1 / 45

บทที่ 6

บทที่ 6. Database. “ Database หมายถึง การ รวบรวมจัดเก็บข้อมูลที่มีความสัมพันธ์กันอย่างเป็นระบบ สามารถเข้าถึงได้ในทันทีที่ต้องการ กำจัดความซ้ำซ้อน และดูแลรักษาความปลอดภัยของข้อมูล ”. โครงสร้างของข้อมูล. Bit. Byte. Field. Record. File. แฟ้มข้อมูล. Field. Record. Record. Field. Field.

nell-banks
Télécharger la présentation

บทที่ 6

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. บทที่ 6 Database

  2. “Databaseหมายถึง การรวบรวมจัดเก็บข้อมูลที่มีความสัมพันธ์กันอย่างเป็นระบบ สามารถเข้าถึงได้ในทันทีที่ต้องการ กำจัดความซ้ำซ้อน และดูแลรักษาความปลอดภัยของข้อมูล”

  3. โครงสร้างของข้อมูล Bit Byte Field Record File

  4. แฟ้มข้อมูล Field Record Record Field Field Record Byte Byte Bit Bit

  5. โครงสร้างของข้อมูล บิต (Bit)   บิต หมายถึง หน่วยเก็บข้อมูลที่เล็กที่สุดในเครื่องคอมพิวเตอร์ ที่เป็นสัญญาณดิจิตัล ซึ่งประกอบด้วยสัญญาณไฟฟ้า 2 สถานะ ได้แก่ 0 กับ 1 หรือ เปิดกับปิด หรือ จริงกับเท็จ การแทนค่าบิตที่มีสัญญาณไฟฟ้า ให้มีค่าเป็น 1 และสัญญาณที่ไม่มีไฟฟ้า มีค่าเป็น 0 จำนวนค่าเพียง 1 ค่านี้ เรียกว่า 1 บิต ไบต์ (Byte)   ไบต์ หมายถึง การนำค่าบิตจำนวน 8 บิต มาเรียงต่อกันตามมาตรฐานรหัส ASCII จะแทนค่าตัวอักขระได้ 1ตัวอักษร เช่น 01000001 แทนตัวอักษร “A” เป็นต้น แต่ตามมาตรฐาน Unicode จะใช้จำนวน 16 บิต

  6. โครงสร้างของข้อมูล เขตข้อมูล (Field)   เขตข้อมูล หมายถึง อักขระที่สัมพันธ์กันจำนวนตั้งแต่ 1 อักขระเป็นต้นไป มารวมกันแล้วเกิดความหมาย แสดงลักษณะอย่างใดอย่างหนึ่ง เขตข้อมูลบางครั้งเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า แอตทริบิวต์ ระเบียน (Record)   ระเบียน หมายถึง กลุ่มของเขตข้อมูล ตั้งแต่ 1 เขตข้อมูลขึ้นไป มีความสัมพันธ์ประกอบขึ้นมาจากข้อมูลพื้นฐานต่างประเภทกันรวมขึ้นมาเป็น 1 ระเบียน ระเบียน  ประกอบด้วยเขตข้อมูล ต่างประเภทกันอยู่รวมกันเป็นชุด แฟ้มข้อมูล (File)   แฟ้มข้อมูล หมายถึง ตารางสำหรับการจัดเก็บข้อมูลหรือชุดของข้อมูลที่มีความเกี่ยวข้องกัน จัดอยู่รวมกันอย่างมีระเบียบ ในรูปแบบแถวและสดมภ์

  7. โครงสร้างลำดับชั้นของข้อมูลโครงสร้างลำดับชั้นของข้อมูล ORGANIZING DATA IN A TRADITIONAL FILE ENVIRONMENT

  8. ฐานข้อมูล(Database) แฟ้มข้อมูล(File) ระเบียน(Record) เขตข้อมูล(Field) แนวคิดของการบันทึกข้อมูล แฟ้มข้อมูล(File) แฟ้มข้อมูล(File) แฟ้มข้อมูล(File) แฟ้มข้อมูล(File) ระเบียน(Record) ระเบียน(Record) เขตข้อมูล(Field) เขตข้อมูล(Field) เขตข้อมูล(Field) อักขระ (Character)

  9. แนวคิดของการบันทึกข้อมูล (ต่อ) บริษัท ABC แฟ้มผู้ขาย แฟ้มลูกค้า แฟ้มสินค้า แฟ้มสินทรัพย์ แฟ้มพนักงาน ลูกค้า A ลูกค้า B ลูกค้า C รหัสลูกค้า ชื่อลูกค้า ที่อยู่ รหัสไปรษณีย์ 123 ถนนสาทร ยานนาวา สาทร 00110001

  10. โปรแกรมขายสินค้า โปรแกรมขนส่งสินค้า โปรแกรมเก็บเงินลูกค้า ระบบแฟ้มข้อมูล (File-Oriented Systems) แฟ้มข้อมูล 1ข้อมูล A ข้อมูล Bข้อมูล C ข้อมูล D แฟ้มข้อมูล 2ข้อมูล A ข้อมูล Cข้อมูล E ข้อมูล F แฟ้มข้อมูล 3ข้อมูล A ข้อมูล Dข้อมูล E ข้อมูล G

  11. ระบบฐานข้อมูล (Database Systems) ฐานข้อมูลข้อมูล A ข้อมูล Bข้อมูล C ข้อมูล Dข้อมูล E ข้อมูล Fข้อมูล G ระบบจัดการฐานข้อมูล(Database ManagementSystem: DBMS) ระบบจัดการฐานข้อมูล(Database ManagementSystem: DBMS) ระบบจัดการฐานข้อมูล(Database ManagementSystem: DBMS) ระบบจัดการฐานข้อมูล(Database ManagementSystem: DBMS) ระบบจัดการฐานข้อมูล(Database ManagementSystem: DBMS) ระบบจัดการฐานข้อมูล(Database ManagementSystem: DBMS) โปรแกรมขายสินค้า โปรแกรมขนส่งสินค้า โปรแกรมเก็บเงินลูกค้า

  12. ฐานข้อมูล และระบบจัดการฐานข้อมูล (Database & DBMS) ฐานข้อมูล เป็นแหล่งรวมของการจัดเก็บระเบียนหรือแฟ้มข้อมูลที่เกี่ยวข้องกันทั้งหมดของกิจการเอาไว้ในอุปกรณ์ของหน่วยเก็บรองเพื่อใช้เป็นศูนย์กลางในการค้นหา หรือเข้าถึงข้อมูลเมื่อผู้ใช้ต้องการ ระบบจัดการฐานข้อมูล เป็นซอฟต์แวร์สำเร็จรูป ทำหน้าที่เชื่อมโยงระหว่างผู้ใช้กับฐานข้อมูล เพื่อให้ผู้ใช้ได้สร้าง ลบ และเข้าถึงข้อมูลได้อย่างมีประสิทธิภาพและเพิ่มประโยชน์ให้กับองค์กรในการใช้ข้อมูลร่วมกัน

  13. วิเคราะห์อายุหนี้ ชื่อ ยอดคงค้าง จำนวนวัน พ้นกำหนดชำระ กมล 25,456 45จารุณี 50,453 75คัทรียา 85,665 150 วิเคราะห์ยอดขาย ตจว. กทม. 25% 37% ตปท. 38% ระบบฐานข้อมูล (Database Systems) (ต่อ) Database OperatingSystem DatabaseManagementSystem

  14. Software database

  15. ความสามารถในการจัดเก็บข้อมูลในฐานข้อมูลความสามารถในการจัดเก็บข้อมูลในฐานข้อมูล ABCDEF ข้อความ (Text) เอกสาร (Document) เสียง (Audio) ภาพนิ่ง (Image) ภาพเคลื่อนไหว (Animation Graphic & Video) อ็อปเจคอื่น ๆ เช่น โปรแกรม แฟ้มข้อมูลต่าง ๆ

  16. โครงสร้างฐานข้อมูล (Database Structure) • โครงสร้างเชิงตรรกะ (Logical Structure) แสดงแนวคิดในด้านความสัมพันธ์ของข้อมูลที่จัดเก็บไว้ในฐานข้อมูล • โครงสร้างเชิงลำดับขั้น (Hierarchical Structure) • โครงสร้างข่ายงาน (Network Structure) • โครงสร้างเชิงสัมพันธ์ (Relational Structure) • โครงสร้างเชิงวัตถุ (Object-Oriented Structure) • โครงสร้างหลายมิติ (Multidimensional Structure) • โครงสร้างเชิงกายภาพ (Physical Structure) แสดงแนวคิดในด้านการจัดเก็บข้อมูลทางกายภาพ เช่น การจัดเก็บข้อมูลบนหน่วยจานแม่เหล็ก เป็นต้น

  17. โครงสร้างเชิงลำดับขั้น (Hierarchical Structure) • ความสัมพันธ์ระหว่างเรคอร์ดเป็นลักษณะหนึ่งต่อหนึ่ง (One-to-One) หรือหนึ่งต่อกลุ่ม (One-to-Many) • ไม่เหมาะกับความสัมพันธ์ในลักษณะกลุ่มต่อกลุ่ม (Many-to-Many) • ไม่มีความสัมพันธ์โดยตรงระหว่างเรคอร์ดในระดับเดียวกัน • เหมาะสำหรับการจัดการฐานข้อมูลที่มุ่งความสนใจเพียงสิ่งใดสิ่งหนึ่ง (One Entity)

  18. โครงสร้างเชิงลำดับขั้น (Hierarchical Structure) (ต่อ) ลูกค้านาย ก ใบแจ้งหนี้ใบที่ 1 ใบแจ้งหนี้ใบที่ 2 ใบแจ้งหนี้ใบที่ 3 สินค้าเลขที่ 101 สินค้าเลขที่ 227 สินค้าเลขที่ 365

  19. โครงสร้างข่ายงาน (Network Structure) • พัฒนาจากโครงสร้างเชิงลำดับขั้น • ความสัมพันธ์ระหว่างเรคอร์ดเป็นลักษณะหนึ่งต่อหนึ่ง หนึ่งต่อกลุ่ม หรือกลุ่มต่อกลุ่ม • เรคอร์ดที่มีอยู่ในฐานข้อมูลมีความสัมพันธ์เชื่อมโยงกันได้ทั่วถึง • ไม่นิยมใช้ในการจัดการฐานข้อมูลเนื่องจากมีความยุ่งยากซับซ้อน โดยเฉพาะกรณีมีข้อมูลในฐานข้อมูลมากขึ้น

  20. โครงสร้างข่ายงาน (Network Structure) (ต่อ) ลูกค้านาย ก ลูกค้านาย ข ลูกค้านาย ค สินค้าเลขที่ 101 สินค้าเลขที่ 227 สินค้าเลขที่ 365

  21. โครงสร้างเชิงสัมพันธ์ (Relational Structure) • พัฒนาจากโครงสร้างเชิงลำดับขั้นและโครงสร้างข่ายงาน • จัดเก็บส่วนย่อยไว้ในตาราง (Table)ประกอบด้วยส่วนย่อยในแถวนอน (Record/Tuple)และส่วนย่อยในแถวตั้ง (Field/Attribute) • ความสัมพันธ์ที่เกิดขึ้นในแต่ละตารางจะมี Primary Keyเป็นตัวบอกเอกลักษณ์ของข้อมูล และ Foreign Keyเป็นตัวเชื่อมความสัมพันธ์ไปยังตารางที่ข้อมูลนั้นเป็น Primary Key • เมื่อฐานข้อมูลมีขนาดใหญ่จะมีการจัดระเบียบข้อมูลให้เป็นบรรทัดฐาน (Normalization)เพื่อลดความซ้ำซ้อนของข้อมูลและมีบูรณภาพของข้อมูล (Data Integrity)

  22. ตารางลูกค้า รหัสลูกค้า Primary Key ตารางการขาย ชื่อลูกค้า เลขที่ใบสั่งขาย Primary Key ที่อยู่ลูกค้า วันที่สั่งขาย วงเงินสินเชื่อ Foreign Key รหัสลูกค้า Foreign Key รหัสสินค้า ตารางสินค้า ปริมาณสินค้าที่ขาย รหัสสินค้า Primary Key รหัสพนักงานขาย รายละเอียดสินค้า ราคาต่อหน่วย ปริมาณคงเหลือ โครงสร้างเชิงสัมพันธ์ (Relational Structure) (ต่อ)

  23. โครงสร้างเชิงวัตถุ (Object-Oriented Structure) • พัฒนาจากโครงสร้างเชิงลำดับขั้น โครงสร้างข่ายงาน และโครงสร้างเชิงสัมพันธ์ • จัดเก็บข้อมูลในลักษณะวัตถุ (Object)ทั้งรูปแบบกราฟิก (Graphic) รูปภาพ (Image) เสียง (Voice) หรือข้อความ (Text) ซึ่งสามารถนำกลับมาใช้ได้หลายครั้ง • มีคุณสมบัติในการสืบทอด (Inherit)ลักษณะประจำจากวัตถุต้นแบบ (Parent Object) • นิยมใช้กับการจัดการฐานข้อมูลทั่วไปในปัจจุบัน ทั้งในด้านภูมิศาสตร์ อุตสาหกรรม และธุรกิจ

  24. Object ของการคิดค่าเสื่อมราคา ลักษณะประจำ - ราคาทุน - ราคาซาก - จำนวนปีที่คิดค่าเสื่อมราคาคำสั่งการปฏิบัติงาน - หาราคาตามบัญชี - คำนวณค่าเสื่อมราคาจากสูตร ค่าเสื่อมราคา = (CV - SV) / RY ลักษณะประจำ - ราคาทุน - ราคาซาก - จำนวนปีที่คิดค่าเสื่อมราคาคำสั่งการปฏิบัติงาน - หาราคาตามบัญชี - คำนวณค่าเสื่อมราคาจากสูตร ค่าเสื่อมราคา = (CV - SV) / RY ลักษณะประจำ - ราคาทุน - ราคาซาก - จำนวนปีที่คิดค่าเสื่อมราคาคำสั่งการปฏิบัติงาน - หาราคาตามบัญชี - คำนวณค่าเสื่อมราคาจากสูตร ค่าเสื่อมราคา = (CV - SV) / RY Object ของการคิดค่าเสื่อมราคาอาคาร Object ของการคิดค่าเสื่อมราคายานพาหนะ โครงสร้างเชิงวัตถุ (Object-Oriented Structure) (ต่อ) การสืบทอด(Inheritance) การสืบทอด(Inheritance)

  25. โครงสร้างหลายมิติ (Multidimensional Structure) • พัฒนาจากโครงสร้างเชิงลำดับขั้น โครงสร้างข่ายงาน โครงสร้างเชิงสัมพันธ์และโครงสร้างเชิงวัตถุ • จัดเก็บข้อมูลในลักษณะมิติข้อมูล (Dimension of Data) • เหมาะสำหรับข้อมูลทางธุรกิจที่มีความยุ่งยากซับซ้อนและต้องการจัดระเบียบให้ได้ในแต่ละมุมมองที่องค์กรต้องการ • นิยมใช้กับโปรแกรมประมวลผลเชิงวิเคราะห์ฐานข้อมูลแบบออนไลน์ (On-Line Analytical Processing[OLAP] Application)

  26. โครงสร้างหลายมิติ (Multidimensional Structure) (ต่อ) ตัวอย่างมุมมองที่ 1 ยอดขายสินค้าแต่ละประเภทแยกตามเขตการขาย ขายในประเทศ ขายส่งออก สินค้า A 5,520,250 12,522,300 สินค้า B 980,855 25,870,435 สินค้า C 2,115,875 2,367,510

  27. โครงสร้างหลายมิติ (Multidimensional Structure) (ต่อ) ตัวอย่างมุมมองที่ 2 ยอดขายสินค้าแต่ละเขตการขายแยกตามไตรมาส ไตรมาส 4/2002 ไตรมาส 3/2002 ขายในประเทศ 20,225,470 15,200,100 ขายส่งออก 34,968,825 37,528,915 ขายอื่น ๆ 520,695 1,523,865

  28. โครงสร้างหลายมิติ (Multidimensional Structure) (ต่อ) ตัวอย่างมุมมองที่ 3 ยอดขายสินค้าแต่ละเดือนแยกตามสินค้า สินค้า A สินค้า B พฤศจิกายน 2002 3,366,920 2,166,975 ตุลาคม 2002 3,025,185 1,999,920 กันยายน 2002 455,260 2,032,545

  29. เครื่องมือที่ใช้ช่วยในการออกแบบและวิเคราะห์ฐานข้อมูลเครื่องมือที่ใช้ช่วยในการออกแบบและวิเคราะห์ฐานข้อมูล • Entity Relationship Diagram (ERD)เป็นแผนภาพที่แสดงถึงองค์ประกอบของฐานข้อมูลและความสัมพันธ์เชื่อมโยงระหว่างองค์ประกอบย่อยต่าง ๆ สัญลักษณ์ ความหมาย สัญลักษณ์ ความหมาย องค์ประกอบ(Attribute) Entity หรือ สิ่งที่ให้ความสนใจ หมายเหตุวงกลมที่มีข้อความขีดเส้นใต้หมายถึง Primary Key ความสัมพันธ์

  30. ER-diagram อายุ รหัสสินค้า สินค้า ชี่อ-สกุล รหัสลูกค้า ลูกค้า สินค้า ซื้อ เบอร์โทร เพศ ประเภท ราคา ที่อยู่

  31. User Has Password อาจารย์ เป็นที่ปรึกษา นักศึกษา Computers Download Softwares ประเภทของความสัมพันธ์ใน ERD 1. ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อหนึ่ง One-to-One Relationship (1:1) 2. ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อกลุ่ม One-to-Many Relationship (1:N) 3. ความสัมพันธ์แบบกลุ่มต่อกลุ่ม Many-to-Many Relationship (M:N)

  32. กระบวนการพัฒนาฐานข้อมูล (Database Development Process) วางแผน(Planning) วิเคราะห์ความต้องการ(Requirement Analysis) ออกแบบ(Design) SA เขียนโปรแกรม(Coding) ติดตั้งใช้งาน(Implementation) ปฏิบัติและซ่อมบำรุง(Operation and Maintenance)

  33. ภาษาของระบบจัดการฐานข้อมูล (DBMS Languages) • Data Definition Language (DDL)ใช้สำหรับการสร้างฐานข้อมูลใหม่ สร้างพจนานุกรมข้อมูล (Data Dictionary) อธิบายความสัมพันธ์ของข้อมูล และอธิบายข้อจำกัดหรือข้อควรคำนึงถึงในด้านความปลอดภัยของข้อมูลในฐานข้อมูล CREATE TABLE Supplier (Supplier# INTEGER (5) NOT NULL, Name CHARACTER(50), Address CHARACTER(80), City CHARACTER(30))

  34. ภาษาของระบบจัดการฐานข้อมูล (DBMS Languages) CREATE TABLE Supplier (Supplier# INTEGER (5) NOT NULL, Name CHARACTER(50), Address CHARACTER(80), City CHARACTER(30)) Supplier

  35. ภาษาของระบบจัดการฐานข้อมูล (DBMS Languages) (ต่อ) • Data Manipulation Language (DML) ใช้ในการบำรุงรักษาข้อมูลในฐานข้อมูลที่ใช้ในการปฏิบัติงาน เช่น การแทรก (Insert) การลบ (Delete) หรือการปรับข้อมูลให้ทันสมัย (Update) โดยเน้นการอ้างอิงในข้อมูล (Data Item) เป็นสำคัญมากกว่าแหล่งทางกายภาพของข้อมูล Insert into Supplier value (00001, ABC, 123 Sathorn Road , Bangkok );

  36. UPDATE Supplier SET Address = ‘456 PhahonYothinRoad’, WHERE Supplier# = 00001

  37. ภาษาของระบบจัดการฐานข้อมูล (DBMS Languages) (ต่อ) • Data Query Language (DQL) ใช้สำหรับสืบค้นข้อมูล (Retrieve) เรียงลำดับข้อมูล (Sorting) จัดกลุ่มและแสดงรายละเอียดในส่วนประกอบหลักและส่วนประกอบย่อยของข้อมูล (Grouping) โดยใช้ภาษาคำสั่งที่ง่ายแก่การเข้าใจของผู้ใช้งาน และสามารถพัฒนาภาษาไปสู่โปรแกรม Report Writer เพื่อใช้เป็นเครื่องมือในการจัดทำรายงานให้กับผู้ใช้งานและผู้บริหาร SELECT Name, Address, City FROM Supplier ORDER BY Name, Ascending

  38. ผู้จัดการฐานข้อมูล:DBA • ควบคุมและจัดระเบียบโครงสร้างข้อมูล • สนับสนุนการพัฒนาและบำรุงรักษาโปรแกรม Application • จัดทำเอกสารระบบฐานข้อมูล • กำหนดมาตรฐานและการใช้งานระบบจัดการฐานข้อมูล

  39. Data warehouse

  40. Data warehouse คลังข้อมูล ภายนอก อดีต ปัจจุบัน ภายใน database สืบค้น/วิเคราะห์ ฐานข้อมูล ผู้บริหาร

  41. คลังข้อมูล DSS EIS OLEP ฐานข้อมูล

  42. ประโยชน์ของคลังข้อมูลประโยชน์ของคลังข้อมูล • รวบรวบสารสนเทศไว้ที่เดียว • ข้อมูลมีความทันสมัย • เข้าถึงข้อมูลได้รวดเร็ว • เก็บข้อมูลได้จำนวนมาก และขยายเพิ่มได้ตลอดเวลา • ดึงข้อมูลย้อนหลังมาดูได้ง่าย • ง่ายต่อการนำไปวิเคราะห์

More Related