1 / 29

วิสัยทัศน์ ( Vision )

การพัฒนาองค์กรสุขภาพจังหวัดจันทบุรี ตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ PMQA. วิสัยทัศน์ ( Vision ). คณะผู้ศึกษาวิจัย นภคกร พูลประสาท เกศรินทร์ ไทยศรีวงศ์. ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา. วิสัยทัศน์ ( Vision ). มาตรา 3/1 แห่งพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน

Télécharger la présentation

วิสัยทัศน์ ( Vision )

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การพัฒนาองค์กรสุขภาพจังหวัดจันทบุรีการพัฒนาองค์กรสุขภาพจังหวัดจันทบุรี ตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐPMQA วิสัยทัศน์ (Vision) คณะผู้ศึกษาวิจัย นภคกร พูลประสาท เกศรินทร์ ไทยศรีวงศ์

  2. ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหาความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา วิสัยทัศน์ (Vision) • มาตรา 3/1 แห่งพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน • พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 • แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการ พ.ศ.2551 - 2555 ยุทธศาสตร์ที่3) มุ่งสู่การเป็นองค์การที่มีขีดสมรรถนะสูง (High Performance )

  3. วัตถุประสงค์ วิสัยทัศน์ (Vision) • 1) เพื่อศึกษากระบวนการนำนโยบายพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ตามเกณฑ์ PMQA ไปสู่การปฏิบัติขององค์กรสุขภาพจังหวัดจันทบุรี • 2) เพื่อศึกษาปัญหา และ อุปสรรค การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐตามเกณฑ์ PMQA

  4. วรรณกรรมและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องวรรณกรรมและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง • แนวนโยบายด้านการบริหารราชการแผ่นดิน • ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทย (พ.ศ. 2551 - 2555) • เป้าหมายการพัฒนาสาธารณสุขตามวิสัยทัศน์ประเทศไทย ปี 2570 • แนวความคิดเกี่ยวกับการนำนโยบายไปปฏิบัติ • แนวความคิดเกี่ยวกับความสำเร็จ/ความล้มเหลวของโครงการพัฒนาของรัฐ • แนวความคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ

  5. รูปแบบ/วิธีดำเนินการศึกษารูปแบบ/วิธีดำเนินการศึกษา • การศึกษาเชิงพรรณนา โดยใช้เทคนิควิธีเชิงคุณภาพ (Qualitative Techniques ) • ข้อมูลที่รวบรวมได้นำมาวิเคราะห์เชิงเนื้อหา (Content Analysis) และการจัดแบบแผนของข้อมูลให้เป็นระบบภายใต้กรอบการประยุกต์ใช้ตัวแบบของการนำนโยบายสาธารณะไปปฏิบัติ

  6. กรอบแนวคิด วิสัยทัศน์ (Vision)

  7. การเก็บรวบรวมข้อมูล วิสัยทัศน์ (Vision) • 1.จากเอกสาร รายงานการประชุม และแบบรายงานผลการดำเนินงานพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการตามเกณฑ์ PMQA ในช่วงปีงบประมาณ พ.ศ.2550 - 2552 • 2.จากกระบวนการสัมภาษณ์กลุ่ม (Group interviews) ที่ประกอบไปด้วยผู้รับผิดชอบการดำเนินงานในแต่ละกลุ่มงาน/ฝ่าย/งานในสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดจันทบุรี • 3.จากการสังเกตพฤติกรรมการมีส่วนร่วม และความร่วมมือในการดำเนินงานของบุคลากรทั้งในสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดจันทบุรี และระดับ คปสอ.

  8. ผลการศึกษา วิสัยทัศน์ (Vision) ส่วนที่ 1 กระบวนการนำนโยบายไปสู่การปฏิบัติ ส่วนที่ 2 ผลของการนำนโยบายไปปฏิบัติ

  9. 1. คุณลักษณะของนโยบาย 2550 2551 2552 • นโยบายของรัฐบาล ตัวชี้วัดบังคับ มิติการพัฒนาองค์กร น้ำหนักร้อยละ 5 • 8 หน่วยงานนำร่องได้แก่ สนง.จังหวัด/ ปกครองจังหวัด./ ที่ดินจังหวัด/พัฒนาชุมชนจังหวัด./ประมงจังหวัด./เกษตรจังหวัดปศุสัตว์จังหวัด/สำนักงานสาธารณสุขวัด • มุ่งเน้นการเรียนรู้และทำเข้าใจเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ วิเคราะห์โอกาสในการปรับปรุง • นโยบายของรัฐบาล เป็นตัวชี้วัดบังคับ น้ำหนักร้อยละ 20 • *วัดผล ประเมินองค์กรในเชิงคุณภาพ • *มุ่งเน้นการบูรณาการตัวชี้วัดที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาองค์กร โดยประเมินองค์กรตามแนวทางการบริหารจัดการแบบ“ADLI” • สมัครเข้าร่วมโครงการจังหวัดประสิทฺธิภาพ (สบส.) • กำหนดเป็นนโยบายของหน่วยงาน(สสจ.) • นโยบายของรัฐบาล เป็นตัวชี้วัดบังคับ น้ำหนักร้อยละ 20 • วัดความสำเร็จของการดำเนินการและผลลัพธ์ของแผนพัฒนาองค์การ • มุ่งเน้นให้ส่วนราชการปรับปรุงองค์กร ส่งเสริมให้แต่ละส่วนราชการมีความเข้าใจและนำเครื่องมือการบริหารจัดการที่เหมาะสมมาใช้เพื่อปรับปรุงและพัฒนาองค์กรอย่างต่อเนื่อง

  10. ผู้ว่าราชการจังหวัด 2.สมรรถนะองค์การ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดจันทบุรี (9) กลุ่มงาน พัฒนายุทศาสตร์ สาธารณสุข -งานพัฒนาทรัพยากรบุคคล กลุ่มงานคุ้มครอง ผู้บริโภค กลุ่มงานประกัน สุขภาพ ฝ่ายบริหาร งานทันตสาธารณสุข งานส่งเสริมสุขภาพ งานควบคุมโรค งานบริการแพทย์ฉุกเฉิน สำนักงานสาธารณสุขอำเภอ(10) โรงพยาบาลชุมชน(11) โรงพยาบาลศูนย์(1) สถานีอนามัย(105) โครงสร้างองค์กรตามมติคณะกรรมการบริหารงานสาธารณสุขระดับจังหวัด

  11. 2.สมรรถนะองค์การ ลักษณะโดยรวมของบุคลากร 1.2.1.ข้าราชการ 1164 คน สายงานบริการทางการแพทย์ ร้อยละ 63.40 สายงานสาธารณสุข ร้อยละ 30.50 สายงานบริหารร้อยละ 6.10 ระดับการศึกษา ปริญญาตรี ร้อยละ 73.80 ต่ำกว่าปริญญาตรี ร้อยละ 17.18 ปริญญาโท ร้อยละ 7.65 ปริญญาเอก ร้อยละ 0.77 *อายุเฉลี่ยโดยรวม 43.4 ปี อายุราชการเฉลี่ย 19 ปี 6 เดือน 1.2.2 ลูกจ้างและพนักงานราชการ คิดเป็นร้อยละ 13.14 ของข้าราชการ สายงานบริหารร้อยละ 56.21 สายงานบริการทางการแพทย์ ร้อยละ 41.83 ระดับการศึกษาต่ำกว่าปริญญาตรี ร้อยละ 87.58 อายุเฉลี่ยโดยรวม 44 ปีอายุราชการเฉลี่ย 18 ปี

  12. ด้านงบประมาณ วิสัยทัศน์ (Vision) • แผนปฏิบัติการประจำปี • โดยแผนงานพัฒนาองค์การฯ จะบรรจุอยู่ในเป้าหมายบริการจังหวัด • เช่น เป้าหมายให้ประชาชนได้รับบริการสุขภาพที่มีคุณภาพมาตรฐาน • มีตัวชี้วัดคือโรงพยาบาลผ่านการรับรองคุณภาพมาตรฐาน • HA , HCQA, และ PCU ผ่านการรับรองคุณภาพมาตรฐาน HCA

  13. 3. การมอบหมายงาน วิสัยทัศน์ (Vision) 1. มอบหมาย กลุ่มงานพัฒนายุทธศาสตร์สาธารณสุขเป็นเจ้าภาพในการดำเนินงาน 2. จัดตั้งคณะกรรมการ/คณะทำงานพัฒนาคุณภาพองค์กร 2.1 คณะกรรมการอำนวยการ 2.2 คณะทำงานพัฒนาคุณภาพองค์กรระดับจังหวัด 2.3 คณะทำงานพัฒนาคุณภาพองค์กรระดับอำเภอ ( คปสอ. )

  14. 4.การกำหนดมาตรการ • 4.1 นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดจันทบุรี ได้ประกาศให้การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการตามเกณฑ์ PMQA เป็นนโยบาย • 4.2 กำหนดมาตรการและแนวทางในการดำเนินงาน คือ • 4.2.1) มาตรการหลัก ได้แก่ เป็นนโยบายสำคัญ ต่อเนื่อง เน้นการสร้างเสริมศักยภาพทีมงานและบุคลากรให้มีความรู้ความเข้าใจ • 4.2. 2) มาตรการสนับสนุน ได้แก่ สนับสนุนงบประมาณในการดำเนินงานขององค์กรทุกระดับผ่านเครื่องมือต่าง ๆ เช่น แผนปฏิบัติการ เป็นต้น • 4.3 กำหนดขอบเขตหน่วยงานการพัฒนาองค์กรสุขภาพ • 4.4 จัดทำคำรับรองการปฏิบัติราชการ (ข้อตกลงร่วมกัน)

  15. 5.กิจกรรมเพื่อให้การดำเนินงานได้ผล5.กิจกรรมเพื่อให้การดำเนินงานได้ผล

  16. 6.การจูงใจ 6.1 สนับสนุนงบประมาณในการดำเนินงาน และสร้างแรงจูงใจในการปฏิบัติงาน โดยกำหนดให้งาน PMQA เป็นผลงานในส่วนที่จัดสรรเป็นเงินรางวัลโบนัส • 6.2 กระตุ้น และปรับกลไกการจัดการโดยสร้างวิทยากรแกนนำฯ ทำหน้าที่เป็นพี่เลี้ยง • รวมถึงการคัดเลือกหน่วยงานเพื่อพัฒนาเป็นองค์กรต้นแบบ

  17. 7.การทำงานเป็นทีม • เกิดทีมงานที่เป็นแกนหลักในการดำเนินงานของหน่วยงาน • ระดับสำนักงานสาธารณสุขจังกวัดจันทบุรี.และ คปสอ. • (แต่จำนวนน้อย)

  18. 8.การมีส่วนร่วม • ชัดเจนในระยะเริ่มต้นการพัฒนา ที่มีการศึกษาและเรียนรู้ร่วมกันของหน่วยงานต่าง ๆ ตามรายละเอียดในคู่มือ • ในการจัดประชุมชี้แจง และประสานขอความร่วมมือกลุ่มงาน/ฝ่าย/งานในสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดจันทบุรี และสำนักงานสาธารณสุขอำเภอ เพื่อกำหนดและวางแนวทางในการพัฒนาร่วมกัน

  19. 2. ผลการนำนโยบายไปปฏิบัติ • 1.ความรู้ ความเข้าใจ ของบุคลากรพบว่าส่วนใหญ่ขาดความรู้ความเข้าใจ(มีจำกัดในคทง./แกนนำ) การพัฒนาขาดการเชื่อมโยง • 2.การยอมรับของบุคลากร ในการดำเนินงาน PMQAยังน้อยเพราะการพัฒนาคุณภาพบริการมีเกณฑ์คุณภาพจำนวนมาก • 3.ผลการพัฒนาตามเกณฑ์ PMQA มีการจัดทำแผนพัฒนาองค์การ ผลการประเมินตนเอง ปี 2551 ได้ 6.3 คะแนน ปี2552 ได้ร้อยละ64.5

  20. อภิปรายผล 1.กระบวนการนำนโยบาย PMQA ไปสู่การปฏิบัติขององค์กรสุขภาพใน จังหวัดจันทบุรี มีลักษณะที่เป็นไปตามทฤษฎีการนำนโยบายไปปฏิบัติ จากบนลงล่าง (top-down theories of implementation) ทำให้เกิด กระบวนการที่เน้นไปในเชิงการบริหารจัดการในส่วนของหน่วยงาน บังคับบัญชาเป็นหลักเช่นการกำหนดมาตรการต่างๆในเชิงกว้างเป็นต้น

  21. อภิปรายผล • 2.ข้อจำกัดด้านระบบหรือแนวทางการทำงานของทางราชการโดยทั่วไป ซึ่งมักจะแยกส่วนกันดำเนินงานที่ชัดเจนและเป็นมาอย่างยาวนาน เช่น แบ่งฝ่าย/งาน/กิจกรรม เป็นต้น ทำให้ไม่คุ้นเคยกับการทำงานร่วมกับงาน/กลุ่มงานอื่น มีการทำงานเฉพาะที่ได้รับการมอบหมายเท่านั้น และขาดแรงจูงใจในการที่จะเรียนรู้เพื่อพัฒนางานต่าง ๆ ร่วมกัน ทำให้ผลการดำเนินงานมีเพียงกลุ่มหรือทีมเล็ก ๆ ที่เข้าใจรายละเอียดของกระบวนการ PMQA

  22. อภิปรายผล • 3.ข้อจำกัดด้านพื้นฐานด้านทัศนคติของเจ้าหน้าที่ โดยทั่วไป ทัศนคติของบุคลากร เป็นปัจจัยที่สำคัญอย่างยิ่งในการนำนโยบาย ไปปฏิบัติ เมื่อขาดทัศนคติที่ดีจึงมีข้อจำกัดในกระบวนการยอมรับ ขาดแรงหรือพลังในการพัฒนา PMQA ซึ่งสอดคล้องกับผลการศึกษาการพัฒนารูปแบบการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐของสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดชลบุรี ปี2550

  23. อภิปรายผล 4.บุคลากรส่วนใหญ่ ขาดความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับ PMQA สอดคล้องกับ วิจัย “ปัจจัยที่มีผลต่อการปฏิบัติงานวางแผน ยุทธศาสตร์ของเจ้าหน้าที่สาธารณสุขจังหวัดจันทบุรีปี 2552” เกศรินทร์ ไทยศรีวงศ์ และคณะ ที่พบว่าเจ้าหน้าที่สาธารณสุขมี ความรู้ เกี่ยวกับเรื่องการพัฒนาคุณภาพฯ ตามเกณฑ์ PMQA ต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐาน ซึ่งประเด็นความรู้นับเป็น1ในปัจจัยที่เป็นสิ่งสำคัญต่อความร่วมมือ และความสำเร็จของการพัฒนา

  24. ข้อเสนอแนะ สำนักงานกพร. • 1.สำนักงาน กพร. ควรปรับรูปแบบแนวทางการปฏิบัติ และควรเพิ่มเติมในส่วนของการนำนโยบายไปปฏิบัติจากล่างขึ้นบน (bottom-up theories of implementation) ที่เน้นกิจกรรมของผู้ปฏิบัติให้มากขึ้นด้วย ซึ่งจะเป็นการรวมคุณลักษณะของทั้ง2 แบบเข้าด้วยกัน เพื่อช่วยเสริมจุดแข็งและลดข้อจำกัดของการนำนโยบายไปปฏิบัติ • 2. สำนักงานกพร.ควร พัฒนาหน่วยงานตนเองให้เป็นตัวอย่างหรือต้นแบบใน การพัฒนาที่เป็นรูปธรรม

  25. ข้อเสนอแนะ 2.องค์กรสุขภาพจังหวัดจันทบุรี • 2.1 จากการศึกษาพบว่าการพัฒนา PMQA ในปี 2551 และ2552 ขาดความเชื่อมโยงและความชัดเจนในการพัฒนาร่วมกันกับควรมีการศึกษาหรือทบทวนกระบวนการของ PMQA เพื่อสร้างความรู้ ความเข้าใจที่จะเห็นภาพรวมของการพัฒนา กระบวนการย่อยและความเชื่อมโยงของแต่ละหมวด ตัวชี้วัด และเห็นเส้นทางเดินของการพัฒนาที่ชัดเจนมากขึ้น • 2.2 การกำหนดผู้รับผิดชอบในรูปของคณะกรรมการหรือคณะทำงานเพียงอย่างเดียว ไม่เพียงพอต่อการพัฒนาให้เกิดผลที่เป็นรูปธรรม ควรจะกำหนดแกนหลักที่ทำหน้าที่รับผิดชอบกระบวนการพัฒนา PMQA ของกลุ่มงาน/หน่วยงาน

  26. ข้อเสนอแนะ • 2.3การพัฒนาหน่วยงานไม่ว่าจะเป็นตามเกณฑ์ PMQA หรือเกณฑ์อื่น ๆ มักจะมีเป้าหมายเพื่อสร้างการเรียนรู้เพื่อพัฒนางานให้ดีขึ้น โดยนำผลการเรียนรู้ที่เกิดขึ้นไปใช้ประโยชน์ในการปรับปรุงผลการดำเนินงานของหน่วยงาน เช่น การนำไปวางแผนเพื่อพัฒนางานให้ดี • 2.4 หน่วยงานในสังกัด ได้แก่ร.พ. ,สสอ.และสอ. รวมทั้งกลุ่มงาน/ฝ่าย/งานต่างๆในสสจ. ควรมีการวิเคราะห์ระบบงานของตนเองให้ชัดเจนตามภารกิจหรือคุณค่าหลัก เพื่อนำมาเข้าสู่กระบวนการพัฒนาPMQA และประยุกต์ บูรณาการกับเกณฑ์คุณภาพอื่นๆ

  27. ข้อเสนอแนะ • 2.5 การพัฒนา PMQA นั้น จำเป็นต้องมีองค์ประกอบในเชิงลึก ทั้งในด้านการนำแนวคิด/ทฤษฎีต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องมาประยุกต์ใช้ และการวางกระบวนการหรือกลไกการทำงานในเชิงลึกให้ชัดเจนมากขึ้น • เช่นการสร้างทีมงาน ใช้แนวคิดการทำงานเป็นทีมที่ครอบคลุมกระบวนการทำงาน หรือการใช้แนวคิดการประเมินผลภายใน (Internal Evaluation) ร่วมกับแนวทางของการประเมินเสริมพลัง (Empowerment Evaluation) เพื่อช่วยในเรื่องของการประเมินผล และการพัฒนางาน เน้นการวัด วิเคราะห์และการจัดการความรู้ เป็นต้น

  28. กิตติกรรมประกาศ • ขอขอบพระคุณ รองศาสตราจารย์ ดร.สุทธนู ศรีไสย์ อาจารย์ นิตยา จันทร์เรือง มหาผล ดร.เอื้องฟ้า สิงห์ทิพย์พันธุ์ ที่กรุณาให้คำแนะนำ และข้อคิดเห็นอันเป็นประโยชน์ • ขอขอบคุณ นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดจันทบุรี หัวหน้ากลุ่มงานพัฒนายุทธศาสตร์ ที่ให้การสนับสนุน • และท้ายที่สุดขอขอบคุณเจ้าหน้าที่ทุกท่าน ที่มีส่วนร่วมพัฒนาเพื่อประโยชน์สุขของประชาชนตามเจตนารมณ์ของการพัฒนาระบบราชการไทย

  29. สวัสดีค่ะ

More Related