1 / 12

สรุปผลการดำเนินงาน Service plan สาขาจิตเวช

สรุปผลการดำเนินงาน Service plan สาขาจิตเวช. วัตถุประสงค์ของสาขาจิตเวช. 1. เพื่อให้ประชาชนทุกกลุ่มวัยเข้าถึงบริการสุขภาพจิตและจิตเวชที่มีคุณภาพ 2. พัฒนาระบบการส่งต่อผู้ป่วยจิตเวช   ลดการส่งต่อออกนอกเขตสุขภาพ 3. ควบคุมอัตราการฆ่าตัวตายของประชากรไทย ไม่เกิน 6.5 ต่อ ประชากรแสนคน

Télécharger la présentation

สรุปผลการดำเนินงาน Service plan สาขาจิตเวช

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. สรุปผลการดำเนินงาน Service planสาขาจิตเวช

  2. วัตถุประสงค์ของสาขาจิตเวชวัตถุประสงค์ของสาขาจิตเวช 1. เพื่อให้ประชาชนทุกกลุ่มวัยเข้าถึงบริการสุขภาพจิตและจิตเวชที่มีคุณภาพ 2. พัฒนาระบบการส่งต่อผู้ป่วยจิตเวช   ลดการส่งต่อออกนอกเขตสุขภาพ 3.ควบคุมอัตราการฆ่าตัวตายของประชากรไทย ไม่เกิน 6.5 ต่อ ประชากรแสนคน 4. ให้คนไทยมีความสุข(ประเมินโดยดัชนีชี้วัดความสุขคนไทย 15 ข้อ)

  3. เป้าหมายและสิ่งที่ประชาชนจะได้รับเป้าหมายและสิ่งที่ประชาชนจะได้รับ 1. เด็กไทยมีความฉลาดทางสติปัญญาเฉลี่ยเกิน 100จุด 2. ร้อยละ 85 ของเด็กไทยมีพัฒนาการสมวัย 3. ร้อยละ 80 ของผู้ป่วยโรคจิต (psychosis) เข้าถึงบริการสุขภาพจิตและจิตเวช 4. ร้อยละ 31  ของผู้ป่วยโรคซึมเศร้าเข้าถึงบริการสุขภาพจิตและจิตเวช 5. มีศูนย์ให้คำปรึกษาคุณภาพ  (psychosocial clinic)ไม่ต่ำกว่าร้อยละ 70 ของสถานบริการสาธารณสุข

  4. กิจกรรมที่ได้มีการดำเนินการตั้งแต่ เดือนตุลาคม 2555 – เมษายน 2556 1. แต่งตั้งคณะกรรมการ Service plan ระดับกระทรวง ทั้ง 10 สาขา 2. ในแต่ละเขตบริการมีการแต่งตั้งคณะกรรมการ Service plan ทั้ง 10 สาขา ในสาขาจิตเวชทั้ง 12 เขต ให้มีบุคลากรของกรมสุขภาพจิตเข้าไปร่วมในทุกเขตบริการ 3. เขตบริการมีการจัดทำแผน เพื่อการพัฒนาสาขาจิตเวชทั้ง 12 เขตสุขภาพ โดยจัดทำแผนพัฒนาตามแนวทางการพัฒนาคุณภาพบริการสุขภาพจิตและจิตเวช ที่จัดทำโดยกรมสุขภาพจิต 4. สบรส. ได้จัดทำแผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ สาขาสุขภาพจิตและจิตเวช เผยแพร่ทาง Web site ของสำนักบริการการสาธารณสุข (สบรส.) ชี้แจงผู้ตรวจและผู้บริหารระดับสูง ของกระทรวงสาธารณสุข 5. เขตบริการสุขภาพทั้ง 12 เขต ได้นำเสนอแผนที่จัดทำต่อกระทรวง โดยมีทั้งแผนด้านการพัฒนามาตรฐานบริการ, แผนเรื่องบุคลากร และแผนด้านเครื่องมือ สถานที่

  5. กิจกรรมที่จะดำเนินการ ในช่วงเดือน เมษายน 56 – กันยายน 56 • 1. สบรส. กำลังวางแผนงบประมาณขาขึ้น เพื่อเสนอ ครม. ในภาพรวมทั้ง 10 สาขา ในส่วนของสาขาจิตเวช กรมสุขภาพจิต โดย รองอธิบดี นพ. เกียรติภูมิ วงศ์รจิต มีข้อเสนอ ต่อกระทรวงดังต่อไปนี้ • 1.1 แผนด้านอัตรากำลัง • 1.1.1 จิตแพทย์ ปัจจุบัน ทั้งประเทศมี จำนวน 750 คน วางแผนใน 5 ปี จะมีจิตแพทย์เพิ่ม เป็น 1,600 คน คิดเป็น จิตแพทย์ 1 ต่อ 40,000 ประชากร • 1.1.2 พยาบาลเฉพาะทางสุขภาพจิตและจิตเวช ปัจจุบันมีประมาณ 800 คน วางแผนใน 5 ปี จะมีทั้งหมด 2,000 คน ครบทุก รพช. ในระยะ 10 ปี จะมีพยาบาลเฉพาะทางสุขภาพจิตและจิตเวช ครบทุก รพ.สต. ประมาณ 10,000 คน • 1.1.3 จิตแพทย์เด็กและวัยรุ่น มีอย่างน้อย จังหวัดละ 1 คน • 1.1.4 นักจิตวิทยา ต้องมีในโรงพยาบาล ระดับ M1, S และ A • 1.1.5 นักกิจกรรมบำบัด ต้องมีในโรงพยาบาล ระดับ S และ A และหากเป็นไปได้ ให้เพิ่มในระดับ M1 ด้วย

  6. กิจกรรมที่จะดำเนินการ ในช่วงเดือน เมษายน 56 – กันยายน 56 1.2 ควรมีเครื่อง ECT ในทุกจังหวัด อย่างน้อยจังหวัดละ 1 เครื่อง 1.3 ควรมีเครื่องมือทดสอบทางจิตวิทยา ในโรงพยาบาล M1, S และ A 1.4 ทางกรมฯ ได้มีการจัดทำข้อเสนอแนะ เพื่อการเปิดหอผู้ป่วย ในโรงพยาบาลระดับ A เพื่อให้ใช้เป็นแนวทาง ในการพัฒนาหอผู้ป่วยต่อไป

  7. กิจกรรมที่จะดำเนินการ ในช่วงเดือน เมษายน 56 – กันยายน 56 ในการจัดทำหอผู้ป่วยจิตเวชมีข้อแนะนำในเรื่องเครื่องมืออุปกรณ์ดังต่อไปนี้ • 1.สิ่งที่ต้องมี • 1.1 หอผู้ป่วยที่มีการปรับปรุงงสิ่งแวดล้อมที่เหมาะสมกับผู้ป่วยจิตเวชโดยคำนึงถึงความปลอดภัยทั้งของผู้ป่วยและบุคลากรเป็นสำคัญ • 1.2 ห้องทำกลุ่มจิตบำบัด • 1.3 กล้องวงจรปิด • 1.4 เครื่องทดสอบทางจิตวิทยา • 1.5 หอผู้ป่วยจิตเวชแยก ชาย / หญิง • 2. สิ่งที่ควรมี • 2.1 เครื่องช๊อตไฟฟ้า(ECT) • 2.2 เครื่องครุภัณฑ์การแพทย์ เช่น BP, Oxygen Sat, EKG • 2.3 ห้องผู้ป่วยแยกจิตเวชฉุกเฉิน โรคติดเชื้อ

  8. กิจกรรมที่จะดำเนินการ ในช่วงเดือน เมษายน 56 – กันยายน 56 • 2. ทางกระทรวงได้มีการเตรียมการเพื่อติดตามและประเมินผล การดำเนินงาน Service plan สาขาจิตเวช โดยมีแนวทางการประเมินดังนี้ (1.) การติดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการของกระทรวงฯ/กรมฯ • การติดตามตัวชี้วัดยุทธศาสตร์กระทรวงฯ • 1. เด็กไทยมีความฉลาดทางสติปัญญาเฉลี่ยเกิน 100จุด • 2. ร้อยละ 85 ของเด็กไทยมีพัฒนาการสมวัย • 3. ร้อยละ 80 ของผู้ป่วยโรคจิต (psychosis) เข้าถึงบริการสุขภาพจิตและจิตเวช • 4. ร้อยละ 31  ของผู้ป่วยโรคซึมเศร้าเข้าถึงบริการสุขภาพจิตและจิตเวช • 5. มีศูนย์ให้คำปรึกษาคุณภาพ (psychosocial clinic) ไม่ต่ำกว่าร้อยละ 70 ของสถานบริการสาธารณสุข

  9. กิจกรรมที่จะดำเนินการ ในช่วงเดือน เมษายน 56 – กันยายน 56 (2.) การพัฒนาบริการสุขภาพจิตและจิตเวชในระบบสาธารณสุข ได้แก่ การสนับสนุนให้มีการเปิดหอผู้ป่วยจิตเวช ใน รพศ.และรพท. (3.) การพัฒนาเครือข่ายการดูแลผู้ป่วยจิตเวชให้มีประสิทธิภาพโดยเฉพาะ แนวทางการดูแลผู้ป่วยกลุ่มโรคจิต,โรคที่เกิดจากแอลกอฮอล์ ,โรคซึมเศร้า, ปัญหาฆ่าตัวตายให้มีแนวทางเดียวกัน (4.)แผนอัตรากำลังด้านสุขภาพจิตและจิตเวชของสถานบริการแต่ละระดับ (5.) แผนพัฒนาศักยภาพบุคลากรทางจิตเวชของสถานบริการทุกระดับ ทุกจังหวัดให้มีสมรรถนะและทักษะในการดูแลผู้ป่วยจิตเวช (6.) แผนพัฒนาระบบยาของสถานบริการทุกระดับ ให้เป็นไปตามมาตรฐานมีเภสัชกรรับผิดชอบงานจิตเวชในระดับ รพศ, รพท, รพช ขนาดใหญ่, มีบัญชียาจิตเวชที่จำเป็นและเหมาะสมกับศักยภาพของสถานบริการแต่ละระดับ (7.) แผนสนับสนุนทรัพยากรด้านครุภัณฑ์การแพทย์ เครื่องมือที่จำเป็นของสถานบริการแต่ละระดับ เช่น เครื่องมือทดสอบทางจิตวิทยา

  10. กิจกรรมที่จะดำเนินการ ในช่วงเดือน เมษายน 56 – กันยายน 56 ระดับจังหวัด (รพศ.รพท.) (1.) มีระบบการค้นหา คัดกรอง และนำเข้าสู่ระบบการดูแลรักษา (Early Detection) โดยเน้นที่เครือข่ายชุมชนให้สามารถจัดการเบื้องต้นได้ (2.) มีแนวทางการช่วยเหลือ และการบำบัดรักษา ให้สถานบริการทุกระดับเพื่อเป็นคู่มือแนวทางในการปฏิบัติงาน (Guideline) (3.)มีการทำงานร่วมกันในลักษณะสหวิชาชีพที่เชื่อมประสานถึงกันได้ (4.) การพัฒนาสมรรถนะและทักษะ โดยเฉพาะการคัดกรอง การดูแลช่วยเหลือเบื้องต้น การส่งต่อและการดูแลอย่างต่อเนื่องให้แก่บุคลากร (5.) การพัฒนาเครือข่ายโดยใช้กลไกความร่วมมือและช่วยเหลือกันแบบพบส. ตามหลักการ“พี่-น้องช่วยกัน” โดยโรงพยาบาลแม่ข่ายมีแผนการตรวจเยี่ยมพี่สอนน้อง ประกอบด้วย 1) แผนความร่วมมือและช่วยเหลือทางด้านบริหาร 2) แผนด้านบริการ 3) แผนด้านวิชาการ (6.) มี case manager สำหรับผู้ป่วยโรคจิตที่ยุ่งยากซับซ้อน

  11. กิจกรรมที่จะดำเนินการ ในช่วงเดือน เมษายน 56 – กันยายน 56 • ระดับรพช./รพสต.ติดตาม 1.การพัฒนาระบบการคัดกรอง การรักษา การฟื้นฟูและการติดตามผู้ป่วย ในสถานพยาบาลลูกข่ายโรงพยาบาลชุมชนและโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพระดับตำบล 2.การพัฒนาระบบการบริหารจัดการยาและเวชภัณฑ์ในสถานบริการเครือข่าย ให้มีประสิทธิภาพและพร้อมใช้ 3. การพัฒนาระบบส่งต่อผู้ป่วยจากสถานบริการลูกข่ายไปยังโรงพยาบาลแม่ข่าย 4. การพัฒนาบุคลากรในโรงพยาบาลชุมชนและโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพระดับตำบล 5. จัดทำระบบการลงทะเบียน (Registration system) เชื่อมระหว่าง อปท.และรพ.สต. และเครือข่ายที่เกี่ยวข้อง

  12. Thank you for your attention

More Related