1 / 69

อาศัยหลักการเลขหมู่ (L.C.) กับเลขหนังสือ (Book Number) หรือ เรียกรวมกันว่า เลขเรียกหนังสือ (Call Number)

ตำแหน่งการจัดเก็บหนังสือในสำนักวิทยบริการ. อาศัยหลักการเลขหมู่ (L.C.) กับเลขหนังสือ (Book Number) หรือ เรียกรวมกันว่า เลขเรียกหนังสือ (Call Number). เลขเรียกหนังสือ (Call Number). PS100 .A5K3. PS 100. เลขหมู่ระบบ L.C. เลขหนังสือ (Book Number). .A5K3.

merton
Télécharger la présentation

อาศัยหลักการเลขหมู่ (L.C.) กับเลขหนังสือ (Book Number) หรือ เรียกรวมกันว่า เลขเรียกหนังสือ (Call Number)

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ตำแหน่งการจัดเก็บหนังสือในสำนักวิทยบริการตำแหน่งการจัดเก็บหนังสือในสำนักวิทยบริการ อาศัยหลักการเลขหมู่ (L.C.) กับเลขหนังสือ (Book Number) หรือ เรียกรวมกันว่า เลขเรียกหนังสือ (Call Number)

  2. เลขเรียกหนังสือ (Call Number) PS100 .A5K3 PS100 เลขหมู่ระบบ L.C. เลขหนังสือ (Book Number) .A5K3

  3. เลขหนังสือ (Book Number) .A5K3 อาจเรียกว่า เลขผู้แต่ง (Author Number) เลขคัตเตอร์ (Cutter Number)

  4. นั่นคือ เลขหนังสือ (Book Number) เป็นตัวเลขประจำตัวผู้แต่งใช้ประกอบกับเลขหมู่ L.C. เลขหมู่ + เลขหนังสือ ตัวแทนหนังสือ เลขเรียกหนังสือ (Call Number)

  5. ตารางเลขคัตเตอร์ของระบบ L.C. มีไว้เพื่อกำหนดตัวเลขตามอักษรของผู้แต่ง มีทฤษฎีดังนี้

  6. 1. คำที่มีอักษรตัวเลขเป็น A, E, I, O, U (สระ) ให้ดูที่พยัญชนะตัวที่ 2 ว่าเป็นอักษรใด โดยกำหนดเลขตามอักษรนั้นๆ หรือ อักษรที่ใกล้เคียงที่สุด b d l,m n p r s,t u-y 2 3 4 5 6 7 8 9

  7. Abernathy ==> .A2 Adams ==> .A3 Aster ==> .A8

  8. 2. คำขึ้นต้นด้วยอักษร S ให้ดูตัวอักษรตัวที่ 2 คือ a ch e h, i m-p t u 2 3 4 5 6 7-8 9

  9. Saint ==> .S2 Semens ==> .S4 Steels ==> .S7

  10. 3. คำขึ้นต้นด้วยอักษร Qu ให้ดูตัวอักษรตัวที่ 3 คือ a e i o r y 3 4 5 6 7 8 Queen .Q4 Quicker .Q5

  11. 4. คำขึ้นต้นด้วยพยัญชนะให้ดูอักษรที่ถัดไป หากไม่มีอักษรนั้น ๆ ในตาราง ให้ดูที่สระที่อยู่ถัดไป a e i o r u y 3 4 5 6 7 8 9

  12. Cecil .C4 Cyprus .Cy Chiengmai .C5 Phrae .P7

  13. 5. หากต้องการเพิ่มจำนวนเลขที่ 2 ต่อจากเลขคัตเตอร์เดิม ให้ดูอักษรตัวที่ 3 a-d e-h i-l m n-p r-t u-w x-z 2 3 4 5 6 7 8 9

  14. Cadmus ==> .C3(2) Campbell ==> .C3(5) Cannon ==> .C3(6)

  15. อาจารย์กมลา รุ่งอุทัย ระบุว่าเลขหนังสือของระบบ L.C. คนละหมวดอาจมีเลขผู้แต่งคนละตัวได้ Ex.:Cohen, Jacob แต่งหนังสือ Statistical Analysis for the Behavior Science จะมี เลขผู้แต่ง .C66 HA 29 .C66 เช่น สังคมศาสตร์

  16. ส่วน Cohen, Jacob แต่งหนังสือ Special Bibliography in Monetary Economics and Finance จะมี เลขผู้แต่ง .C63 เช่น Z7164.F5C63 บรรณานุกรม

  17. บางกรณีผู้แต่งคนเดียวกัน แต่งหนังสือมีเนื้อหาหมวดเดียวกัน เลขผู้แต่งต้องปรับไม่ให้ซ้ำกัน เพื่อสะดวกต่อการเก็บขึ้นชั้น

  18. ตัวอย่างของเลขเรียกหนังสือในระบบ L.C. Mc Kinley C. Olson เขียนหนังสือ Unacceptable Risk : the Nuclear Power Controversy TK 1343 .047 Technology

  19. ผู้แต่งคนเดียวกัน เขียนหนังสือชื่อเรื่องเดียวกัน แต่พิมพ์คนละครั้ง ให้ระบุปีต่อจากเลขเรียกหนังสือด้วย

  20. Ex.: Paul F. Ploutz เขียนหนังสือ The Metric System : Content and Methods พิมพ์ครั้งที่ 1 คศ. 1975 พิมพ์ครั้งที่ 2 คศ. 1977 QC 93 .P57 QC 93 .P571977

  21. บางครั้ง จะมีเลขคัตเตอร์ 2 ครั้ง เช่น John P. Sommer แต่งหนังสือ Retail Trade of Thailand HF 5429.25.T5S6 .T5 หมายถึง ประเทศไทย .T6 หมายถึง Sommer

  22. หรือ John Adams แต่งหนังสือเรื่อง Training of Staffs HF 5549.5.T7A3 .T7 หมายถึง Training .A3 หมายถึง Adams

  23. การกำหนดเลขหมู่ระบบ L.C. ระบบ L.C. ต้องการ 1. บรรณารักษ์ที่เชี่ยวชาญในเนื้อหา แต่ละสาขาวิชา (A-Z) 2. มีประสบการณ์ทั้งเนื้อหา และคู่มือ L.C.

  24. อาจารย์อรจิตร บุณยพุกกณะ ระบุวิชาการกำหนดเลขหมู่ L.C. ดังนี้ กำหนดเลขหมู่โดยตรง การใช้เลขคัตเตอร์ เลขคัตเตอร์ A-Z เลขคัตเตอร์สงวน (Reserved Cutter Number) เลขคัตเตอร์สองครั้ง (ซ้อน) (Double Cutter Number) เลขคัตเตอร์เรียงลำดับ (Successive Cutter Number)

  25. การแบ่งย่อยเลขหมู่ระบบเดียวกัน (Divided like / Subdivided like / Arranged like / Subarranged like) การกระจายภายในเลขหมู่ การใช้ตาราง (ภายใน / ภายนอก)

  26. A. การกำหนดเลขหมู่โดยตรง NA Architecture 9 yearbook society 10 General works 21 Congress 31 Encyclopedia Dictionaries เพราะฉะนั้น NA31 = สารานุกรมทางสถาปัตยกรรม

  27. B. เลขคัตเตอร์ A-Z 1. เลขคัตเตอร์ A - Z พบทุกหมวด 2. พบในแผนการจัดหมู่ที่เป็นตัวเลขสำเร็จรูป 3. พบในแผนการจัดหมู่โดยกำหนดจากอักษรตัวแรก เบ่งได้คือ เนื้อหาเฉพาะ แบ่งตามภาษา แบ่งตามเชื้อชาติ

  28. แบ่งตามสถานที่ แบ่งตามชื่อบุคคล แบ่งตามชื่อวรรณคดี แบ่งตามชื่อสถาบัน (อาคาร) แบ่งเฉพาะเรื่อง

  29. Ex. แบ่งตามสถานที่ AM Descriptive and history of Museum By country ………….. 60 Russia .A3-Z Regions. Province, A-Z .C4 Central Asia .E8 Estonia .L3 Latvia .M6 Moscow AM 60 .M6 ประวัติพิพิธภัณฑ์ของประเทศรัสเซีย

  30. HB Demography Death Mortality 1321 General Work 1322.5 Materal Mortality 1323 Other Special Subject, A-Z .A2 Accidents .C5 Children .S5 Sex นั่นคือ HB 1323.C5 อัตราการตายของเด็ก

  31. คัตเตอร์ A-Z จะปรากฏในแผนการจัดหมู่ส่วนใหญ่มีวลีต่อไปนี้ เพื่อระบุให้ แบ่งย่อยได้ คือ Special by subject. A-Z Special Topic, A-Z Special, A-Z

  32. เลขคัตเตอร์สงวน = Reserved Cutter Number ส่วนใหญ่ คือ เลขที่สำรองไว้ใช้กับเอกสาร Proceedings) Ex. : HD Special Industries and Trades Mineral and Metal Industries 9506 General work Particular Metals 9510-9529 Iron and steel 9536 Gold and Silver Other Nonferrous Metals

  33. 9539.A1A - Z Periodicals Societies Serials .A2A - Z General work .A3A - Z By region or countries. A - Z ดังนั้น .A1A - Z.A2A - Z.A3A - Z Reserved Cutter Number

  34. จากตัวอย่างข้างบน แปลได้ว่า .A1A-Z เป็นเลขคัตเตอร์สงวน สำหรับอุตสาหกรรม และการค้าโลหะปลอดสนิม ที่เป็นวารสาร หรือสมาคม หรือสิ่งพิมพ์ต่อเนื่อง Ex. : Serial Documents on Nonferrous Metals HD9539A1S4

  35. .A2A-Z เป็นเลขคัตเตอร์สงวน สำหรับ งานทั่วไป Ex. : โลหะปลอดสนิมทั่วไป เขียนโดย Robert W. Davies HD9539A2D3

  36. .A3A-Z เป็นเลขคัตเตอร์สงวน สำหรับ ประเทศต่าง ๆ Ex. : โลหะปลอดสนิมในประเทศฝรั่งเศส แต่งโดยGaston Gruyere HD9539A3F8G6

  37. เลขคัตเตอร์ 2 ครั้ง (Double Cutter Number) หมายถึง การกำหนดเลขหมู่ที่มีตัวอักษร และตัวเลข 2 ครั้ง เป็นการแบ่งย่อยตามเนื้อหา หรือตามสถานที่ภูมิศาสตร์ (ชุดแรก) ส่วนคัตเตอร์ชุดที่ 2 อาจเป็นชื่อเรื่อง หรือผู้แต่ง เช่น HD 9539 .A2D3 ชื่อผู้แต่ง (Robert W. Davies) เรื่องทั่วไปของโลหะปลอดสนิม

  38. เลขคัตเตอร์เรียงลำดับ (Successive Cutter Number) เป็นวิธีการแบ่งเลขหมู่อย่างละเอียด โดยแบ่งตามเรื่องที่เฉพาะ ชื่อเฉพาะ หรือประเทศ ทั้งนี้ตามอักษร A - Z หากบรรณารักษ์ต้องการขยายเลขหมู่ของเนื้อหาอื่น ๆ สามารถดูตามเลขคัตเตอร์เรียงลำดับได้

  39. AM Museum Collectors and Collecting Description and History of Museum continued 101 Individual Museum. By place. A - Z Under each Table 1 Using Successive Cutter Number (0) Collection (1) Acts of Incorporation, by Laws, Rules (2) Administration

  40. (3) Annual Report (4) General Serials (4.5) Minor official reports (5) Guidebooks Catalogs (5.2) Special Minor Exhibits (6) History (6.5) Description works (7) General works (9) Miscellaneous. Printed Matter Circulars e.g. .B8 - 89 British Museum

  41. จากคำสั่งข้างต้น พิพิธภัณฑ์แห่งชาติอังกฤษ มีเลขหมู่ละเอียดดังนี้ AM101.B8 = พิพิธภัณฑ์อังกฤษและเรื่องทั่วไป.B81 = กฎระเบียบของพิพิธภัณฑ์ฯ .B82 = การบริหารของพิพิธภัณฑ์ฯ …… ……… .B85 = คู่มือนำชมพิพิธภัณฑ์ฯ .B86 = ประวัติความเป็นมาของพิพิธภัณฑ์ .B89 = เรื่องเบ็ดเตล็ดของพิพิธภัณฑ์ หากเป็นกฎระเบียบพิพิธภัณฑ์แห่งชาติของไทยจะมีเลขหมู่ AM101.T51

  42. กิจกรรม ให้นักศึกษาแต่ละกลุ่ม กระจายเลขหมู่ของพิพิธภัณฑ์ กลุ่มละ 1 ประเทศที่ไม่ซ้ำกัน

  43. หรือ HF Commerce Department Stores 5465 By region or countries. A - Z Under Each. Country (Using Successive Cutter Number) .X Periodicals Societies Serial .X2 General Works .X3 History, Policy, Taxation .X35 Local, A - Z .X4 Particular Firm, A - Z HF 5465.T5 ห้างสรรพสินค้าของไทยและรวมถึงวารสารเกี่ยวข้องกับห้างสรรพสินค้าของไทย

  44. เพราะฉะนั้นห้างสรรพสินค้าของจังหวัดอุตรดิตถ์เพราะฉะนั้นห้างสรรพสินค้าของจังหวัดอุตรดิตถ์ HF5465.T535U8 หรือห้าง Tesco - Lotus ในประเทศไทย HF5465.T54T4

  45. กิจกรรม ให้นักศึกษาแต่ละกลุ่ม จัดหาเลขหมู่ของห้างสรรพสินค้าในจังหวัดต่าง ๆ มา 5 ชุด และเลขหมู่ของชื่อห้างสรรพสินค้า จำนวน 5 ชุด

  46. การแบ่งย่อยเลขหมู่แบบเดียวกันการแบ่งย่อยเลขหมู่แบบเดียวกัน คือ แบ่งตามเลขหมู่ที่เคยแบ่งก่อนหน้านี้ ส่วนใหญ่มีคำว่า Divided like / Subdivided like / Arranged like / Subarranged like Ex. : US กองทัพบก การจัดหน่วย การประกอบกำลัง การระดมกำลัง 910 General workBy country United States

  47. 913 = General work914 = By states, A - Z 915 = Other countries, A - Z ซึ่งในแผนการจัดหมู่ที่เลข UA จะมีรายละเอียดข้างต้น กรณีที่เปิดไปที่เลข UA920 - 925 = แผนการโจมตีข้าศึก และแผนการป้องกันประเทศจะพบว่า divided likeUA910 - 915 ดังนั้น แผนการโจมตีข้าศึกของประเทศไทย จะมีเลขหมู่ UA925.T5

  48. กิจกรรม ให้นักศึกษาจัดหาเลขหมู่ แผนการโจมตีข้าศึกของมลรัฐในประเทศสหรัฐอเมริกา กลุ่มละ 2 ชุด

  49. การกระจายภายในเลขหมู่การกระจายภายในเลขหมู่ คือ แผนการจัดหมู่จะกำหนดกลุ่มตัวเลขให้ ผู้จัดต้องนำไปกระจายตามคำสั่งที่กำหนดให้ อาจเป็นเนื้อหา หรือสถานที่ภูมิศาสตร์ เช่น HS3061 - 3065 คือ สมาคม สโมสร ของประเทศอินเดีย

  50. เรานำกลุ่มตัวเลขข้างต้นมาจัดหมู่ไม่ได้ เพราะยังไม่ใช่ตัวเลขเฉพาะ ดังนั้นให้ดูคำสั่งที่อยู่ก่อนหน้านี้ โดยมีคำสั่งว่า 3061 - 6065 อินเดียApply table at HS2861 - 2865

More Related