1 / 31

ขั้นตอนที่ 1 กำหนด ขอบเขต การประเมิน

ขั้นตอนการประเมินองค์กรด้วยตนเอง. มีความรู้ความเข้าใจในเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ. ขั้นตอนที่ 1 กำหนด ขอบเขต การประเมิน. ขั้นตอนที่ 5 ฝึกประเมิน องค์กร ด้วยตนเอง. ขั้นตอนที่ 2 กำหนดกลุ่ม ผู้ทำหน้าที่ ประเมิน. ขั้นตอนที่ 3 กำหนดแผน การประเมิน. ขั้นตอนที่ 4 จัดทำ

moya
Télécharger la présentation

ขั้นตอนที่ 1 กำหนด ขอบเขต การประเมิน

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ขั้นตอนการประเมินองค์กรด้วยตนเองขั้นตอนการประเมินองค์กรด้วยตนเอง มีความรู้ความเข้าใจในเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ขั้นตอนที่ 1 กำหนด ขอบเขต การประเมิน ขั้นตอนที่ 5 ฝึกประเมิน องค์กร ด้วยตนเอง ขั้นตอนที่ 2 กำหนดกลุ่ม ผู้ทำหน้าที่ ประเมิน ขั้นตอนที่ 3 กำหนดแผน การประเมิน ขั้นตอนที่ 4 จัดทำ “ลักษณะสำคัญ ขององค์กร” ขั้นตอนที่ 10 ประเมิน และปรับปรุง กระบวนการ ขั้นตอนที่ 9 จัดทำแผน ปรับปรุงแก้ไข ตามลำดับ ความสำคัญ ขั้นตอนที่ 8 วิเคราะห์ โอกาสในการ ปรับปรุง และจัดลำดับ ขั้นตอนที่ 7 ดำเนินการ ประเมิน ขั้นตอนที่ 6 จัดตั้งทีมงาน ประเมิน ในแต่ละหัวข้อ ดำเนินการปรับปรุงแก้ไขตามแผนการปรับปรุง

  2. การนำองค์กรเข้าสู่การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐการนำองค์กรเข้าสู่การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ PMQA

  3. การเตรียมความพร้อมขององค์กรการเตรียมความพร้อมขององค์กร 1

  4. 2 การกำหนดผู้รับผิดชอบ ผู้นำระดับสูง + คนรู้เนื้องาน (Steering Committee) ทีม ผู้มีพลัง (หนุ่มสาว) + คนรู้เนื้องาน (Working Team) องค์ประกอบ ผู้นำระดับสูง + คนรู้เนื้องาน (Improvement Team)

  5. Steering Committee ผู้บริหารสูงสุด CEO ประธาน ผู้บริหารระดับรอง ผู้บริหารระดับรอง ผู้บริหารระดับรอง CCO รองประธาน หน้าที่: สนับสนุน Working Team ในการดำเนินการ จัดสรรทรัพยากรสำหรับดำเนินการตามแผนปรับปรุง และสื่อสารให้ทุกคนในองค์กรตระหนักถึงความสำคัญของการใช้เกณฑ์มาปรับปรุงองค์กร

  6. Working Team< 20 คน รองประธานSteering Committee Category Champion 1…2.3 Category Champion 6 Members Members หน้าที่: ดำเนินการประเมินองค์กรด้วยตนเอง และเขียน Application Report ระบุจุดแข็ง โอกาสในการปรับปรุง และกำหนดแผนการปรับปรุง

  7. จะจัดตั้งทีมงานอย่างไร?จะจัดตั้งทีมงานอย่างไร?

  8. วงจรของทีมการปรับปรุงวงจรของทีมการปรับปรุง การสลายทีมงาน การจัดตั้งทีม TEAM DISSOLVES Formation การรักษาการปรับปรุง(อย่างต่อเนื่อง) Holding the gains การเตรียมทีม Preparation การเตรียมปิดโครงการ Completion ลงมือปฏิบัติ Execution • An optimal team should consists no more than 7 • Cross functional deployment should consists of key process owners to ensure ownership. • All improvement team should consists of champion and managed as project to project. • A life of an improvement team should not exceed its scope or original charter.

  9. PMQA การประเมินองค์กรด้วยตนเอง(Three Tasks of Assessment) 3 • เรียนรู้องค์กร โดยใช้ลักษณะสำคัญขององค์กร (Organization Profile) • ประเมินผลกระบวนการ (หมวด 1-6) และผลลัพธ์ (หมวด 7) ขององค์กร ตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ • นำผลการประเมินเทียบกับแนวทางการให้คะแนน

  10. ขั้นตอนการจัดทำรายงานขั้นตอนการจัดทำรายงาน 1. วางแผนโครงการ 2. รวบรวมข้อมูล 3. จัดทำร่างรายงาน 4. ทบทวนร่างและทดลองประเมินร่างรายงาน 5. ปรับปรุงร่างรายงาน 6. จัดทำข้อมูลและรายงานฉบับจริง 7. กรอกแบบฟอร์มต่าง ๆ และส่งรายงานเพื่อขอรับรางวัล

  11. 4 การหาจุดแข็งและโอกาสในการปรับปรุงของส่วนราชการ มิติ กระบวนการ มิติ ผลลัพธ์ • แนวทาง (Approach - A) • การถ่ายทอดเพื่อนำไปปฏิบัติ (Deployment - D) • การเรียนรู้ (การทบทวนและปรับปรุง) (Learning - L) • การบูรณาการ (Integration - I) • ระดับ (Level - L) • แนวโน้ม (Trend - T) • สารสนเทศเชิงเปรียบเทียบ(Comparison - C) • ความสำคัญ (Key - K)

  12. Knowledge Gaps Process Gaps Perception Information To Prioritize ทำความเข้าใจเกณฑ์ Data Gathering To Improve Strengths Re-write Confirm Draft Application Report Strengths GAPs OFI ขก ขข ขาดความเข้าใจเกณฑ์ ขาดข้อมูล

  13. 5 การจัดลำดับความสำคัญและดำเนินการปรับปรุง Tip ! Vital Few คืออะไร “Vital Few are the highest-Leverage opportunities for improving performance.”

  14. The Affinity Diagram Method Step 1

  15. The Affinity Diagram Method Step 2

  16. กรอบแนวทางในการกำหนดแผนการปรับปรุงกรอบแนวทางในการกำหนดแผนการปรับปรุง จัดทำกระบวนการทำงานแบบใหม่(Developing a new process) ปรับปรุงกระบวนการทำงานที่มีอยู่(Improving an existing process) แก้ไขปัญหา (Solving a problem)

  17. เครื่องมือบริหารจัดการ (Tools) หมวด 1 Change Management หมวด 2 Balanced Scorecard หมวด 3 Customer Relation Management หมวด 4 Benchmarking / Knowledge Management หมวด 5 Competency หมวด 6 Reengineering / 6sigma / KAIZEN หมวด 7 Management Cockpit

  18. PMQA 6 การเตรียมตัวเพื่อเสนอขอรับรางวัล

  19. The assessment-based improvement cycle Assessment • Assessment • Engaging the Leaders • Preparing the Assessment Team • Data Gathering • Developing the Assessment Report • Presenting the Assessment Report • Improvement • Developing ImprovementPlans • Implementation and Follow-Through • Closing the Loop Monitoring Planning Continuous Improvement Cumulative Gains Implementation

  20. Advanced Self-assessment (SA) Implemented Tools Improvement Plan Advanced Self-assessment (SA) Implemented Tools Improvement Plan Implemented Tools Self-assessment (SA) Improvement Plan PMQA Strategic Planning KPI & BSC Benchmarking BPR / Risk Management ABM JIT TPM 6 Sigma ABC IE SM DOE COQ 7 Waste OEE SQC Problem Solving / 7 QC Tools Waste Assessment 5S. QCC Suggestion System Visual Control / / / ISO 9000 / Score (Maturity of Management system) Management Tools PMQA 700 Mature 500 User 300 Entry 100 Time

  21. PMQA เตรียมตัวเพื่อเสนอขอรับรางวัล เตรียมตัว Site Visit Application Report

  22. มิติที่ 3 ด้านประสิทธิภาพของการปฏิบัติราชการ (น้ำหนัก : ร้อยละ 10) มิติที่ 1 ด้านประสิทธิผล ตามแผนปฏิบัติราชการ (น้ำหนัก : ร้อยละ 50) มิติที่ 2 ด้านคุณภาพ การให้บริการ (น้ำหนัก : ร้อยละ 10) มิติที่ 4 ด้านการพัฒนา องค์กร (น้ำหนัก : ร้อยละ 30) การบริหารงบประมาณ การประหยัดพลังงาน การลดระยะเวลาการให้บริการ คุณภาพการให้บริการ การจัดตั้งศูนย์บริการร่วม การป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบ ผลสำเร็จตามแผนปฏิบัติราชการ การจัดการความรู้ การพัฒนาระบบฐานข้อมูลและสารสนเทศ การบริหารการปลี่ยนแปลงและการพัฒนาบุคลากร การบริหารจัดการองค์กร การบริหารความเสี่ยง การถ่ายทอดตัวชี้วัดและเป้าหมายของระดับองค์กรสู่ระดับบุคคล กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการ

  23. กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการกรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการ

  24. ระดับคะแนน 5 ระดับคะแนน 4 ระดับคะแนน 3 ระดับคะแนน 2 ระดับคะแนน 1 มิติที่ 4 : มิติด้านการพัฒนาองค์กร ประเด็นการประเมินผล : การบริหารจัดการองค์กร

  25. มิติที่ 4 : มิติด้านการพัฒนาองค์กร ประเด็นการประเมินผล : การบริหารจัดการองค์กร จัดประชุมชี้แจงให้ความรู้เรี่องการพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ ระดับคะแนน 1

  26. มิติที่ 4 : มิติด้านการพัฒนาองค์กร ประเด็นการประเมินผล : การบริหารจัดการองค์กร จัดตั้งคณะทำงานดำเนินการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการของส่วนราชการ และจัดทำแผนดำเนินการพร้อมกำหนดผู้รับผิดชอบในแต่ละหมวด (Category Champion)ตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ พร้อมขออนุมัติแผนดำเนินการต่อผู้บังคับบัญชา ระดับคะแนน 2

  27. มิติที่ 4 : มิติด้านการพัฒนาองค์กร ประเด็นการประเมินผล : การบริหารจัดการองค์กร จัดอบรมคณะทำงานเพื่อเตรียมความพร้อมในการประเมินองค์กรด้วยตนเอง ระดับคะแนน 3

  28. มิติที่ 4 : มิติด้านการพัฒนาองค์กร ประเด็นการประเมินผล : การบริหารจัดการองค์กร ความครบถ้วนของการจัดทำลักษณะสำคัญขององค์กรตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ระดับคะแนน 4

  29. มิติที่ 4 : มิติด้านการพัฒนาองค์กร ประเด็นการประเมินผล : การบริหารจัดการองค์กร ความครบถ้วนของการจัดทำเอกสารรายงานผลการดำเนินการเบื้องต้น ระดับคะแนน 5

  30. ประโยชน์และสิ่งที่กรมได้รับจากการดำเนินการตามตัวชี้วัดประโยชน์และสิ่งที่กรมได้รับจากการดำเนินการตามตัวชี้วัด เรียนรู้ระบบการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ เอกสารรายงานผลการดำเนินการ(Application Report) เรียนรู้วิธีการเขียนเอกสารรายงานผลการดำเนินการ(Application Report) และสามารถแก้ไขเพิ่มเติม รายงานจุดแข็งและโอกาสในการปรับปรุง (Strength and Opportunities for Improvement) รู้สภาพองค์กรในปัจจุบัน เรียนรู้วิธีกำหนดแผนการปรับปรุงภายใน แผนการปรับปรุง(Improvement Plan)

  31. ความพยายามอยู่ที่ไหน ความสำเร็จอยู่ที่นั่น

More Related