760 likes | 1.17k Vues
System Requirement Collection (1). Start. Sanchai Yeewiyom School of Information & Communication Technology Naresuan University, Phayao Campus. Next. วิธีการเก็บรวบรวมความต้องการของผู้ใช้และนำมาวิเคราะห์. Back. วัตถุประสงค์ เพื่อให้ทราบวิธีการเก็บรวบรวมความต้องการจากการใช้ เอกสารต่าง ๆ
E N D
System Requirement Collection (1) Start Sanchai Yeewiyom School of Information & Communication Technology Naresuan University, Phayao Campus Next
วิธีการเก็บรวบรวมความต้องการของผู้ใช้และนำมาวิเคราะห์วิธีการเก็บรวบรวมความต้องการของผู้ใช้และนำมาวิเคราะห์ Back วัตถุประสงค์ เพื่อให้ทราบวิธีการเก็บรวบรวมความต้องการจากการใช้ เอกสารต่าง ๆ เพื่อให้ทราบวิธีการเก็บรวบรวมความต้องการจากการ สัมภาษณ์ เพื่อให้ทราบวิธีการเก็บรวบรวมความต้องการจากการ ออกแบบสอบถาม เพื่อให้ทราบวิธีการเก็บรวบรวมความต้องการจากการ สังเกตพฤติกรรม Next
วิธีการเก็บรวบรวมความต้องการของผู้ใช้และนำมาวิเคราะห์วิธีการเก็บรวบรวมความต้องการของผู้ใช้และนำมาวิเคราะห์ Back การกำหนดคุณลักษณะของข้อมูล ที่จะทำการเก็บรวบรวมข้อมูลให้ตรงกับวัตถุประสงค์ในข้อเสนอโครงการ การกำหนดคำจำกัดความของข้อมูลที่ต้องการเก็บรวบรวม การกำหนดแหล่งที่มาของข้อมูล แหล่งข้อมูลปฐมภูมิ ประเภทข้อมูลที่เกิดขึ้นหรือมีอยู่แล้ว ประเภทข้อมูลที่ไม่มีอยู่ตามธรรมชาติ ลูกค้า คนกลาง องค์กรหน่วยงานและสมาชิกต่าง ๆ คู่แข่งขัน Next
วิธีการเก็บรวบรวมความต้องการของผู้ใช้และนำมาวิเคราะห์วิธีการเก็บรวบรวมความต้องการของผู้ใช้และนำมาวิเคราะห์ Back แหล่งข้อมูลทุติยภูมิ แหล่งภายใน รายการสินค้าแยกตามการสั่งซื้อของแต่และแผนก ขนาดและชนิดของสินค้าแยกตามประเภทของสินค้า แยกตามบัญชี ราคาสินค้า ยอดการสั่งซื้อสินค้าแยกตามแผนก ยอดการสั่งซื้อสินค้าแยกตามบริษัทผู้จัดจำหน่าย สัดส่วนการสั่งซื้อสินค้าแยกตามแผนก Next
วิธีการเก็บรวบรวมความต้องการของผู้ใช้และนำมาวิเคราะห์วิธีการเก็บรวบรวมความต้องการของผู้ใช้และนำมาวิเคราะห์ Back แหล่งข้อมูลทุติยภูมิ แหล่งภายนอก หน่วยงานของรัฐ ธุรกิจที่ให้บริการข้อมูล สมาคมการค้าและวิชาชีพ สื่อมวลชนต่าง ๆ ห้องสมุด มีความสมบูรณ์ครบถ้วนมากกว่า มีความถูกต้องมากกว่า Next
วิธีการเก็บรวบรวมความต้องการของผู้ใช้และนำมาวิเคราะห์วิธีการเก็บรวบรวมความต้องการของผู้ใช้และนำมาวิเคราะห์ Back การกำหนดวิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล การใช้เอกสารต่าง ๆ การสัมภาษณ์ การออกแบบสอบถาม การสังเกตพฤติกรรม Next
การกำหนดวิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลการกำหนดวิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล Back การใช้เอกสารต่าง ๆ การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพ Next
ชนิดของข้อมูลที่ได้จากวิธีการเก็บรวบรวมการใช้เอกสารต่าง ๆ Back Next
การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ Back การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ รายงานที่ใช้ในการตัดสินใจ รายงานแสดงประสิทธิภาพการทำงาน ข้อมูลในลักษณะเรคคอร์ด ข้อมูลที่ได้จากแบบฟอร์ม Next
รายงานแสดงประสิทธิภาพในการทำงานรายงานแสดงประสิทธิภาพในการทำงาน Back เปอร์เซ็นต์ ผิดพลาด ที่เกิดกำหนด Next เปอร์เซ็นต์ ของสินค้าที่ บกพร่อง
รายงานบันทึกการจ่ายเงินรายงานบันทึกการจ่ายเงิน ชื่อบริษัท…………………………ที่อยู่บริษัท……………………………………………………. Back Next
ร้านอาหาร Tastar ใบรับสินค้า วันที่…….……ชื้อผู้รับ……………..… โต๊ะที่………… รายการจำนวน ส้มตำไทยใส่ปู 5 ไก่ย่าง 1 ข้าวเหนียว 3 ซุปหน่อไม้ 1 น้ำมะพร้าว 3 น้ำตาลสด 1 แบบฟอร์มที่กรอกใหม่ สำหรับห้องครัว ห้องครัว………..วันที่ 30 ตุลาคม พ.ศ.2545 ผู้ส่ง…….. รายการอาหาร จำนวน ส้มตำไทยใส่ปู 5 ข้าวเหนียว 3 แบบฟอร์มบันทึกการสั่งซื้อ Back Next
การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ Back ข้อควรคำนึง อื่น ๆ แบบฟอร์มนั้นมีการบันทึกข้อมูลทุกส่วนหรือไม่ หาเหตุผลที่เว้น บางส่วนไว้ มีแบบฟอร์มใดที่ไม่เคยถูใช้เลย พร้อมเหตุผล ทุกสำเนาของแบบฟอร์ม ถูกส่งไปยังแผนกที่เกี่ยวข้องครบถ้วน หรือไม่ หรือส่งไปยังแผนกที่ไม่ต้องการใช้ มีแบบฟอร์มใดที่ใช้ไม่เป็นทางการ ลำดับของหัวข้อในการกรอกแบบฟอร์ม คำอธิบายในแบบฟอร์ม เพื่อช่วยให้ความเข้าใจให้การกรอก แบบฟอร์มถูกต้อง Next
การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ Back ข้อควรคำนึง อื่น ๆ แบบฟอร์มที่ใช้เป็นการลดหรือเพิ่มขั้นตอนการทำงาน แบบฟอร์มที่ใช้อยู่นั้นมีข้อมูลซ้ำซ้อนกับแบบฟอร์มอื่นมากน้อย เพียงใด สามารถนำอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์มาใช้ในการบันทึกแบบฟอร์ม แทนการบันทึกด้วยมือ ได้หรือไม่ Next
การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพ Back การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพ ตรวจสอบเอกสารที่อาจเป็นกุญแจสำคัญ บันทึกรายการที่เป็นคุณลักษณะที่ดี และด้อยของเอกสาร สังเกตความรู้สึกและอารมณ์ของพนักงานในองค์กร Next
การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพ Back บันทึกช่วยจำ ใบประกาศบนบอร์ดกระจายข่าว คู่มือการทำงาน คู่มือนโยบาย Next
แบบฟอร์มบันทึกช่วยจำที่ใช้ภายในองค์กรแบบฟอร์มบันทึกช่วยจำที่ใช้ภายในองค์กร Back Next
ใบประกาศบนบอร์ดกระจายข่าวใบประกาศบนบอร์ดกระจายข่าว Back Next
การศึกษาข้อมูลจากเอกสารการศึกษาข้อมูลจากเอกสาร Back การศึกษาข้อมูลจากเอกสาร ควรแบ่งข้อมูลออกเป็นกลุ่มย่อย ๆ และมีการตรวจสอบ กับเอกสารหรือข้อมูลจากแหล่งอื่น เพื่อลดความ ผิดพลาด เปรียบเทียบรายการที่ได้รับบนปรากฏการณ์เดียวกันกับ นักวิเคราะห์ระบบยายอื่นหรือจากส่วนอื่นในองค์กร อาจใช้เทคนิคการสัมภาษณ์ ออกแบบสอบถาม ช่วย ตรวจสอบอีกทางหนึ่ง Next
การสัมภาษณ์ Back การสัมภาษณ์ การสัมภาษณ์เป็นรายบุคคล การสัมภาษณ์เป็นกลุ่ม (Joint Application Design) Next
เทคนิคการสัมภาษณ์ Back เลือกเวลาเข้าสัมภาษณ์ที่เหมาะสม การแนะนำโครงการ การถามคำถาม การสร้างบรรยากาศที่ทำให้ตอบ การบันทึกคำตอบ ก่อนยุติการสัมภาษณ์ ให้ทบทวนแบบสอบถามทุกข้อ Next
ปัญหาที่มักเกิดขึ้นจากพนักงานสัมภาษณ์ปัญหาที่มักเกิดขึ้นจากพนักงานสัมภาษณ์ Back ไม่ตั้งใจทำงาน ขาดความละเอียดถี่ถ้วน เร่งทำงานมากเกินไป ถามคำถามไม่ชัดเจน หรือเปลี่ยนคำถาม บันทึกข้อมูลผิดหรือไม่สมบูรณ์ ไม่ครบถ้วนหรือไม่เข้าใจวัตถุประสงค์ของโครงการ เจตนาทุจริต ไม่ซื่อสัตย์ สร้างข้อมูลเท็จ ขาดความรับผิดชอบ ทิ้งงาน Next
การออกแบบสอบถาม Back การสร้างแบบสอบถาม โครงสร้างของแบบสอบถาม ส่วนที่ 1 : คำชี้แจง ส่วนที่ 2 : ส่วนของคำถาม Next
การสร้างแบบสอบถาม Back ลำดับขั้นในการสร้างแบบสอบถาม ศึกษาคุณลักษณะของข้อมูลที่เก็บรวบรวมมา ศึกษาวิธีการสร้างแบบสอบถาม แบ่งคุณสมบัติที่ต้องการจะวัดออกมาเป็นด้านต่าง ๆ เขียนคำชี้แจงในการตอบแบบสอบถาม การปรับปรุงรูปแบบสอบถาม นำแบบสอบถามไปทดลองใช้เพื่อวิเคราะห์หาคุณภาพ ปรับปรุงแบบสอบถามให้สมบูรณ์ จัดพิมพ์แบบสอบถาม Next
การสร้างแบบสอบถาม Back หลักในการสร้างแบบสอบถาม ต้องมีจุดมุ่งหมายที่แน่นอนว่า ต้องการถามอะไรบ้าง ต้องสร้างคำถามให้ตามจุดมุ่งหมายที่ตั้งไม่ ไม่ถามนอกประเด็น ต้องถามให้ครอบคลุมเรื่องที่จะวัด การเรียงลำดับข้อคำถาม ควรเรียงให้ต่อเนื่องสัมพันธ์กัน ลักษณะของข้อคำถามที่ดี Next
การสร้างแบบสอบถาม Back ลักษณะของข้อคำถามที่ดี ข้อคำถามไม่ควรยาวเกินไป ข้อความ หรือ ภาษาที่ใช้ในข้อคำถามต้องแจ่มชัด หลีกเลี่ยงคำถามที่เป็นปฏิเสธ ให้ขีดเส้นใต้คำที่ต้องการเน้นเป็นพิเศษ ไม่ควรใช้คำเน้น อย่าใช้คำที่มีความหมายหลายนัย Next
การสร้างแบบสอบถาม Back ลักษณะของข้อคำถามที่ดี ไม่ใช้คำถาม ถามนำหรือเสนอแนะให้ตอบ ไม่ถามเรื่องที่เป็นความลับเพราะจะทำให้ตอบไม่ตรงกับ ข้อความจริง ไม่ถามในเรื่องที่รู้แล้ว หรือถามในสิ่งที่วัดได้ด้วยวิธีอื่น ๆ ข้อคำถามต้องเหมาะสมกับกลุ่มตัวอย่าง ข้อคำถามหนึ่ง ควรเป็นเพียงปัญหาเดียว Next
การสังเกตพฤติกรรม Back ลักษณะของการสังเกตพฤติกรรม การสังเกตจากเหตุการณ์จริง และเหตุการณ์ที่สร้างขึ้น สังเกตโดยเข้าร่วมในเหตุการณ์หรือไม่ได้เข้าร่วม เหตุการณ์ สังเกตโดยตัวอย่างรู้ตัวหรือไม่รู้ตัวการแจ้งให้ตัวอย่างรู้ตัว ว่าถูกสังเกตหรือไม่บอกให้รู้ตัวการเข้ารวมกลุ่มด้วย การสังเกตด้วยบุคคล หรือสังเกตโดยใช้อุปกรณ์ เครื่องมือช่วย Next
การสังเกตพฤติกรรม Back หลักปฏิบัติในการเก็บข้อมูลโดยการสังเกต ผู้สังเกตต้องมีพื้นความรู้ในสิ่งที่จะสังเกตรวมทั้งเข้าใจ วัตถุประสงค์ในการสังเกตแต่ละครั้ง ต้องแน่ใจว่าสถานการณ์ต่าง ๆ เอื้ออำนวยในการสังเกต หรือเก็บ ข้อมูล ต้องกำหนดแบบแผนในการจดบันทึกผล ต้องกำหนดสิ่งที่ต้องการสังเกตจะสังเกตอย่างระมัดระวัง ทราบ ถึงจุดสำคัญของเหตุการณ์ ซึ่งจะทำให้ไม่ผิดพลาด ผู้สังเกตต้องมีความรู้ในการใช้เครื่องมือสังเกต ผู้สังเกตต้องปฏิบัติหน้าที่อย่างเปิดเผยยุติธรรมและไม่มีอคติต่อ เหตุการณ์ต่าง ๆ Next
สรุป Back การวิเคราะห์ออกแบบระบบที่ดีมาจากการที่ผู้วิเคราะห์ออกแบบระบบสามารถเก็บรวบรวมความต้องการของผู้ใช้ระบบได้อย่างถูกต้อง ซึ่งมีวิธีการ 4 วิธี คือ การใช้เอกสารต่าง ๆ การสัมภาษณ์ การออกแบบสอบถาม การสังเกตพฤติกรรม End
บทที่ 4 Enterprise Modeling
Enterprise Modeling เป็นกระบวนการในการสร้างแบบจำลองที่แสดงถึงวิธีการในการ เปลี่ยนข้อมูลให้เป็นสารสนเทศซึ่งผลลัพธ์ที่ได้คือ แบบจำลองเชิงตรรกะ (Logical Model)ของระบบใหม่ที่สนับสนุนกระบวนการทาง ธุรกิจและตอบสนองความต้องการของผู้ใช้ แบบจำลองเชิงตรรกะ(Logical Model) แสดงถึงสิ่ง ที่ระบบใหม่จะต้องทำ ประกอบด้วย - Entity-Relationship Diagrams - Data Flow Diagrams - Data Dictionary - Process Description
แผนภาพแสดงความสัมพันธ์แผนภาพแสดงความสัมพันธ์ Entity-Relationship Diagrams:ERD แผนภาพแสดงความสัมพันธ์เป็นแผนภาพที่แสดงความสัมพันธ์ระหว่างEntity Entity คือ คน ,สถานที่, สิ่งของหรือข้อมูล เช่น ลูกค้า, สินค้า, การสั่งซื้อ เป็นต้น ซึ่งมีขั้นตอนในการสร้างดังนี้ ขั้นตอนที่ 1 list รายชื่อ Entityที่เกี่ยวข้องกับระบบ ขั้นตอนที่ 2 สร้างความสัมพันธ์ระหว่าง Entityนั้น
แผนภาพแสดงความสัมพันธ์แผนภาพแสดงความสัมพันธ์ Entity-Relationship Diagrams:ERD สัญลักษณ์ที่ใช้ คำนาม แทนEntity ตัวอย่างเช่น หมายความว่าหมอดูแลรักษาผู้ป่วย
แผนภาพแสดงความสัมพันธ์แผนภาพแสดงความสัมพันธ์ Entity-Relationship Diagrams:ERD ประเภทของความสัมพันธ์ • ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อหนึ่ง(One-to-one relationship (1:1))
แผนภาพแสดงความสัมพันธ์แผนภาพแสดงความสัมพันธ์ Entity-Relationship Diagrams:ERD • ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อกลุ่ม(One-to-many relationship (1:M))
-ความสัมพันธ์แบบกลุ่มต่อกลุ่ม(Many-to-many relationship (M:N))
แผนภาพกระแสข้อมูล (Data Flow Diagrams :DFD) เป็นแผนภาพที่แสดงถึงกระบวนการในการเปลี่ยนข้อมูลไปเป็นสารสนเทศและขั้นตอนการทำงานของระบบโดยจะแสดงถึงสิ่งที่ระบบต้องกระทำแต่ไม่ได้แสดงว่าทำอย่างไร สัญลักษณ์ของแผนภาพกระแสข้อมูลมี 4 แบบ - การประมวลผล (Process) - การไหลของข้อมูล (Data Flow) - การเก็บข้อมูล (Data Store) - สิ่งที่เกี่ยวข้องกับระบบ (External Entity)
แผนภาพกระแสข้อมูล (Data Flow Diagrams :DFD) โดยการเขียนสัญลักษณ์มีอยู่ 2 ลักษณะ คือ - Gane and Sarson - Yourdon
แผนภาพกระแสข้อมูล (Data Flow Diagrams :DFD) • สัญลักษณ์การประมวลผล(Process symbol) เป็นสัญลักษณ์แสดงการรับข้อมูลเข้า(Input) และทำให้เกิดผลลัพธ์(Output) เช่นกระบวนการคำนวณค่าจ้าง Business logic (business rules) Required Results - ข้อมูล - รายงาน Data
แผนภาพกระแสข้อมูล (Data Flow Diagrams :DFD) • สัญลักษณ์การประมวลผล(Process symbol) ตัวอย่างเช่น CALCULATE COMMISSION โดยinputคือ - อัตราค่าจ้าง (payrate) - จำนวนชั่วโมงทำงาน (hours worked) outputคือ ค่าจ้างทั้งหมด (total pay)
แผนภาพกระแสข้อมูล (Data Flow Diagrams :DFD) • สัญลักษณ์การไหลของข้อมูล(Data Flow Symbol) เป็นสัญลักษณ์แสดงเส้นทางที่ข้อมูลเดินทางจากส่วนหนึ่งไปยังอีกส่วนหนึ่งในระบบสารสนเทศ ซึ่งสามารถแทนได้ทั้ง - ข้อมูลเดียว เช่น รหัสนักศึกษา หรือ - กลุ่มของข้อมูล เช่น class roster หมายเหตุ ในการใช้สัญลักษณ์การไหลของข้อมูล ต้องมีสัญลักษณ์ การประมวลผลมารองรับที่ปลายด้านใดด้านหนึ่ง • - รหัสนักศึกษา • ชื่อนักศึกษา • วันที่ลงทะเบียน
ตัวอย่างการเขียนสัญลักษณ์การประมวลผลตัวอย่างการเขียนสัญลักษณ์การประมวลผล
สิ่งที่ต้องหลีกเลี่ยงสิ่งที่ต้องหลีกเลี่ยง - spontaneous generation process คือprocess ที่ไม่มีinput - black hole process คือprocess ที่ไม่มี output - gray hole process คือprocess ที่ inputกับoutputไม่มีความเกี่ยวเนื่องสัมพันธ์กัน
ตัวอย่างการเขียนสัญลักษณ์การประมวลผล ที่ผิด spontaneous generation process black hole process gray hole process
แผนภาพกระแสข้อมูล (Data Flow Diagrams :DFD) • สัญลักษณ์การเก็บข้อมูล (Data Store Symbol) เป็นสัญลักษณ์แสดงข้อมูลที่ระบบเก็บเพื่อให้ Process นำไปใช้ เช่น เก็บคะแนนสอบ,การบ้าน เพื่อนำไปคำนวณเกรดในแต่ละภาคการศึกษา
ตัวอย่างการเขียนสัญลักษณ์การเก็บข้อมูลตัวอย่างการเขียนสัญลักษณ์การเก็บข้อมูล
แผนภาพกระแสข้อมูล (Data Flow Diagrams :DFD) • สัญลักษณ์สิ่งที่เกี่ยวข้องกับระบบ (Entity Symbol) เป็นสัญลักษณ์แสดงถึงสิ่งที่เกี่ยวข้องกับระบบเช่น ลูกค้า,นักศึกษา เป็นต้นโดยมีชื่อเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า เทอร์มิเนเตอร์ (Terminator) เนื่องจากเป็นทั้งจุดต้นทางและปลายทาง - ในกรณีที่ทำหน้าที่ในการส่งข้อมูลเข้าระบบ จะเรียกว่า แหล่งกำเนิด(Source) - ในกรณีที่ทำหน้าที่ในการรับข้อมูลจากระบบ จะเรียกว่า แหล่งที่เก็บ(Sink)