกสาร (กระดาษ) Source: Survey of 400 Executives by Delphi

  6. ความรู้ที่ชัดแจ้ง (Explicit Knowledge) อธิบายได้ แต่ยังไม่ถูกนำไปบันทึก ( 1 ) อธิบายไม่ได้ อธิบายได้ แต่ไม่อยากอธิบาย ( 2 ) ( 3 ) ความรู้ที่ฝังอยู่ในคน (Tacit Knowledge) 9

  7. รูปแบบของความรู้ เอกสาร(Document) กฎ ระเบียบ(Rule) วิธีปฏิบัติงาน(Practice) ระบบ(System) ความรู้ที่ชัดแจ้ง (Explicit Knowledge) ทักษะ(Skill) ประสบการณ์(Experience) ความคิด(Mind of individual) พรสวรรค์(Talent) ความรู้ที่ฝังอยู่ในคน (Tacit Knowledge)

  8. วงจรความรู้ (Knowledge Spiral: SECI Model) ความรู้ที่ฝังอยู่ในคน (Tacit Knowledge) ความรู้ที่ฝังอยู่ในคน (Tacit Knowledge) Socialization Externalization ความรู้ที่ชัดแจ้ง (Explicit Knowledge) Combination Internalization ความรู้ที่ชัดแจ้ง (Explicit Knowledge) ( อ้างอิงจาก : Nonaka & Takeuchi )

  9. องค์ประกอบสำคัญของวงจรความรู้องค์ประกอบสำคัญของวงจรความรู้ • คนถือว่าเป็นองค์ประกอบที่สำคัญที่สุด • - เป็นแหล่งความรู้ • - เป็นผู้นำความรู้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์ 2. เทคโนโลยีเป็นเครื่องมือเพื่อให้คนสามารถค้นหา จัดเก็บแลกเปลี่ยน นำความรู้ไปใช้ได้อย่างง่ายและรวดเร็วขึ้น 3. กระบวนการความรู้เป็นการบริหารจัดการเพื่อนำความรู้จากแหล่งความรู้ไปให้ผู้ใช้ เพื่อทำให้เกิดการปรับปรุงและนวัตกรรม

  10. ความหมายการจัดการความรู้ความหมายการจัดการความรู้ Ryoko Toyama: การจัดการเพื่อเอื้อให้เกิดความรู้ใหม่โดยใช้ความรู้ ที่มีอยู่และประสบการณ์ของคนในองค์กรอย่างเป็นระบบ เพื่อพัฒนา นวัตกรรมที่จะทำให้เกิดความได้เปรียบเหนือคู่แข่งทางธุรกิจ Arthur Andersen: การสนับสนุนให้พนักงานในองค์กรรวบรวม ค้นหา แลกเปลี่ยนความรู้และนำมาใช้เพื่อบรรลุวัตถุประสงค์ทางธุรกิจ ขององค์กร

  11. ความหมายการจัดการความรู้ความหมายการจัดการความรู้ นพ.วิจารณ์ พานิช: กระบวนการที่ดำเนินการร่วมกันโดย ผู้ปฏิบัติงานในองค์กรหรือหน่วยงานย่อยขององค์กร เพื่อสร้าง และใช้ความรู้ในการทำงานให้เกิดผลสัมฤทธิ์ดีขึ้นกว่าเดิม โดยมีเป้าหมายพัฒนางานและคน โดยใช้ความรู้และการจัดการความรู้เป็นเครื่องมือ

  12. การจัดการความรู้ (Knowledge Management) การบริหารจัดการเพื่อให้ “คน”ที่ต้องการใช้ความรู้ ได้รับความรู้ที่ต้องการใช้ ในเวลาที่ต้องการ เพื่อให้บรรลุเป้าหมายการทำงาน Right Knowledge Right People Right Time (Source: APQC)

  13. ประโยชน์ของการจัดการความรู้ประโยชน์ของการจัดการความรู้ เพิ่มศักยภาพในการตัดสินใจ สร้างการยอมรับ เกิดความยืดหยุ่น นวัตกรรม ใส่ที่มาของข้อมูล ประโยชน์ที่ได้รับ เพิ่มประสิทธิภาพและประสิทธิผล พัฒนาคุณภาพ ลดการทำงานซ้ำซ้อน การกระจายอำนาจ สัดส่วนผู้เห็นด้วย 90% 50% 60% 70% 80%

  14. บริษัท ซีเมนส์ (Siemens AG) ธนาคารโลก (World Bank) บริษัท ซีร็อกซ์ (Xerox) บริษัท ไอบีเอ็ม (IBM Global Services) การลดต้นทุน  การนำความรู้และประสบการณ์มาใช้ซ้ำ    ความเร็ว  นวัตกรรม  การนำความรู้และทักษะในการจัดการความรู้มาใช้    การสร้างตราสินค้าใหม่และความแตกต่างในตลาด   การพัฒนาคุณภาพของความรู้   องค์กร วัตถุประสงค์ของการจัดการความรู้

  15. เป้าหมายของการจัดการความรู้เป้าหมายของการจัดการความรู้ องค์กร บรรลุเป้าหมาย มีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล (บรรลุเป้าหมาย) คนและ องค์กร เก่งขึ้น การทำงาน คิดเป็น ทำเป็น คน

  16. องค์กรของท่านทำสิ่งเหล่านี้หรือไม่?องค์กรของท่านทำสิ่งเหล่านี้หรือไม่? ทำให้ความรู้เป็น ทรัพย์สินที่มีความสำคัญ แบ่งปันความรู้ และการปฏิบัติที่เป็นเลิศ ปลูกฝังความรับผิดชอบ ในการแบ่งปันความรู้ Microsoft นำประสบการณ์ ในอดีตมาใช้ให้เป็น ประโยชน์ มีความเข้าใจและ วัดคุณค่าของความรู้ จัดทำฐานความรู้ เกี่ยวกับลูกค้า นำความรู้ไปใช้กับ ผลิตภัณฑ์ การบริการ และกระบวนการ Spansion จัดทำเครือข่าย ผู้เชี่ยวชาญ ผลักดันให้มีการสร้าง ความรู้เพื่อนวตกรรม ผลิตความรู้เสมือน เป็นผลิตภัณฑ์

  17. Knowledge gaps เราต้องมีข้อมูล/ความรู้อะไร? • วิสัยทัศน์ • พันธกิจ • ยุทธศาสตร์ • Organization level • Departmental level • Project level • Process level เรามีข้อมูล/ความรู้อะไร?

  18. กระบวนการจัดการความรู้(Knowledge Management Process) 1. การค้นหาความรู้ที่จำเป็นต้องมี (Knowledge Identification) เราต้องมีความรู้เรื่องอะไรเพื่อให้บรรลุเป้าหมายขององค์กร เรามีความรู้เรื่องนั้นหรือยัง ความรู้อยู่ที่ใคร อยู่ในรูปแบบอะไร จะเอามาเก็บรวมกันได้อย่างไร 2. การสร้างและแสวงหาความรู้ (Knowledge Creation and Acquisition) 3. การจัดความรู้ให้เป็นระบบ (Knowledge Organization) จะแบ่งประเภท หัวข้ออย่างไร 4. การประมวลและกลั่นกรองความรู้ (Knowledge Codification and Refinement) จะทำให้เข้าใจง่ายและสมบูรณ์อย่างไร เรานำความรู้มาใช้งานได้ง่ายหรือไม่ 5. การเข้าถึงความรู้ (Knowledge Access) มีการแบ่งปันความรู้ให้กันหรือไม่ 6. การแบ่งปันแลกเปลี่ยนความรู้ (Knowledge Sharing) ความรู้นั้นทำให้เกิดประโยชน์กับองค์กรหรือไม่ ทำให้องค์กรดีขึ้นหรือไม่ หรือบรรลุเป้าหมายขององค์กรหรือไม่ 7. การเรียนรู้ (Learning)

  19. ทำอย่างไรให้กระบวนการจัดการความรู้ “มีชีวิต” • รู้ว่าจะทำอะไร • ทำแล้ว ตัวเอง • ได้ประโยชน์อะไร คน ต้อง “อยาก” ทำ คน ต้องมีทรัพยากรที่จำเป็น (เครื่องมือ ฯลฯ) คน ต้องรู้ว่าทำอย่างไร (ฝึกอบรม, เรียนรู้) คน ต้องประเมินได้ว่าทำได้ตามเป้าหมายหรือ ทำแล้วได้ประโยชน์หรือไม่ คน ต้อง “อยาก” ทำ และปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง (มีแรงจูงใจ)

  20. กระบวนการจัดการการเปลี่ยนแปลงกระบวนการจัดการการเปลี่ยนแปลง (Change Management Process) การยกย่องชมเชย และการให้รางวัล (Recognition and Reward) การวัดผล (Measurements) การเรียนรู้ (Learning) เป้าหมาย (Desired State) กระบวนการ และเครื่องมือ (Process Tools) การสื่อสาร (Communication) การเตรียมการและ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม (Transition and Behavior Management) Robert Osterhoff

More Related