200 likes | 726 Vues
ยุทธศาสตร์ชาติว่าด้วยการป้องกัน และปราบปรามการทุจริตภาครัฐ ผ่านกลไกการศึกษาและแนวทางการปฏิบัติสู่การแก้ไขปัญหาอย่างยั่งยืน. นายอุทิศ บัวศรี ผู้ช่วยเลขาธิการคณะกรรมการ ป.ป.ช. สำนักงาน ป.ป.ช. การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชาติฯ ผ่านกลไกทางการศึกษา. กลไกการขับเคลื่อน.
E N D
ยุทธศาสตร์ชาติว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริตภาครัฐ ผ่านกลไกการศึกษาและแนวทางการปฏิบัติสู่การแก้ไขปัญหาอย่างยั่งยืน นายอุทิศ บัวศรี ผู้ช่วยเลขาธิการคณะกรรมการ ป.ป.ช. สำนักงาน ป.ป.ช.
การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชาติฯ ผ่านกลไกทางการศึกษา
กลไกการขับเคลื่อน • บันทึกข้อตกลงระหว่างกระทรวงศึกษาธิการกับสำนักงาน ป.ป.ช. • คณะอนุกรรมการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชาติว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริตโดยใช้กลไกการศึกษา • คณะอนุกรรมการส่งเสริมความรู้ด้านป้องกันและปราบปรามการทุจริตในระดับอาชีวศึกษา
เนื้อหาหลักสูตรอาชีวศึกษาเนื้อหาหลักสูตรอาชีวศึกษา • รัฐสมัยใหม่ • การขัดกันระหว่างประโยชน์ส่วนบุคคลกับประโยชน์ส่วนรวมใต้
แนวทางการปฏิบัติสู่การแก้ปัญหาอย่างยั่งยืนแนวทางการปฏิบัติสู่การแก้ปัญหาอย่างยั่งยืน • หลักเกณฑ์การปฏิบัติหน้าที่ของเจ้าหน้าที่ของรัฐ • ปทัสถานทางกฎหมาย( Legal norm) ขัดกับปทัสถานทางสังคม(Social norm) • ที่มาของปทัสถานทางกฎหมายนำเข้าจากตะวันตก โดยผลของสนธิสัญญาบาวริง • ที่มาของปทัสถานทางสังคมนำเข้าจากอินเดีย (ดูกฎหมายตราสามดวง)
แนวทางการปฏิบัติสู่การแก้ปัญหาอย่างยั่งยืนแนวทางการปฏิบัติสู่การแก้ปัญหาอย่างยั่งยืน • วิธีแก้ต้องเปลี่ยนความเชื่อที่มีผลต่อพฤติกรรม(Mindset) • ใช้การสร้างปัญญา โดยกลไกการศึกษา • มีหลักสูตร • ผู้สอนเข้าใจ ประพฤติเป็นตัวอย่าง ถ่ายทอดต่อผู้เรียน • จัดทำแผนโดยคำนึงถึงภารกิจ กำหนดเป้าหมาย • คนมีMindset สอดคล้องกับกฎหมายซึ่งเป็นหลักสากลประเมินจากพฤติกรรม
กราฟแสดงคะแนนดัชนีชี้วัดภาพลักษณ์คอร์รัปชันของประเทศไทยตั้งแต่ปี พ.ศ. 2538 - 2556 หมายเหตุ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2555 มีการเปลี่ยนค่าดัชนีชี้วัดจากคะแนนเต็ม 10 เป็นคะแนนเต็ม 100 คะแนน ที่มา : http://cpi.transparency.org/cpi2013/results/
ค่าดัชนี CPI ของประเทศไทย
นโยบาย การปฏิบัติ (Policy Integration) ผลผลิต (Output) ผลลัพธ์ (Outcome) ผลกระทบ (Impact) • เพิ่มประสิทธิภาพการแสวงหาข้อเท็จจริงและการไต่สวนวินิจฉัย • การทุจริตในภาครัฐได้รับการตรวจสอบ • สร้างความตระหนักรู้เรื่องคุณธรรม จริยธรรม วัฒนธรรมสุจริต การป้องกันและปราบปรามการทุจริตในทุกภาคส่วน • ประชาชนและหน่วยงานภาครัฐให้ความร่วมมือในการป้องกันการทุจริต • ลดปัญหาการทุจริต ในสังคมไทย • การดำเนินงาน ภาครัฐ มีความโปร่งใสและ มีธรรมาภิบาลตามหลักสากล • ประเทศไทยมีการบริหารงานที่โปร่งใส มีธรรมาภิบาล • ประเทศชาติ มีภาพลักษณ์คอร์รัปชั่นดีขึ้น ลดปัญหาการทุจริตในสังคมไทย สร้างกลไกการป้องกันการทุจริตให้เข้มแข็งและมีประสิทธิภาพ สร้างความตระหนักรู้ในการป้องกันและปราบปรามการทุจริต เสริมสร้างความเข้มแข็งในการปราบปรามการทุจริต การป้องกัน ปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบในภาครัฐ • เสริมสร้างและสนับสนุน ให้ใช้หลักธรรมาภิบาลในการบริหารองค์กรให้เจ้าหน้าที่ของรัฐยึดถือปฏิบัติตามประมวลจริยธรรมในการปฏิบัติหน้าที่ • บูรณาการการทำงานของหน่วยงานภาครัฐ • พัฒนาเครือข่ายความร่วมมือกับภาคีทุกภาคส่วนในประเทศ และพัฒนาเครือข่ายระหว่างประเทศ • สนับสนุนให้ประชาชน ทั่วประเทศมีส่วนร่วมในการป้องกันการทุจริต • สร้างจิตสำนึก ค่านิยม คุณธรรม จริยธรรม และวัฒนธรรมสุจริต ให้ตระหนักรู้เรื่องความซื่อสัตย์สุจริตและการป้องกันและปราบปรามการทุจริตในทุกภาคส่วน • สนับสนุนและเชิดชูข้าราชการที่มีค่านิยมในการต่อต้านการทุจริต • เพิ่มประสิทธิภาพการแสวงหาข้อเท็จจริง ตรวจสอบ และการไต่สวนวินิจฉัย • ตรวจสอบบัญชีแสดงรายการทรัพย์สินและหนี้สิน • การสืบสวนและสอบสวนการกระทำผิดเกี่ยวกับการทุจริตและประพฤติมิชอบในภาครัฐ • เข้มงวดการบังคับใช้กฎหมายในกระบวนการตรวจสอบการป้องกันและปราบปรามการทุจริต • ตัวชี้วัด : • ดัชนีชี้วัดภาพลักษณ์คอร์รัปชั่นของไทยเข้าสู่ระดับที่ดีขึ้น • ความสำเร็จของการพัฒนาระดับคุณธรรมและความโปร่งใสในหน่วยงานภาครัฐ • - เสริมสร้างคุณธรรม จริยธรรม และ ธรรมาภิบาลในสถานศึกษา • สพฐ. : นักเรียน จำนวน 7,243,713 คน • อาชีวฯ : สถานศึกษา จำนวน 421 แห่ง • สกอ. : สถานศึกษา จำนวน 80 แห่ง ป.ป.ช./ก.ยุติธรรม(ป.ป.ท.) /ก.พ.ร./ ก.ศึกษาฯ/ ก.แรงงาน ก.พัฒนาสังคมฯ / ก.พลังงาน/ก.ศึกษาฯ / ส.ผู้ตรวจการแผ่นดิน ป.ป.ช./สตช. /ป.ป.ง. งบประมาณรวมทั้งสิ้น ปี 2558 จำนวน 2,120.4439ล้านบาท ปี 2558 813.6034 ลบ. ปี 2558 715.9969 ลบ. ปี 2558 590.8436 ลบ.
แบบจำลองการดำเนินงานของศูนย์ประมวลข้อมูลฯแบบจำลองการดำเนินงานของศูนย์ประมวลข้อมูลฯ ศูนย์ประมวลข้อมูลเพื่อการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชาติว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต
การศึกษาสาธารณะ: การวิเคราะห์ทฤษฎีการเปลี่ยนแปลงสำหรับงานด้านการศึกษาสาธารณะของ ACB Public Education: Theory of change analysis for an ACB’s public education work ความตระหนักของประชาชน / กิจกรรมการให้ความรู้เหมาะกับกลุ่มเป้าหมาย ความตระหนักรู้นำไปสู่การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม การจัดทำประชุมเชิงปฏิบัติการและสโมสรต่อต้านการทุจริตได้รับการสนับสนุน ส่งเสริมความตระหนักของประชาชนในเรื่องทุจริตและงานของ ACB ACB จัดกิจกรรมส่งเสริมความตระหนักของประชาชน การลดลงของการทุจริต ทรัพยากรและความเชี่ยวชาญทางด้านเทคนิคที่เพียงพอ กิจกรรมส่งเสริมความตระหนักในงานของ ACB เงื่อนไขที่ต้องอาศัยปัจจัยภายนอกอื่นๆ เงื่อนไขที่สำนักงาน ป.ป.ช. สามารถดำเนินการได้ด้วยตนเอง
ทฤษฎีการเปลี่ยนแปลงสำหรับการปฏิบัติของประมวลจริยธรรมทฤษฎีการเปลี่ยนแปลงสำหรับการปฏิบัติของประมวลจริยธรรม Theory of change for implementation of a code of conduct ผลลัพธ์ ปัจจัยการผลิต กิจกรรม ผลผลิต ผลกระทบ จัดประชุมเชิงปฏิบัติการกับหน่วยงานภาครัฐ เจ้าหน้าที่รัฐตระหนักว่าการทำใดที่พึงปฏิบัติและไม่พึงปฏิบัติ การตกลงร่วมกันของเนื้อหาประมวลจริยธรรม CoC textagreed จัดทำเนื้อหาประมวลจริยธรรม Ministriesadopt CoC หน่วยงานภาครัฐนำประมวลจริยธรรมไปใช้ การระดมทุน ประมวลจริยธรรมจะช่วยป้องกันและยับยั้งการทุจริตในวงราชการ การทำทุจริตที่น้อยลงในภาครัฐ ลดระดับการทุจริตในประเทศ ส่งเสริมให้มีการนำประมวลจริยธรรมไปใช้ปฏิบัติ Training/infor-mation on CoC given to civil servants ฝึกอบรมและให้ข้อมูลเกี่ยวกับประมวลจริยธรรมแก่เจ้าหน้าที่รัฐ ทรัพยากรมนุษย์ ประมวลจริยธรรมได้รับการตรวจสอบ มีการรายงานการละเมิด และผลการปฏบัติ การประพฤติไม่ถูกต้องจะถูกรายงานและมีการลงโทษทางวินัย ตรวจสอบการปฏิบัติตามประมวลจริยธรรม CoC ismonitored,breachesreported, andreportsproduced ตรวจสอบการละเมิดประมวลจริยธรรม
ทฤษฎีของการเปลี่ยนแปลงด้วยตัวชี้วัดทฤษฎีของการเปลี่ยนแปลงด้วยตัวชี้วัด Theory of change with indicators ปัจจัยการผลิต ผลกระทบ กิจกรรม ผลผลิต ผลลัพธ์ ตัวชี้วัดผลลัพธ์: ร้อยละของข้าราชการในหน่วยงานหลักสามารถตอบคำถามจากประมวลจริยธรรม 7 ข้อจาก 10 ข้อได้อย่างถูกต้อง ตัวชี้วัดผลผลิต: การนำประมวลจริยธรรมไปใช้ของภาครัฐ ตัวชี้วัดผลกระทบ: จำนวนผู้เสียหายจากการกระทำทุจริตในภาครัฐ การสำรวจความคิดเห็นของประชาชน (CPI) การประเมินจากเชี่ยวชาญ (CPIA) การประเมินจากข้อเท็จจริง (Global Integrity) และดัชนีชี้วัดร่วมอื่นๆ (WGI) จัดประชุมเชิงปฏิบัติการกับหน่วยงานภาครัฐ ตัวชี้วัดผลกระทบ: ความคิดเห็นสาธารณะในประเด็นการทุจริตในภาครัฐ เช่น การสำรวจความคิดเห็นของประชาชน เจ้าหน้าที่รัฐตระหนักว่าการทำใดที่พึงปฏิบัติและไม่พึงปฏิบัติ CoC textagreed การตกลงร่วมกันในเนื้อหาประมวลจริยธรรม จัดทำเนื้อหาประมวลจริยธรรม Ministriesadopt CoC หน่วยงานภาครัฐนำประมวลจริยธรรมไปใช้ การระดมทุน การทุจริตในภาครัฐลดลง ประมวลจริยธรรมช่วยป้องกันและยับยั้งการทุจริตในวงราชการ Training/infor-mation on CoC given to civil servants ลดระดับการทุจริตในประเทศ ส่งเสริมให้มีการนำประมวลจริยธรรมไปใช้ปฏิบัติ ฝึกอบรมและให้ความรู้เกี่ยวกับประมวลจริยธรรมแก่เจ้าหน้าที่รัฐ ทรัพยากรมนุษย์ ตรวจสอบการปฏิบัติตามประมวลจริยธรรม CoC ismonitored,breachesreported, andreportsproduced การประพฤติมิชอบถูกรายงานและได้รับการลงโทษทางวินัย ประมวลจริยธรรมได้รับการตรวจสอบ มีการรายงานการละเมิด และผลการปฏบัติ ตัวชี้วัดผลลัพธ์ : ร้อยละของเจ้าหน้าที่รัฐที่เชื่อว่าประมวลจริยธรรมสามารถป้องกันและยับยั้งการทุจริตได้ ตรวจสอบการละเมิดประมวลจริยธรรม ตัวชี้วัดผลลัพธ์: จำนวนคดีการกระทำผิดทางวินัยในภาครัฐ ตัวชี้วัดผลผลิต : จำนวนรายงานการตรวจสอบ
วงจร PDCA ในการจัดทำและขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ (Plan-Do-Check-Act)
การประเมินผล: คุณธรรม จริยธรรม ความโปร่งใส
กรอบแนวคิดการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสการดำเนินงาน (Integrity & Transparency Assessment) หน่วยงานภาครัฐ
กรอบแนวคิดการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสการดำเนินงานกรอบแนวคิดการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสการดำเนินงาน การดำเนินงานขององค์กร EIT และ EBIT ความโปร่งใส (Transparency) การตอบสนองข้อร้องเรียน EIT และ EBIT ตามกฎหมาย EIT ความรับผิดชอบ (Accountability) ตามบทบาทหน้าที่ EIT Integrity & Transparency Assessment การทุจริตคอร์รัปชัน (Corruption) ประสบการณ์ตรง (Experience) EIT มุมมองการรับรู้ (Perception) EIT วัฒนธรรมองค์กร (Organization Culture) วัฒนธรรมคุณธรรม (Integrity Culture) IIT การต่อต้านการทุจริตในองค์กร (Anti-Corruption Institution) IIT และ EBIT การบริหารงานบุคคล (Personnel Management) IIT คุณธรรมในการทำงาน (Work Integrity) การบริหารงบประมาณ (Budget Execution) IIT หมายเหตุ: EIT คือ External Integrity & Transparency Assessment IIT คือ Internal Integrity & Transparency Assessment EBIT คือ Evidence Base Integrity & Transparency Assessment ความเป็นธรรมในการมอบหมายงาน (Fairness in Work Order) IIT