1 / 23

วันที่ 6 - 9 ธันวาคม 2550 ที่โรงแรมนานไห่ แขวงสะหวันนะเขต สปป.ลาว

นโยบายส่งเสริมการผลิตเกษตรสินค้าแบบมีสัญญา หรือ Contract Farming ใน สปป. ลาว สำหรับ การประชุมสัมมนาในหัวข้อ “ การพัฒนาความร่วมมือลาว-ไทย ด้านการค้า การลงทุน การท่องเที่ยว และโล จิ สติกส์ บนเส้นทาง EWEC ”. วันที่ 6 - 9 ธันวาคม 2550 ที่โรงแรมนานไห่ แขวงสะหวันนะเขต สปป.ลาว.

mari
Télécharger la présentation

วันที่ 6 - 9 ธันวาคม 2550 ที่โรงแรมนานไห่ แขวงสะหวันนะเขต สปป.ลาว

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. นโยบายส่งเสริมการผลิตเกษตรสินค้าแบบมีสัญญา หรือ Contract Farming ในสปป.ลาวสำหรับการประชุมสัมมนาในหัวข้อ“การพัฒนาความร่วมมือลาว-ไทย ด้านการค้า การลงทุนการท่องเที่ยว และโลจิสติกส์บนเส้นทาง EWEC” วันที่ 6 - 9 ธันวาคม 2550ที่โรงแรมนานไห่ แขวงสะหวันนะเขต สปป.ลาว

  2. I.ความเป็นมาและสภาพการจัดตั้งปฏิบัตินโยบายContract Farmingในสปป.ลาวII.ประเมินผลและถอดถอนบทเรียนIII.นโยบายและแผนพัฒนาส่งเสริมโครงการContractFarming ในสปป.ลาว IV.การสนับสนุนของรัฐบาล

  3. ความเป็นมาของนโยบายContrract Farming (CF) 1. แนวทางนโยบายของพรรค-รัฐ • กฎหมาย (การค้ำประกันสัญญา ธุรกิจ อุตสาหกรรมปรุงแต่ง การส่งเสริมการลงทุนและอื่นๆ ) • ปีงบประมาณ 2546-2547 สปป.ลาว เข้าร่วมยุทธศาสตร์ความร่วมมือ ACMECS • กรอบความร่วมมือACMECSประกอบด้วย 7 สาขา • กรอบการร่วมมือลาว-ไทย รวม 8 สาขาด้านเศรษฐกิจ (กสิกรรม อุตสาหกรรม การค้าและการลงทุน พลังงานไฟฟ้า ท่องเที่ยว สาธารณสุข ทรัพยากรมนุษย์/ศึกษา และการเชื่อมโยงคมนาคม) • โครงการCFลาว-ไทยเป็นนโยบายส่งเสริมและพัฒนาสินค้าเกษตร ในกรอบความร่วมมือ ACMECS ได้กำหนดเป้าหมายพืชไร่ 10ชนิด และพืชพลังงาน (อ้อย มันสำปะหลัง และปาล์ม) Z

  4. สภาพการจัดตั้งปฏิบัตินโยบายสภาพการจัดตั้งปฏิบัตินโยบาย Contract Farming ในสปป.ลาว

  5. ความหมายและหลักการของ CF • เกษตรกรได้รับคำมั่นสัญญาจากคู่สัญญาให้ปลูกพืชที่คู่สัญญาต้องการในพื้นที่ที่จัดหาไว้ • หลังจากการเก็บเกี่ยวแล้วจะต้องส่งมอบสินค้าให้คู่สัญญา • จะต้องมีการตกลงราคาผลผลิตที่จะส่งมอบก่อนการดำเนินการ • เพื่อให้บรรลุเป้าหมายของคู่สัญญา (Contractor) จะต้องจัดหาปัจจัย การผลิตให้กับเกษตรกร

  6. ทดลองส่งเสริมพืช 13 รายการในแขวงจำปาสัก • ส่งเสริมความร่วมมือการปลูกข้าวโพดในแขวงคำม่วน • ร่วมมือกับบริษัทเจริญโภคภัณฑ์ (ซีพี) ในการทดลองปลูกข้าวโพดฤดูแล้ง ในพื้นที่ชลประทานเพื่อป้อนสู่โรงงานอาหารสัตว์ท่าง่อนในนครหลวง เวียงจันทน์ และส่งเสริมการปลูกข้าวโพดในแขวงไชยะบุรี อุดมไชย และ แขวงอื่นๆ • ร่วมมือและส่งเสริมบริษัทลาวอินโดไชน่า ในการส่งเสริมให้ประชาชนปลูก มันสำปะหลังเพื่อป้อนโรงงานผลิตแป้งในนครหลวงเวียงจันทน์ให้บรรลุ เป้าหมาย

  7. ส่งออก นักลงทุน/ ร่วมทุน • ปัจจัยการผลิต • ค่าผลผลิต • Commission. Technology ผู้ถือกรรมสิทธิ์ที่ดิน/ แขวง/หมู่บ้าน/บุคคล ผลผลิต เกษตรกร • ปัจจัยการผลิต • ค่าผลผลิต ประเมินผลและถอดถอนบทเรียน

  8. ระดับการศึกษาของเกษตรกรยังต่ำระดับการศึกษาของเกษตรกรยังต่ำ • ยังมีระบบคนกลาง • รูปแบบของสัญญายังไม่รัดกุม • มีการค้ำประกันตลาด แต่ไม่มีการค้ำประกันราคา • สรุปผลแล้วยังไม่ได้เป็นระบบ CFที่ชัดเจน • เป็นการริเริ่มกระบวนการผลิตเป็นสินค้าพื้นฐาน • ภาครัฐบาลควรเข้ามาควบคุมเรื่องราคา เพื่อรับประกันบทบาทของ CF

  9. สภาพปัญหายุ่งยากที่พบเห็นสภาพปัญหายุ่งยากที่พบเห็น ก. จากเกษตรกร: 1. บริษัทที่รับซื้อไม่น่าเชื่อถือและไม่รับซื้อผลผลิตทั้งหมด 2. ไม่มีการตรวจสอบบริษัทรับซื้อ 3. มีการตั้งเกณฑ์มาตรฐานของผลผลิตไว้สูงมาก 4. การฝึกอบรมยังไม่พอเพียง

  10. ข. จากภาคบริษัทผู้รับซื้อ • ไม่สามารถเชื่อถือเกษตรกรผู้ผลิตได้ เพราะมักลักลอบขายผลผลิตในราคาสูงกว่าที่ตกลงไว้ • คุณภาพผลผลิตยังต่ำและเกษตรกรขาดความรู้ในการผลิตกสิกรรม • เกษตรกรปลูกพืชไปตามปฏิทิน(ฤดูกาล)ของตัวเอง • คุณภาพเส้นทางเชื่อมต่อระหว่างหมู่บ้านยังไม่ดี • ต้นทุนในการขนส่งสินค้าข้ามแดนสูง • ผู้ประกอบการลาวไม่สามารถขนส่งสินค้าไปจีนและเวียดนาม • ต้องการยกระดับด่านชายแดนเป็นด่านสากล

  11. แนวทางการแก้ไขเพื่อพัฒนาระบบ CFในสปป.ลาว ส่งออก นักลงทุนไทยร่วมทุนกับ นักลงทุนลาว/รัฐบาล แขวงที่เกี่ยวข้อง • สิทธิประโยชน์ • ระบบอำนวยความสะดวก • เทคโนโลยี • ปัจจัยการผลิต รัฐบาลลาว – ไทย รูปแบบคณะกรรมการร่วม เกษตรกร • เทคโนโลยี • ฝึกอบรมการเกษตร • มาตรการประกันราคา

  12. การเริ่มต้นโครงการ CF ควรส่งเสริมให้มีการร่วมทุนระหว่างนักลงทุนลาวและไทย เพื่อให้เข้าถึงเกษตรกรและชุมชนในพื้นที่ผลิต หรืออาจเป็นภาครัฐในท้องถิ่นเข้าร่วมลงทุน จะสามารถตัดคนกลางออกจากระบบ โดยมีเกณฑ์การพิจารณา ดังนี้ 1. เป็นระบบที่ประหยัดและสื่อสารรวดเร็วและถูกต้อง 2. คู่สัญญาสามารถฟังข้อคิดเห็นของเกษตรกรโดยตรง 3. คู่สัญญาและเกษตรกรได้รับผลประโยชน์สูงสุดโดยไม่มีคนกลาง (โดยคนกลางจะ เป็นผู้ร่วมลงทุน) • ภาครัฐบาลลาว-ไทย ต้องเป็นฝ่ายอำนวยความสะดวก สนับสนุน และสร้างความเชื่อมั่นในการดำเนินธุรกิจที่เอื้ออำนวยผลประโยชน์กับทังสองฝ่ายเพื่อให้สามารถช่วยตัวเองได้ พร้อมทั้งแสวงหามาตรการค้ำประกันราคารับซื้อผลผลิต (กรณีที่คู่สัญญาไม่มีการค้ำประกันราคารับซื้อ) โดยอาจใช้มาตรการด้านโควตา เพื่อรักษาระดับความต้องการ/ การตอบสนอง • ผลสำเร็จของการพัฒนาระบบ ขึ้นอยู่กับผลได้รับทั้งทางด้านราคาและปริมาณรับซื้อ

  13. แนวทางนโยบายและแผนพัฒนา CFในสปป.ลาว • จุดประสงค์ • สร้างโอกาสให้นักลงทุนไทยและเกษตรกรลาวขยายการผลิตทางด้านกสิกรรมและการค้า • สร้างรายได้เพิ่มให้แก่เกษตรลาว • สร้างความแข็งแกร่งทางด้านเศรษฐกิจร่วมกันของทั้งสองประเทศ

  14. 2. แนวทางนโยบาย • จัดตั้งคณะกรรมการความร่วมมือลาว-ไทย เพื่อทำหน้าที่เจรจาแสวงหา ข้อตกลงและแก้ไขปัญหาที่จะเกิดขึ้นร่วมกัน • สร้างแผนความร่วมมือโดยให้ความสำคัญเกี่ยวกับระเบียบการและ การอำนวยความสะดวกแก่นักลงทุน • ดำเนินการส่งเสริมและสนับสนุนความร่วมมือระหว่างภาคเอกชนกับรัฐบาล ในด้านการผลิต การตลาด แหล่งทุนและการพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อให้ CF ประสบผลสำเร็จ

  15. 3. หน้าที่และความรับผิดชอบของคณะกรรมการ • ส่งเสริมและสนับสนุนปัจจัยที่ดึงดูดให้นักลงทุนไทยและเกษตรกรลาว ร่วมมือในการสร้างระบบการส่งเสริม CF ด้านแหล่งทุน ข้อมูลข่าวสาร การสร้างบรรยากาศที่เอื้อต่อการลงทุน และระบบโครงสร้างพื้นฐานที่จำเป็น • สนับสนุนให้มีการถ่ายทอดเทคโนโลยีด้านการผลิตกสิกรรม การบริหารจัดการให้แก่ผู้ประกอบการในธุรกิจการผลิตกสิกรรมแบบมีสัญญาและเกษตรกรลาว • เร่งรัดการเจรจาปัญหาด้านกฎระเบียบ กฎหมาย เพื่ออำนวยความสะดวกให้กับนักลงทุนและผู้ประกอบการในธุรกิจที่เกี่ยวข้อง • สนับสนุนและส่งเสริมการพัฒนาตลาดสินค้ากสิกรรมที่มีคุณภาพ เพื่อเป็นช่องทางในการพัฒนาส่งเสริมการผลิตสินค้าแบบ CFในลาว

  16. 4.แผนพัฒนาระบบ CFลาว-ไทย (1) ส่งเสริมและสนับสนุนปัจจัยเอื้ออำนวยต่อการลงทุน - พัฒนาระบบข้อมูลข่าวสารการผลิตกสิกรรมลาว-ไทย - พัฒนาระบบการนำเข้า-ส่งออกของสินค้าเกษตรให้มีความคล่องตัว - ให้สิทธิประโยชน์แก่นักลงทุน - พัฒนาเส้นทางขนส่งสินค้าเกษตรจากแหล่งการผลิตใน สปป.ลาว ไปยังชายแดน ลาว-ไทย - จัดตั้งโครงการปรับปรุงระบบชลประทานเพื่อการเกษตรลาว-ไทย

  17. สนับสนุนให้มีการถ่ายทอดเทคโนโลยีและการบริหารจัดการสนับสนุนให้มีการถ่ายทอดเทคโนโลยีและการบริหารจัดการ - จัดตั้งโครงการฝึกอบรมเกษตรกรและผู้ที่เกี่ยวข้องในระบบ - จัดตั้งโครงการศึกษาวิจัยเทคโนโลยีการผลิตกสิกรรม โดยเฉพาะพืชที่มีโอกาสต่อความต้องการของตลาด - ดำเนินโครงการศึกษาเพื่อจัดตั้งสหกรณ์การผลิตกสิกรรม

  18. เร่งรัดการเจรจาด้านกฎระเบียบและกฎหมายเร่งรัดการเจรจาด้านกฎระเบียบและกฎหมาย - จัดตั้งโครงการพัฒนากฎระเบียบและกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการส่งเสริมCF -ดำเนินการเจรจากฎระเบียบที่เร่งด่วนสำหรับการดำเนินการใช้และจำเป็นต่อการลงทุนในปัจจุบัน

  19. (4) สนับสนุนและส่งเสริมการพัฒนาตลาดสินค้าเกษตรที่มีคุณภาพ - จัดตั้งโครงการพัฒนาตลาดสินค้าเกษตรที่มีคุณภาพในประเทศไทยและต่างประเทศ - จัดตั้งโครงการรักษาระดับราคาสินค้ากสิกรรม เช่น การกำหนดเขต/พื้นที่การผลิตพืชแต่ละชนิด

  20. การสนับสนุนของภาครัฐบาลการสนับสนุนของภาครัฐบาล - ได้แต่งตั้งคณะแนะนำรวมระดับส่วนกลาง ซึ่งมาจากกระทรวงการต่างประเทศ กระทรวงอุตสาหกรรมและการค้า กระทรวงกสิกรรมและป่าไม้ โดยมีกองเลขา กรมเศรษฐกิจ กระทรวงการต่างประเทศ ทำหน้าที่ประจำการและประสานงาน อาจจะจัดตั้งคณะแนะนำ CF ระดับแขวงและขระดับเมือง • ได้ให้การส่งเสริม ร่วมมือ และสนับสนุนการลงทุนในลักษณะ CF ดังที่ได้กล่าวมาข้างบน • กระทรวงอุตสาหกรรมและการค้า กรมส่งเสริมการผลิตและการค้า ประสานงานร่วมกับกระทรวงกสิกรรมและป่าไม้ ได้ติดตาม ผลักดันส่งเสริม และประเมินผลประจำปี เพื่อส่งเสริมการตลาดและการเข้าถึงแหล่งทุนส่งเสริมธนาคาร • หน่วยงานที่เกี่ยวข้องของภาครัฐของทั้งสองประเทศ ลาว-ไทย ได้ค้นคว้าเกี่ยวกับการให้ความช่วยเหลือด้านต่างๆ ให้แก่กลุ่มเกษตรกร กลไก นโยบาย และสิ่งอำนวยความสะดวกสำหรับผู้ลงทุน CFเพื่อบรรจุเข้าใน MOU สำหรับเสนอต่อการประชุมระดับผู้นำใน ACMECS ครั้งที่ 3 ในเวียดนาม

  21. Thank you

  22. Q & A

  23. ขอบคุณ Thank you

More Related