1 / 66

การบริหารความเสี่ยง Risk management

การบริหารความเสี่ยง Risk management. นาวาอากาศตรีหญิง พรประภา โลจนะวงศกร. เป้าหมาย. โรงพยาบาลเป็นสถานที่ที่ปลอดภัยแก่ผู้มารับบริการ ญาติและเจ้าหน้าที่ ระดับบุคคล : เจ้าหน้าที่รับทราบข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับความเสี่ยง หน่วยงาน/รพ . มีการเฝ้าระวังและการค้นหาความเสี่ยง

milla
Télécharger la présentation

การบริหารความเสี่ยง Risk management

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การบริหารความเสี่ยงRisk management นาวาอากาศตรีหญิง พรประภา โลจนะวงศกร

  2. เป้าหมาย • โรงพยาบาลเป็นสถานที่ที่ปลอดภัยแก่ผู้มารับบริการ ญาติและเจ้าหน้าที่ • ระดับบุคคล : เจ้าหน้าที่รับทราบข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับความเสี่ยง • หน่วยงาน/รพ. • มีการเฝ้าระวังและการค้นหาความเสี่ยง • มีมาตรการป้องกันและควบคุมความเสี่ยง • หน่วยงานสามารถจัดการกับความเสี่ยงที่เกิดขึ้นได้อย่างมีประสิทธิภาพ

  3. รู้จัก….ความเสี่ยง การบริหารความเสี่ยงที่เป็นรูปธรรม • ระดับหน่วยงาน • ระดับโรงพยาบาล

  4. ทีมที่เกี่ยวข้อง • ทีม RM • ทีมนำเฉพาะด้านต่างๆ • หน่วยงาน/ทีมงานประจำวัน น.ต หญิง พรประภา โลจนะวงศกร

  5. การบริหารความเสี่ยงระดับโรงพยาบาลการบริหารความเสี่ยงระดับโรงพยาบาล • นโยบายการบริหารความเสี่ยงในระดับโรงพยาบาล • การส่งเสริมความปลอดภัยและรายงานที่ต้องการ • คำจำกัดความของความเสี่ยงและการบริหารความเสี่ยง • ความรับผิดชอบของทีม/หัวหน้าหน่วยงานต่างๆ • นโยบายการค้นหาและรายงานเหตุการณ์ที่มีความสำคัญสูง • การเชื่อมโยงกับระบบบริหารความเสี่ยงของรพ. • โครงสร้างองค์กรหรือการสื่อสาร

  6. บทบาทคณะกรรมการ RM • กำหนดทิศทาง นโยบายและติดตามประเมินผลว่า ระบบที่ใช้อยู่นั้นมีประสิทธิภาพเพียงใด • สามารถป้องกันและจัดการกับความเสี่ยงหรือความ สูญเสียได้ดีเพียงใด • ทำหน้าที่ประสานเชื่อมโยงกิจกรรมและข้อมูลข่าวสาร ระหว่างโปรแกรมต่างๆ เพื่อให้เห็นภาพรวมของ ความเสี่ยงทั้งโรงพยาบาล • ให้ความช่วยเหลือแก่หน่วยงานต่างๆเพื่อสร้างความเข้าใจ และสงบความไม่พึงพอใจแก่ผู้สูญเสียให้เร็วที่สุด น.ต หญิง พรประภา โลจนะวงศกร

  7. ผู้จัดการความเสี่ยง มีหน้าที่ประสานกิจกรรมบริหารความเสี่ยงของรพ. ที่เป็นรายงานประจำวัน ได้แก่ • การรวบรวมและวิเคราะห์รายงานอุบัติการณ์ • การประสานกับคณะกรรมการที่เกี่ยวข้องกับความเสี่ยงนั้นๆ • การติดตามประเมินผลการจัดการ • การให้ความรู้และสร้างความตระหนัก • การประสานงานด้านกฎหมาย

  8. กระบวนการบริหารความเสี่ยงกระบวนการบริหารความเสี่ยง จัดระบบเพื่อป้องกัน /แก้ไขความเสี่ยง ค้นหาความเสี่ยง ประเมินความเสี่ยง การติดตามประเมิน/เฝ้าระวังความเสี่ยง น.ต หญิง พรประภา โลจนะวงศกร

  9. การค้นหาความเสี่ยง

  10. การค้นหาความเสี่ยง • ค้นเชิงรุก • ค้นในเชิงตั้งรับ น.ต หญิง พรประภา โลจนะวงศกร

  11. การค้นหาความเสี่ยง การค้นหาเชิงรุก • การตรวจสอบ เช่น ENV Round IC Round Risk Round การทบทวนเวชระเบียน การค้นหาจากกระบวนการทำงานการทำกิจกรรมทบทวน การค้นหาแบบตั้งรับ • รายงานต่างๆ เช่น รายงานอุบัติการณ์ รายงานเวรตรวจการ บันทึกประจำวันของหน่วยงาน เป็นต้น

  12. การค้นหาความเสี่ยงทางคลินิกการค้นหาความเสี่ยงทางคลินิก • ค้นหาจากกระบวนการดูแลผู้ป่วย • ประสบการณ์ในอดีตของตนเองหรือผู้อื่น เช่น รายงานอุบัติการณ์ ข่าวเหตุการณ์ ในหน้าหนังสือพิมพ์ • ผลการวิจัยในวารสารวิชาการต่างๆ • ทบทวนการดูแลผู้ป่วยอย่างสม่ำเสมอ น.ต หญิง พรประภา โลจนะวงศกร

  13. บันทึกที่มีอยู่แล้ว/ตั้งรับบันทึกที่มีอยู่แล้ว/ตั้งรับ • บันทึกการบำรุงรักษาเชิงป้องกัน • รายงานการตรวจสอบเพื่อป้องกันอัคคีภัย • รายงานยาเสพติด • บันทึกการควบคุมคุณภาพของห้องปฏิบัติการ • รายงานการควบคุมคุณภาพของอาหาร • รายงานด้านอาชีวอนามัย • รายงานการตรวจสอบความปลอดภัยในการทำงาน • รายงานการตรวจสอบความปลอดภัยด้านรังสีวิทยา • รายงานอุบัติการณ์ • รายงานการติดเชื้อในโรงพยาบาล • บันทึกประจำวันของหน่วยงาน • รายงานเวรตรวจการ • รายงานของหน่วยรักษาความปลอดภัย น.ต หญิง พรประภา โลจนะวงศกร

  14. วิธีการหาความเสี่ยงจากกระบวนการดูแลผู้ป่วย • patient round เป็นการค้นหาความเสี่ยงจาก ผู้ป่วยที่กำลังนอนอยู่ เช่น C3THER , nursing round ,grand round เป็นต้น • chart round เป็นการสุ่มเวชระเบียนมาอ่าน มาทบทวนว่าเรามีอะไรที่อาจหลุดหรือผิดพลั้ง ไป มีอะไรที่ไม่ได้สื่อสารกันหรือดูแลไม่สอดคล้องกัน ควรทำให้บ่อยที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้แพทย์ดูของ แพทย์ พยาบาลดูเองพยาบาล เมื่อไรเห็นควรจะ มาทบทวนร่วมกันก็นัดมาคุยกัน น.ต หญิง พรประภา โลจนะวงศกร

  15. จะหาความเสี่ยงได้อย่างไรจะหาความเสี่ยงได้อย่างไร • disease round เป็นการเอาโรคเป็นตัวตั้ง พิจารณาว่าประเด็นสำคัญโรคนี้มีอะไรบ้าง จะดูแลตรงไหนให้ดีขึ้นอย่างไร ( ซึ่งอาจใช้แนวคิดองค์รวม ใช้เครื่องชี้ วัด ใช้ความรู้ทางวิชาการที่เปลี่ยนไป หรือใช้การทบทวนเหตุการณ์ไม่พึงประสงค์ มาจุดประกายการพัฒนา) • การทบทวน 12 กิจกรรมตามบันไดขั้นที่ 1 น.ต หญิง พรประภา โลจนะวงศกร

  16. การทบทวน 12 กิจกรรมเป็นกลไกตรวจจับเหตุการณ์ไม่พึงประสงค์ การทบทวน 12 กิจกรรม น.ต หญิง พรประภา โลจนะวงศกร

  17. กิจกรรมทบทวน การทบทวนขณะดูแลผู้ป่วย: เป็นการตรวจหาปัญหาในเรื่องความเหมาะสมของการดูแลผู้ป่วย อาจจะพบเหตุเกือบพลาดหรือภาวะแทรกซ้อนและสามารถแก้ไขได้ในทันที การทบทวนการส่งต่อ/ขอย้าย/ปฏิเสธการรักษา: เป็นการตรวจหาปัญหาในเรื่อง competency ขององค์กร รวมทั้งความไม่พึงพอใจ ซึ่งอาจจะแฝงอยู่ การค้นหาและป้องความเสี่ยง : เป็นการทบทวนประสบการณ์ในหน่วยงานของตนเองและองค์อื่น รวมทั้งความเป็นไปได้ที่จะเกิดเหตุการณ์ไม่พึงประสงค์ โดยไม่ต้องรอให้เกิดเหตุการณ์ก่อน ทีมงานอาจจะนำเหตุการณ์ซึ่งเกิดขึ้นที่อื่นมาพิจารณาในเชิงรุก โยการถามว่า “เหตุการณ์นี้จะเกิดขึ้นในองค์กรของเราได้หรือไม่” ถ้ามีโอกาสก็หาทางป้องกันโดยไม่ต้องรอให้เกิดเหตุการณ์นั้นก่อน

  18. กิจกรรมการทบทวน • การป้องกันและการเฝ้าระวังการติดเชื้อในโรงพยาบาล:เป็นการตรวจหาเหตุการณ์ไม่พึงประสงค์เฉพาะระบบการป้องกันการติดเชื้อในโรงพยาบาล • การป้องกันและเฝ้าระวังความคลาดเคลื่อนทางยา: เป็นการตรวจหาเหตุการณ์ไม่พึงประสงค์ หรือ เหตุเกือบพลาดเฉพาะระบบยา • การทบทวนการตรวจรักษาโดยผู้ที่มิใช่แพทย์:เป็นการตรวจหาปัญหาในเรื่อง competency ของผู้ประกอบวิชาชีพ รวมทั้งเป็นการรวบรวมข้อมูลที่จะเป็นเนื้อหาในการพัฒนา competency หรือการจัดทำแนวทางการดูแลผู้ป่วยที่เหมาะสม น.ต หญิง พรประภา โลจนะวงศกร

  19. กิจกรรมการทบทวน • การทบทวนการดูแลผู้ป่วยจากเหตุการณ์สำคัญ:เป็นการตรวจหาเหตุการณ์ไม่พึงประสงค์ที่รุนแรง เช่น การเสียชีวิต การเกิดภาวะแทรกซ้อน • การทบทวนความสมบูรณ์เวชระเบียน:เป็นการตรวจหาเหตุการณ์ไม่พึงประสงค์ หรือ เกือบพลาด ซึ่งบันทึกไว้เป็นลายลักษณ์อักษร การทบทวนหลังจากจำหน่ายผู้ป่วยแล้วจะทำให้ตรวจจับเหตุการณ์ที่อาจหลุดรอดไปจากรายงานอุบัติการณ์ • การทบทวนการใช้ความรู้ทางวิชาการ: เป็นการหาโอกาสปรับปรุงการดูแลผู้ป่วยเชิงรุกโยไม่ต้องรอให้เกิดเหตุการณ์ไม่พึงประสงค์ น.ต หญิง พรประภา โลจนะวงศกร

  20. กิจกรรมการทบทวน • การติดตามเครื่องชี้วัดที่สำคัญ:เป็นการศึกษา performance ของระบบว่าอยู่ในระดับที่น่าพอใจหรือไม่ • การทบทวนความคิดเห็น/ข้อร้องเรียน : เป็นการรับทราบความไม่พึงพอใจของผู้ป่วยอาจมีตั้งแต่ระดับไม่รุนแรงถึงระดับรุนแรงมาก ไม่ว่าจะเป็นความไม่พึงพอใจในระดับใดก็สามารถสะท้อนปัญหาเชิงระบบขององค์กรได้ น.ต หญิง พรประภา โลจนะวงศกร

  21. Clinical Risk • Common Clinical risk • เป็นความเสี่ยงโดยทั่วไปในกระบวนการทางการพยาบาล การดูแลผู้ป่วย • Specific Clinical risk • เป็นความเสี่ยงเฉพาะตามกลุ่มโรค/หัตถการที่สำคัญ

  22. Common ClinicalRISK

  23. ความเสี่ยงทางคลินิกทั่วไป(Common ClinicalRISK) • เป็นความเสี่ยงทางคลินิกที่ระบุกว้างๆ ในกระบวนการรักษา • ไม่จำเพาะต่อโรคใดโรคหนึ่ง • อาจพบร่วมในหลายคลินิกบริการ • อาจใช้มาตรการเดียวกันในการป้องกันในภาพรวม • นำไปสู่การค้นหาความเสี่ยงทางคลินิกเฉพาะโรคได้ • พบในระยะแรกของการพัฒนา ในระยะถัดมาจะมีความนิ่งและ สามารถแก้ไขได้เป็นส่วนใหญ่ น.ต หญิง พรประภา โลจนะวงศกร

  24. ความเสี่ยงทางคลินิกทั่วไป(Common Clinical RISK) • ผลตรวจทางห้องปฏิบัติการ/เอกซ์เรย์ผิดพลาด • การให้เลือดผิดคน • การให้ยาผิดพลาด • การให้สารน้ำผิดพลาด • การติดเชื้อในโรงพยาบาล • แผลกดทับ • ตกเตียง • ฆ่าตัวตาย/ถูกฆาตกรรม น.ต หญิง พรประภา โลจนะวงศกร

  25. Disease-Specific ClinicalRISK ความเสี่ยงทางคลินิกเฉพาะโรค

  26. Specific Clinical risk สูติ-นรีเวชกรรม Disease/condition/procedureClinical risk/AE/Cx • Pregnancy induced hypertension • Postpartum haemorrhage • Labour • Ectopic pregnancy • Ecclampsia / convulsion • Hypovolemic shock • Severe birth asphyxia • Birth trauma • Rupture uterine • Rupture ectopic pregnancy น.ต หญิง พรประภา โลจนะวงศกร

  27. Specific Clinical risk สูติ-นรีเวชกรรม Disease/condition/procedureClinical risk/AE/Cx • Pregnancy induced hypertension • Postpartum haemorrhage • Preterm • Thallasemia • Ecclampsia / convulsion • Hysterectomy/Blood Tx • Severe birth asphyxia • LBW • Death after Cordocentesis น.ต หญิง พรประภา โลจนะวงศกร

  28. Specific Clinical risk ศัลยกรรม Disease/condition/procedureClinical risk/AE/Cx • Head injuries • Acute appendicitis • Multiple trauma • Limb injuries • IICP/Herniation • Ruptured • Shock • Replantation failure น.ต หญิง พรประภา โลจนะวงศกร

  29. Specific Clinical risk ศัลยกรรม Disease/condition/procedureClinical risk/AE/Cx • Head injuries • UGIB • CA breast • Nephrolithotomy • IICP • Death/rebleeding • Cx • Pain/SSI น.ต หญิง พรประภา โลจนะวงศกร

  30. SpecificClinical risk อายุรกรรม Disease/condition/procedureClinical risk/AE/Cx • Myocardial infarction • Cerebrovascular disease • Tuberculosis • Diabetic Foot • Shock/CHF • IICP/Rebleeding • Relapse/Reinfection • Limb loss น.ต หญิง พรประภา โลจนะวงศกร

  31. Specific Clinical risk กุมารเวชกรรม Disease/condition/procedureClinical risk/AE/Cx • Dengue HF • RDS • High Fever • Diarrhea • Asthma • Hemorrhage / Shock • Pneumothorax • Convulsion • Electrolyte imbalance • Respiratory Failure น.ต หญิง พรประภา โลจนะวงศกร

  32. Specific Clinical risk กุมารเวชกรรม Disease/condition/procedureClinical risk/AE/Cx • Pneumonia • LBW • IUGR • Peterm • Death • Death • Hypothermia • RDS น.ต หญิง พรประภา โลจนะวงศกร

  33. Specific Clinical risk ศัลยกรรมออร์โธปิดิกส์ Disease/condition/procedureClinical risk/AE/Cx • Shock • Osteomyelitis • Wound infection • Broken plate • Compartment Synd. • Multiple fracture • Open Fracture • Instrument insertion • Closed Fracture BB น.ต หญิง พรประภา โลจนะวงศกร

  34. Specific Clinical risk โสต ศอ นาสิก/จักษุ Disease/condition/procedureClinical risk/AE/Cx • Laryngeal / thyroid operation • Tonsillectomy • Cataract Operation • Upper airway obstruction • Acute bleeding • Infection น.ต หญิง พรประภา โลจนะวงศกร

  35. สรุป adverse event ที่พบใน CLT ศัลย์ 12 ราย ในผู้ป่วยทบทวน 71 ราย = 16.90% - IC เพื่อป้องกัน hospital infection, Sepsis- Trigger marker ของแต่ละสาขา การจัดหาเครื่องมือผ่าตัดกะโหลกที่มีประสิทธิภาพ Delay Diag &Delay treat cause of sepsis1 ราย Unplan ICU + septic shock 1 ราย Severe bleed 2 ราย จาก surgery Hospital infection 3 ราย Aspirate pneumonias จากcraniectomy 3 ราย Anestheticcomplication 1 ราย Re-operation 1 ราย Mind Map aspintepneumonia การดูแลด้านวิสัญญี

  36. REVIEW CASE DEAD( เดือน มิ.ย. - ส.ค. 50 ) ( ไม่นับ case SEPSIS ) เป็น UNEXPECTED DEAD 4 รายใน 46 ราย สรุป adverse event ที่พบใน CLT อายุรกรรม 6 ราย ในผู้ป่วยทบทวน 184 ราย = 3.42% แนวทางการดูแล case ที่มาด้วยอาการคล้ายกัน REVIEW CASE SEPSIS SEPSIS 61 ราย No appropriate RX 1 Delay Dx & Rx ไม่เสียชีวิต 28 ราย เสียชีวิต 33 ราย Delayed response 3 2 - AE 4 ราย (14.29%) - Wrong Dx 6 ราย Delay Diag 4 ราย - Delayed ATB 3 ราย - AE อื่นๆ 4 ราย Trigger marker , Clinical Tracer sepsis & ACS

  37. กระบวนการบริหารความเสี่ยงกระบวนการบริหารความเสี่ยง จัดระบบเพื่อป้องกัน /แก้ไขความเสี่ยง ค้นหาความเสี่ยง ประเมินความเสี่ยง การติดตามประเมิน/เฝ้าระวังความเสี่ยง น.ต หญิง พรประภา โลจนะวงศกร

  38. โปรแกรมที่เกี่ยวข้องกับการบริหารความเสี่ยงโปรแกรมที่เกี่ยวข้องกับการบริหารความเสี่ยง • ความเสี่ยงทางคลินิค • ความเสี่ยงด้านสิ่งแวดล้อม • ความปลอดภัยจากการใช้ยา • อาชีวอนามัยและความปลอดภัย • การควบคุม/เฝ้าระวังการติดเชื้อในโรงพยาบาล • การป้องกันอัคคีภัย/อุบัติภัย • อื่นๆ(ตามที่โรงพยาบาลกำหนด)

  39. การประเมินความเสี่ยง • มีวิธีการประเมินความรุนแรงความเสี่ยงอย่างไร ???? น.ต หญิง พรประภา โลจนะวงศกร

  40. การประเมินความเสี่ยง • เป้าหมายเพื่อ ; สามารถ • บอกระดับความรุนแรงของผลกระทบที่ตามมาได้ • มีการอธิบายหรือคาดการณ์ความรุนแรงของความเสี่ยงได้ น.ต หญิง พรประภา โลจนะวงศกร

  41. แนวทางการประเมินความเสี่ยงแนวทางการประเมินความเสี่ยง พิจารณาจาก : โอกาสเกิดเหตุการณ์/ความสูญเสีย • มีความถี่และรุนแรงมากน้อยเพียงใด • มีผลทางคลินิกอย่างไร/ก่อให้เกิดความสูญเสียเท่าใด • มีผลต่อองค์กรอย่างไร

  42. The National Coordinating Council for Medication Error Reporting and Prevention ระดับ A เหตุการณ์ซึ่งมีโอกาสที่จะก่อให้เกิดความคลาดเคลื่อน ระดับ B เกิดความคลาดเคลื่อนขึ้น แต่ยังไม่ถึงผู้ป่วย ระดับ C เกิดความคลาดเคลื่อนกับผู้ป่วย แต่ไม่ทำให้ผู้ป่วยได้รับอันตราย ระดับ D เกิดความคลาดเคลื่อนกับผู้ป่วย ส่งผลให้ต้องมีการเฝ้าระวังเพื่อให้มั่นใจว่าไม่เกิดอันตรายต่อผู้ป่วย แนวทางการจัดระดับความรุนแรง น.ต หญิง พรประภา โลจนะวงศกร

  43. แนวทางการจัดระดับความรุนแรงแนวทางการจัดระดับความรุนแรง ระดับ E เกิดความคลาดเคลื่อนกับผู้ป่วยส่งผลให้เกิดอันตรายชั่วคราว และต้องมีการบำบัดรักษา ระดับ F เกิดความคลาดเคลื่อนกับผู้ป่วยส่งผลให้เกิดอันตรายชั่วคราว และต้องนอนโรงพยาบาล หรืออยู่โรงพยาบาลนานขึ้น ระดับ G เกิดความคลาดเคลื่อนกับผู้ป่วยส่งผลให้เกิดอันตรายถาวรแก่ผู้ป่วย ระดับ H เกิดความคลาดเคลื่อนกับผู้ป่วยส่งผลให้ต้องทำการช่วยชีวิต น.ต หญิง พรประภา โลจนะวงศกร

  44. ระดับ I เกิดความคลาดเคลื่อนกับผู้ป่วยซึ่งอาจเป็นสาเหตุของการเสียชีวิต หมายเหตุ การแบ่งระดับอุบัติการณ์หนึ่งอาจมีหลายระดับขึ้นกับว่าพิจารณาจากกระบวนการตั้งต้นอะไร การจำแนกประเภทจึงมีความสำคัญ แนวคิดของ NCCMERP จะมองที่ผู้รับผลงานหรือผู้ป่วยเป็นสำคัญในการจัดลำดับความรุนแรง ระดับ G จะเน้นที่อันตรายถาวร จึงมี 2 สถานะคือ รุนแรงน้อยกว่า และมากกว่าระดับ H แนวทางการจัดระดับความรุนแรง น.ต หญิง พรประภา โลจนะวงศกร

  45. ตัวอย่างการจัดระดับความรุนแรงตัวอย่างการจัดระดับความรุนแรง • ระดับ 1 เหตุการณ์ซึ่งมีโอกาสที่จะก่อให้เกิดความคลาดเคลื่อน • ระดับ 2 เกิดความคลาดเคลื่อนขึ้น แต่ยังไม่ถึงผู้ป่วย • ระดับ 3 เกิดความคลาดเคลื่อนกับผู้ป่วย แต่ไม่ทำให้ผู้ป่วยได้รับอันตราย • ระดับ 4 เกิดความคลาดเคลื่อนกับผู้ป่วย ส่งผลให้ต้องมีการเฝ้าระวังเพื่อให้มั่นใจว่าไม่เกิดอันตรายต่อผู้ป่วย • ระดับ 5 เกิดความคลาดเคลื่อนกับผู้ป่วยส่งผลให้เกิดอันตรายชั่วคราว และต้องมีการบำบัดรักษา

  46. ตัวอย่างการจัดระดับความรุนแรงตัวอย่างการจัดระดับความรุนแรง • ระดับ 6 เกิดความคลาดเคลื่อนกับผู้ป่วยส่งผลให้เกิดอันตรายชั่วคราว และต้องนอนโรงพยาบาล หรืออยู่โรงพยาบาลนานขึ้น • ระดับ 7 เกิดความคลาดเคลื่อนกับผู้ป่วยส่งผลให้เกิดอันตรายถาวรแก่ผู้ป่วย • ระดับ 8 เกิดความคลาดเคลื่อนกับผู้ป่วยส่งผลให้ต้องทำการช่วยชีวิต • ระดับ 9 เกิดความคลาดเคลื่อนกับผู้ป่วยซึ่งอาจเป็นสาเหตุของการเสียชีวิต

  47. ตัวอย่างการจัดระดับความรุนแรงตัวอย่างการจัดระดับความรุนแรง • ระดับ 0: เป็นเหตุการณ์ที่ก่อให้เกิดความคลาดเคลื่อน แต่ยังไม่ถึงผู้รับบริการ/ผู้ปฏิบัติงาน (Nearmiss) • ระดับ 1: ผู้รับบริการ/ผู้ปฏิบัติงาน ได้รับผลกระทบแต่ไม่ต้องเฝ้าระวังหรือรักษา • ระดับ 2: ผู้รับบริการ/ผู้ปฏิบัติงาน ได้รับผลกระทบ ส่งผลให้ต้องมีการดูแลหรือเฝ้าระวัง เพื่อให้มั่นใจว่าไม่เกิดอันตราย • ระดับ 3: ส่งผลให้เกิดอันตรายถาวร ต้องทำการช่วยชีวิต และถึงแก่ชีวิต

  48. ระบบรายงานอุบัติการณ์ระบบรายงานอุบัติการณ์ • มีคำจำกัดความของอุบัติการณ์/เหตุการณ์ไม่พึงประสงค์ของรพ. • มีแนวทางที่ชัดเจนว่า ในกรณีใดที่จะต้องรายงาน • กำหนดผู้มีหน้าที่ในการเขียนรายงาน • กำหนดเส้นทางเดินของรายงานที่รัดกุม เป็นหลักประกันในการรักษาความลับ และไม่อนุญาตผู้ที่ไม่เกี่ยวข้องเข้าถึงได้ • การสร้างความเข้าใจว่า การแก้ปัญหานี้มิใช่การลงโทษ

  49. ประเภทของรายงานอุบัติการณ์ประเภทของรายงานอุบัติการณ์ • เหตุการณ์ไม่พึงประสงค์ที่รุนแรง (Sentinel events) • เหตุการณ์ไม่พึงประสงค์ (Adverse events) • เหตุการณ์ผิดปกติ

  50. เมื่อเกิดเหตุการณ์ไม่พึงประสงค์เมื่อเกิดเหตุการณ์ไม่พึงประสงค์ ระบบรายงานความเสี่ยง รายงานทันที ผู้จัดการความเสี่ยง ENV IM PCT IC วิเคราะห์ความรุนแรง ส่งกลับหน่วยงาน ระดับ 3-4 แก้ไข และส่งรายงานการทบทวนภายใน 1 สัปดาห์ ระดับ7-9 แก้ไข RCA ส่งรายงานการทบทวนภายใน 24 ชั่วโมง ระดับ 1-2 หน่วยงานแก้ไขวางมาตรการป้องกันความเสี่ยง ระดับ 5-6 แก้ไข RCAส่งรายงานการทบทวนภายใน 3 วัน

More Related