1 / 43

Human Rights and Climate Change: A Legal Perspective

Explore the relationship between human rights and the environment and how legal regimes address the damages caused by environmental issues, such as climate change.

Télécharger la présentation

Human Rights and Climate Change: A Legal Perspective

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. 2 + 2 + สิทธิมนุษยชนกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศHuman rights and climate change ดร.กฤษฎากร ว่องวุฒิกุล คณะนิติศาสตร์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์

  2. 2 + 2 + Human rightsand the environment มีความสัมพันธ์ในเชิงสนับสนุนกันระหว่างสิทธิมนุษยชนและสิ่งแวดล้อม

  3. กฎหมายสิทธิมนุษยชนกำหนดหน้าที่ที่รัฐมีต่อปัจเจกบุคคล ในขณะที่กฎหมายสิ่งแวดล้อมระหว่างประเทศกำหนดหน้าที่ระหว่างรัฐด้วยกันเอง ดังนั้น กฎหมายสิทธิมนุษยชนจึงมุ่งเน้นที่ความเสียหายที่เกิดขึ้นกับปัจเจกบุคคล ซึ่งเป็นความเสียหายที่เกิดขึ้นจากปัญหาสิ่งแวดล้อม เช่น การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ความแตกต่างขั้นพื้นฐานของ Human Rights Approach และ Environmental Approach Add a Footer

  4. ระบอบสิทธิมนุษยชน (human rights regime) มีความเป็นกฎหมายมากกว่าระบอบสิ่งแวดล้อม (environmental regime) • ไม่ว่าจะเป็นในเชิงสถาบัน สถาบันสิทธิมนุษยชนประกอบไปด้วยนักฎหมายเป็นส่วนใหญ่ ในขณะที่สถาบันของกฎหมายสิ่งแวดล้อมระหว่างประเทศ เช่น ที่ประชุมของรัฐสมาชิก (conference of the parties, COP) มีภารกิจเบื้องต้นในเชิงการเมืองมากกว่า การตรวจสอบในเชิงกฎหมาย ความแตกต่างขั้นพื้นฐานของ Human Rights Approach และ Environmental Approach Add a Footer

  5. ปัญหาสิ่งแวดล้อมส่วนใหญ่ เช่น การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ไม่สามารถจัดการได้ด้วยการลงมือแก้ปัญหาโดยรัฐใดรัฐหนึ่งแต่เพียงอย่างเดียว แต่ต้องอาศัยความพยายามร่วมกัน (collective effort) แต่การเคารพพันธกรณีทางด้านสิทธิมนุษยชนของรัฐใดรัฐหนึ่งนั้นไม่ได้ขึ้นอยู่กับการปฏิบัติหน้าที่ของรัฐอื่น ความแตกต่างขั้นพื้นฐานของ Human Rights Approach และ Environmental Approach Add a Footer

  6. มองว่า หากกิจกรรมที่ส่งเสริมการก่อให้เกิดโลกร้อนคุกคามต่อสิทธิมนุษยชน ดังนั้น กิจกรรมที่กำลังกระทำอยู่จะเป็นสิ่งที่ผิดกฎหมาย สามารถสร้าง argument ภายใต้กฎหมายที่มีอยู่แล้วได้ ซึ่งก็คือ กฎหมายสิทธิมนุษยชน นักกฎหมายสิ่งแวดล้อมมีมุมมองต่อสิทธิมนุษยชนอย่างไร • มองว่ากฎหมายสิทธิมนุษยชนมี forum ให้กับการปกป้องสิ่งแวดล้อมได้ เพราะกฎหมายสิทธิมนุษยชนมีศาลรองรับ มีผู้รายงานพิเศษที่จะตรวจสอบสถานการณ์ต่าง ๆ ได้ • Forum ของสิทธิมนุษยชนทรงพลังกว่า Add a Footer

  7. Approaches ที่ใช้ในเรื่องนี้ คือ มองสิ่งแวดล้อมในฐานะที่เป็นเงื่อนไขของการใช้สิทธิมนุษยชน มองสิทธิมนุษยชนในฐานะที่เป็นเครื่องมือ (tool) ที่จะจัดการกับปัญหาสิ่งแวดล้อมได้ มองสิทธิมนุษยชนและสิ่งแวดล้อมอย่างบูรณาการภายใต้แนวความคิดการพัฒนาอย่างยั่งยืน มองสิทธิมนุษยชนเพื่อขับเคลื่อนสิทธิในสิ่งแวดล้อมที่ดี (human right to a healthy environment) Add a Footer

  8. Anthropocentric Approachvs. Ecocentric Approach • Present generations vs.Future generations ความห่วงกังวลบางประการของการปรับใช้กฎหมายสิทธิมนุษยชน Add a Footer

  9. มิติทางด้านสิ่งแวดล้อมของสิทธิมนุษยชน(Environmental dimensions of human rights) ในทางตรง สิ่งแวดล้อมที่เสื่อมโทรมอาจส่งผลเป็นการจำกัดให้ปัจเจกบุคคลหรือชุมชนไม่สามารถใช้สิทธิบางอย่างที่กฎหมายรับรองได้อย่างเต็มที่ สิ่งแวดล้อมที่เสื่อมโทรมขัดขวางความสามารถของรัฐบาลที่จะคุ้มครอง (protect) และทำให้สิทธิของพลเมืองของตนเป็นจริง (fulfil) Add a Footer

  10. สิทธิมนุษยชนใดที่ได้รับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศสิทธิมนุษยชนใดที่ได้รับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ Add a Footer

  11. โดยทั่วไปแล้ว การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศส่งผลต่อการทำให้สิทธิเกิดขึ้นได้จริง (realisation) และการใช้สิทธิมนุษยชน (enjoyment) การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศมีนัยสำคัญต่อเรื่องสิทธิที่จะอยู่ในสภาพแวดล้อมที่ดี หรือที่สะอาด (A right to healthy and clean environment)

  12. กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรมICESCR ข้อ 12 รัฐภาคีแห่งกติกานี้รับรองสิทธิของทุกคนที่จะมีสุขภาพกายและสุขภาพจิตตามาตรฐานสูงสุดเท่าที่เป็นไปได้ (The highest attainable standardof physical and mental health) The right to health สภาพแวดล้อม เช่น อากาศที่ดี น้ำสะอาด อาหารที่ถูกสุขลักษณะและปลอดภัย มีผลต่อสุขภาพ Add a Footer

  13. The Convention on the Elimination of all forms of Discrimination Against Women (CEDAW) (Articles 12, 14(2)(b)) The Convention on the Elimination of all forms of Racial Discrimination (CERD) (Article 5(e)(iv)) The Convention on the Rights of Persons with Disabilities (CRPD) (Articles 16(5), 22(2) and 25) The Convention on the Protection of the Rights of All Migrant Workers and their Families (CMW) (Articles 43(1)(e), 45(1)(c) and 70) Add a Footer

  14. ผลกระทบจากสภาพอากาศที่รุนแรง เช่น คลื่นความร้อน ความแล้ง น้ำท่วม และพายุ อุณหภูมิที่สูงขึ้นอาจทำให้เกิดอาหารเป็นพิษ ฝนตกหนัก น้ำท่วม ทำให้เกิดโรคที่มากับน้ำ เช่น มาลาเรีย Climate Change Add a Footer

  15. กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรมICESCR ข้อ 11 (2) สิทธิขั้นพื้นฐานของทุกคนที่จะปลอดจากความหิวโหย The right to adequate food สิทธิในอาหารที่เพียงพอ Add a Footer

  16. การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศส่งผลกระทบต่อวิธีการผลิตอาหาร (food production) อุณหภูมิที่สูงขึ้นส่งผลต่อผืนดินที่จะปลูกพืช ปริมาณอาหารที่ผลิตได้ อัตราการต่ายของปศุสัตว์เพิ่มขึ้น การเพิ่มจำนวนขึ้นของแมลงและวัชพืช Climate Change Add a Footer

  17. ความแห้งแล้งหรือน้ำท่วมส่งผลต่อการเพาะปลูกความแห้งแล้งหรือน้ำท่วมส่งผลต่อการเพาะปลูก • ราคาอาหารเพิ่มสูงขึ้นจากสภาวะโลกร้อน • ส่งผลกระทบต่อความมั่นคงทางอาหาร (food security) • การขาดแคลนอาหารและภาวะทุพโภชนาการ(malnutrition) Climate Change Add a Footer

  18. สิทธิขั้นพื้นฐานของทุกคนที่จะมีน้ำอย่างเพียงพอ ปลอดภัย เข้าถึงได้ทางกายภาพ สำหรับใช้เพื่อประโยชน์ส่วนตัวหรือชุมชน เช่น เพื่อการดื่ม การเตรียมอาหาร เพื่อความสะอาดส่วนบุคคลและครัวเรือน The right to water สิทธิในอาหารที่เพียงพอ Add a Footer

  19. IPCC’s Fifth Assessment Report • การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศส่งผลให้น้ำแข็งที่ปกคลุมพื้นผิวน้ำทะเลบางลง น้ำแข็งขั้วโลกละลาย • การไหลบ่าของน้ำเค็ม (salt-water inundation) เนื่องมาจากคลื่นพายุ (storm surges) และการที่ระดับน้ำทะเลหนุนสูงขึ้น (sea-level rise) Climate Change Add a Footer

  20. ICESCR ข้อ 11 รัฐภาคีแห่งกติกานี้รับรองสิทธิของทุกคนในมาตรฐานการครองชีพที่เพียงพอสำหรับตนเองและครอบครัว....ที่อยู่อาศัย (housing) ที่เพียงพอและสภาพการครองชีพที่ดีขึ้นอย่างต่อเนื่อง The right to adequate housing สิทธิในที่อยู่อาศัยที่เพียงพอ • ที่อยู่อาศัยที่ปลอดภัย สงบ และมีเกียรติศักดิ์ศรี • ปราศจากการบังคับขับไล่ • มีสาธารณูปโภคอย่างเพียงพอ Add a Footer

  21. ระดับน้ำทะเลที่สูงขึ้น สภาพอากาศที่แปรปรวน ส่งผลกระทบต่อชุมชนที่อยู่ชายฝั่ง • Arctic communities • Small island States • Low-lying region • น้ำท่วมขังในพื้นที่ลุ่มต่ำ • ชายฝั่งถูกกัดเซาะ • เกิดการอพยพ ย้ายถิ่นฐาน Climate Change Add a Footer

  22. ประธานาธิบดีของประเทศมัลดีฟส์ ได้พิจารณาการซื้อที่ดินในประเทศออสเตรเลีย อินเดีย และศรีลังกา เพื่อให้ชาวมัลดีฟส์ได้มีที่ดินอยู่อาศัย เพื่อให้สามารถใช้สิทธิมนุษยชนได้หากประเทศ มัลดีฟส์จมลงใต้ท้องทะเล • https://www.theguardian.com/environment/2008/nov/10/maldives-climate-change Add a Footer

  23. รัฐบาลของประเทศคิริบาส ได้ซื้อที่ดิน 20 ตารางกิโลเมตร ในประเทศฟิจิเพื่อจัดการกับปัญหาความมั่นคงทางอาหาร รัฐบาลของประเทศฟิจิแสดงท่าทีว่ายินดีต้อนรับผู้อพยพลี้ภัยที่อาจเกิดจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ • https://www.theguardian.com/environment/2014/jul/01/kiribati-climate-change-fiji-vanua-levu • https://www.prnewswire.com/news-releases/fiji-will-support-kiribati-as-sea-level-rises-245034641.html Add a Footer

  24. ICESCR ข้อ 1 ประชาชาติทั้งปวงมีสิทธิกำหนดเจตจำนงของตนเอง โดยสิทธินั้นประชาชาติเหล่านั้นจะกำหนดสถานะทางการเมืองของตนโดยเสรี และพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม The right to self-determination and the rights of indigenous and minority groups สิทธิกำหนดเจตจำนงของตนเอง และสิทธิของชนพื้นเมือง และชนกลุ่มน้อย Add a Footer

  25. การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศสร้างภัยคุกคามแก่ชนพื้นเมืองที่จะอยู่อาศัยในดินแดนดั้งเดิมของตน หรือดำรงชีพด้วยวิถีชีวิตแบบดั้งเดิม • ประชาชนในหมู่เกาะเล็ก ๆ หรือประเทศที่เป็นบริเวณที่ลุ่มต่ำอาจได้รับผลกระทบจากการสูญเสียดินแดนจากการเพิ่มสูงขึ้นของระดับน้ำทะเล ส่งผลต่อสิทธิในการกำหนดเจตจำนงของตนเอง Climate Change Add a Footer

  26. 2 + 2 + The inuit petition การยื่นข้อร้องเรียนของชาวอินูอิตต่อ Inter-American Court of Human Rights http://www.inuitcircumpolar.com/inuit-petition-inter-american-commission-on-human-rights-to-oppose-climate-change-caused-by-the-united-states-of-america.html Add a Footer

  27. เป็นข้อร้องเรียนภายใต้เป็นข้อร้องเรียนภายใต้ • American Declaration of the Rights and Duties of Man • American Convention on Human Rights The inuit petition Add a Footer

  28. มีการยื่นคำร้องว่าแผ่นน้ำแข็งในทะเลที่บางลง การเปลี่ยนแปลงของหิมะที่ตก การละลายของดินเยือกแข็งคงตัว และการเปลี่ยนแปลงของการเคลื่อนย้ายของสัตว์ เป็นผลโดยตรงจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ที่กระทำลงโดยประเทศสหรัฐอเมริกา และเป็นการละเมิดต่อสิทธิในทรัพย์สิน สุขภาพ ชีวิต วิถีแห่งการดำรงชีพ ที่อยู่อาศัย การเคลื่อนย้าย วัฒนธรรม

  29. The inter-American Commission • คณะกรรมาธิการไม่รับคำร้องไว้พิจารณา โดยไม่ได้เหตุผลใด ๆ Add a Footer

  30. สรุป Greening of human rights สิ่งแวดล้อมสามารถส่งผลกระทบโดยตรงต่อสิทธิที่ได้รับการรับรองอยู่ในตราสารระหว่างประเทศระดับสากลและระดับภูมิภาค สิทธิดังกล่าวได้ถูกปรับใช้ในลักษณะในมิติทางด้านสิ่งแวดล้อม ซึ่งทำให้เกิดความเชื่อมโยงกันระหว่างสิ่งแวดล้อมและสิทธิมนุษยชน กระบวนการตีความและการพิจารณาแง่มุมทางด้านสิ่งแวดล้อมของสิทธิมนุษยชนที่มีอยู่แล้ว เราเรียกกระบวนการนี้ว่า Add a Footer

  31. จากข้อเท็จจริงที่ว่าการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศมีผลต่อการใช้สิทธิมนุษยชนนั้นมิได้หมายความว่าการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศโดยตัวมันเองนั้นก่อให้เกิดการละเมิดสิทธิมนุษยชนขึ้นจากข้อเท็จจริงที่ว่าการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศมีผลต่อการใช้สิทธิมนุษยชนนั้นมิได้หมายความว่าการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศโดยตัวมันเองนั้นก่อให้เกิดการละเมิดสิทธิมนุษยชนขึ้น • การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศจะมีความเกี่ยวข้องกับการละเมิดสิทธิมนุษยชนก็ต่อเมื่อเราสามารถที่จะกำหนดลงไปว่ารัฐมีหน้าที่อย่างไรและรัฐมีการละเมิดหน้าที่นั้นหรือไม่ Add a Footer

  32. ประเภทของหน้าที่นักวิชาการด้านสิทธิมนุษยชนได้จำแนกหน้าที่ออกเป็นประเภทของหน้าที่นักวิชาการด้านสิทธิมนุษยชนได้จำแนกหน้าที่ออกเป็น • หน้าที่ในการเคารพ (respect) • หน้าที่ในการคุ้มครอง (protect) และ • หน้าที่ในการทำให้สิทธินั้นเป็นจริง (fulfill) Add a Footer

  33. หน้าที่ของรัฐในการเคารพสิทธิมนุษยชนหน้าที่ของรัฐในการเคารพสิทธิมนุษยชน • รัฐจะต้องไม่พรากสิทธิของปัจเจกบุคคลไป เช่น รัฐจะต้องไม่เข้าไปยุ่งเกี่ยวกับการซ้อมทรมานประชาชนของตนเอง เป็นต้น • ในบริบทของการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ หน้าที่ในการเคารพนั้นต้องการให้รัฐสอดส่องกิจกรรมของรัฐบาลที่มีส่วนสนับสนุนในการก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ เช่น การปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากหน่วยงานของรัฐหรือจากกิจกรรมในทางทหารต่าง ๆ • อาจรวมถึงการตัดสินใจของรัฐบาลที่จะต้องควบคุมกำกับดูแลพฤติกรรมของภาคเอกชนยกตัวอย่างเช่นการตัดสินใจของรัฐบาลที่จะให้มีการก่อสร้างโรงไฟฟ้าถ่านหินหรือไม่ Add a Footer

  34. หน้าที่ของรัฐในการคุ้มครองสิทธิมนุษยชนหน้าที่ของรัฐในการคุ้มครองสิทธิมนุษยชน • หน้าที่ในการคุ้มครอง เป็นหน้าที่ในเชิงบวก (positive) ซึ่งหมายถึงต้องการให้รัฐดำเนินการในการป้องกันมิให้ตัวแสดงที่ไม่ใช่รัฐ (non-State actor) ละเมิดสิทธิมนุษยชน • การละเมิดหน้าที่ในการคุ้มครองมักจะเกิดขึ้นจากการละเว้น • ในบริบทของการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ หน้าที่ในการคุ้มครองอาจรวมถึงหน้าที่ในการกำกับดูแลการปล่อยก๊าซเรือนกระจกของบริษัทเอกชนที่มีส่วนช่วยในการก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ Add a Footer

  35. หน้าที่ของรัฐในกรณีนี้ได้แก่การออกกฎหมายหรือการสร้างกรอบในทางปกครองเพื่อยับยั้งภัยคุกคามต่อชีวิตซึ่งเกิดจากเหตุการณ์ธรรมชาติรวมถึงการเตรียมความพร้อมต่าง ๆ Add a Footer

  36. ผู้ที่มีหน้าที่ • โดยทั่วไปแล้วกฎหมายสิทธิมนุษยชนกำหนดหน้าที่ให้รัฐปฏิบัติตามมากกว่าที่จะกำหนดหน้าที่ให้แก่บริษัท • อย่างไรก็ตามการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ส่วนใหญ่นั้นเกิดขึ้นโดยเอกชน • คำถามที่เกิดขึ้นคือ หน้าที่ในการเคารพ คุ้มครอง และทำให้เป็นจริงนั้นสามารถนำมาปรับใช้กับบริษัทได้หรือไม่ Add a Footer

  37. โดยหลักแล้วกฎหมายสิทธิมนุษยชนจำกัดกิจกรรมของตัวแสดงที่ไม่ใช่รัฐให้อยู่ภายใต้ขอบเขตของหน้าที่ของรัฐในการปกป้องมีให้เกิดการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศด้วยวิธีการที่รัฐนั้นเข้าไปกำกับดูแลกิจกรรมของเอกชนไม่ให้กิจกรรมดังกล่าวส่งผลกระทบต่อการใช้สิทธิมนุษยชนโดยหลักแล้วกฎหมายสิทธิมนุษยชนจำกัดกิจกรรมของตัวแสดงที่ไม่ใช่รัฐให้อยู่ภายใต้ขอบเขตของหน้าที่ของรัฐในการปกป้องมีให้เกิดการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศด้วยวิธีการที่รัฐนั้นเข้าไปกำกับดูแลกิจกรรมของเอกชนไม่ให้กิจกรรมดังกล่าวส่งผลกระทบต่อการใช้สิทธิมนุษยชน • แต่อย่างไรก็ตามเคยมีแนวปฏิบัติ ของ The Philippines Commission on Human Rights ที่ได้มีการตรวจสอบเรื่องสิทธิมนุษยชนในด้านสภาพภูมิอากาศและมีการสั่งการให้บริษัทน้ำมันถ่านหินและเมืองรวมทั้งสิ้น 47 แห่งดำเนินการบางอย่างอันเป็นการตอบสนองต่อการกล่าวหาว่ามีการละเมิดสิทธิมนุษยชนอย่างร้ายแรงอันเป็นผลมาจากการปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากกระบวนการผลิต Add a Footer

  38. ผู้ที่ได้รับประโยชน์จาก หน้าที่ในการคุ้มครองเคารพและทำให้เป็นจริง ประเด็น หน้าที่ในการเคารพ คุ้มครอง และทำให้เป็นจริงนั้น รัฐมีหน้าที่นี้ต่อปัจเจกบุคคลหรือกลุ่มบุคคลที่อยู่ในดินแดนของตนเท่านั้นหรือหน้าที่ดังกล่าวนี้จะต้องขยายออกไปยังประชาชนในรัฐอื่นด้วย Add a Footer

  39. ในบริบทของการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศนั้นข้อพิจารณาคือการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์นั้นไม่ได้จำกัดผลอยู่ภายในเขตแดนของรัฐใดรัฐหนึ่งเท่านั้น แต่การปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ส่งผลกระทบต่อประชาชนในทุก ๆ ที่ในระดับที่มีความรุนแรงแตกต่างกันออกไป • คำถามที่เกิดขึ้นคือผลกระทบจากการปล่อยก๊าซเรือนกระจกเช่นนี้จะหมายถึงว่า รัฐมีหน้าที่ด้านสิทธิมนุษยชนต่อประชาชนทั่วทั้งโลกเลยหรือไม่ Add a Footer

  40. ในคดีที่ชาว Inuit ได้ยื่นคำร้องนั้นจะเห็นได้ว่ามิได้ยื่นคำร้องในนามของชาว Inuit ที่อยู่อาศัยในอลาสก้าเท่านั้นแต่ยังเป็นการฟ้องร้องเพื่อเป็นตัวแทนของประชาชนที่อยู่ในเขตอาร์กติกอื่น ๆ รวมถึงประเทศรัสเซีย แคนาดา นอร์เวย์ และฟินแลนด์อีกด้วย Add a Footer

  41. สิทธิมนุษยชนในความตกลงปารีส (The paris agreement) วัตถุประสงค์หลัก ควบคุมการเพิ่มขึ้นของอุณหภูมิเฉลี่ยของโลกให้ต่ำกว่า 2 องศาเซลเซียส เมื่อเทียบกับยุคก่อนอุตสาหกรรม และมุ่งพยายามควบคุมการเพิ่มขึ้นของอุณหภูมิไม่ให้เกิน 1.5 องศาเซลเซียส เมื่อเทียบกับยุคก่อนอุตสาหกรรม โดยคำนึงว่าการดำเนินการตามนี้ จะลดความเสี่ยงและผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศได้อย่างมีนัยสำคัญ

  42. Add a Footer

  43. 2 + 2 + THANK YOU Add a Footer

More Related